Asian Ministerial Conference on Disaster Risk

             รัฐมนตรีที่รับผิดชอบด้านการจัดการภัยพิบัติขออาเซียนเข้าประชุมร่วมกับผุ้แทนจากสำนักงานเลขาธิการอาเซียนและผู้บริหารศูนย์ประสานงานด้านมนุษยธรรมของอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซียนระหว่างวันที่ 11-13 ตุลาคม 2559 โดยตั้งเป้าพัฒนาอาเซียนให้เป็นประชาคมที่พร้อมตั้งรับกับภับพิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
            ที่ประชุมได้หารือถึงแนวทางขยายความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัติกับประเทศคู้เจรจาของอาเซยน นอกจากนี้ยังยืนยันจะยกระดับความพร้อมและการตอบสองต่อภัยพิบัติของอาเซียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
            ที่ประชุมยังได้ลงนามในเอกสารสำคัญหลายฉบับ อาทิ แผนงานร่วมในการตอบโต้ภัยพิบัติของอาเซียน ASEAN Joint Disaster Responses Plan แนวทางการประเมินความเประบางและความเสี่ยงของอาเซียน นอกจากนี้ยังยืนยันจะยกระดับความพร้อมและการตอบสนองต่อภัยพิบัติของอาเซียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
           ที่ประชุมยังได้ลงนามในเอกสารสำคัญหลายฉบับ อาทิ แผนงานร่วมในการตอบโต้ภัยพิบัติของอาเซียน ASEAN Risk and Vulnerability Assessmert Guidelines  เป็นต้น
            การประชุมครั้งนี้เป็นผลสืบเนื่องจากการลงนามในปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยอาเซียนร่วมใจเป็นหนึ่งเดี่ยวในการตอบโต้ภัยพิบัติ ASEAN Declaration on One ASEAN One Response ในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 28 เมื่อเดือนกันยายน 2559 เพื่อผลักดันความร่วมมือด้านภัพิัติในระดับระหว่างภูมิภาค รัฐมนตรีอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติยังรับรองแถลงการณ์ร่วในการประชุมระัระดับรัฐมนตรีแห่งเอเชียว่าด้วยการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ Asian Ministerial Conference on Disaster Risk ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 3-4 พฤศจิกายน 2559 ณ ประเทศอินเดีย แถลงการณ์ดังกล่วจะตอกย้ำว่าอาเซียนให้ความสนับสนุนการดำเนินงานตากรอบเซนได Sendai Framwork เพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558-2573...(aseanwatch/..อาเซียนมุ่งมั่นสร้างประชาคมที่พร้อมตั้งรับภัยพิบัติ)
          สาระสำคัญ กรอบการดำเนินงานเซนไดเพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558-2573
          จุดมุ่งหมาย เพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและลดการสูญเสียชีวิต วิถีชีวิต และสุขภาพตลอดจนความสูญเสียต่อสินทรัพย์ทางเศราฐกิจ กายภาพ สังคม และสภาพแวดล้อม ของบุคคล ธุรกิจ ชุมชน และประเทศอย่างเป็นรูปธรรม
          เป้าหมาย เพื่อป้องกันไม่ห้เกิดความเสี่ยงใหม่และลดควาเสี่ยงที่อยุ่เดิม ด้วยมาตรการทางเศาฐกิจ โครงสร้าง กฎหมาย สุขภาพ วัฒนธรรม การศึกษา สภาพแวดล้ม เทคโนโลยี การเมือง รวมถึงมาตรการเชิงสถาบัน ที่มีการบูรณากากรและลดความเหลือมล้ำ เพื่อป้องกัน และทำให้ควาล่อแหลมและเปราะบางต่อภัยพิบัติลดน้อยลง ตลอดจนช่วยให้มีการเตรียมความพร้อมสำหรับการเผชิญเหตุและฟื้นฟูที่ดียิ่งขึ้น อันนำไปสู่ความสามารถที่จะรับมือและฟื้นคืนกลับได้ในะยะเวลาที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
          พันธกิจ
          - เข้าใจความเสี่ยงจากภัยพิบัติ หมายถึง นโยบายและมาตรการในการบริหารจัดการความเาี่ยงจากภับพิบัติจะต้องจัดทำขึ้นจากฐานความเข้าใจเรื่องความเสี่ยงจากภัยพิบัติในทุกมิติของความเสี่ยง ประกอบด้วย ความเปราะบาง ศักยภาพ ความล่อแหลมของบุคคลและสินทรัพย์ ลักษณะของภัย และสภาพแวดล้อม ทังนี้ ความรู้ต่อความเสี่ยงภัยพิบัติดังกล่าวจะมผลอย่างมากในการทำการประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติดังกล่าวจะมีผลอย่างมากในการทำการประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติก่อนเกิดภัยพิบัติการป้องกันและลดผลกระทบจากภัยพิบัติ และในการพัฒนาและดำเนินมาตรการเตรียมความพร้อมและเผชิญเหตุภัยพิบัติให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
     
  - เสริมสร้งศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ หมายถึง ศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติในระดับชาติ ภูมภาค และโลก มีความสำคัญอย่างยิ่งยวดต่อการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น จึงจำเป็นท่จะต้องมีการกำหนดวิสัยทัศน์ แผนงาน สมรรถนะที่ต้องการ แนวทางการปฏิบัติงาน และการประสานงานทั้งภายในและระหว่างภาคส่วนต่างๆ ให้ชัดเจน ตลอดจนต้องส่งเสริมให้กลุ่มผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่วข้องเข้ามามีส่วนร่วมด้วย การเสริมสร้างศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติเืพ่อดำเนินมาตรการป้องกัน ลดผลกระทบเตรียมความพร้อม เผชิญเหตุ ฟื้นฟู และบูณะจึงมีความจำเป็นและส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือและหุ้นสวนระหว่างกลไกและองค์กรต่างๆ ในอันท่จะขับเคลื่อนเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและการพัฒนาที่ยั่งยืน
         - ลงทุนในด้านการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติเพื้อให้พร้อมรับมือและฟื้นคืกลับได้ในระยะเวลาที่รวดเร็วและมีประสิทะิภาพ หมายถึง การลงทุนของรัฐและเอกชน การป้องกันและลดควมเสี่ยงจกถับพิบัติโดยมาตรการเชิงโครงสร้าง และไม่ใช้เชิงโครงสร้างมีควาสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนเศราฐกจ สังคม สุขภาพ และวัฒนธรรมของบุคคล ชุมชน ประเทศและสินทรัพย์ รวมทั้งสภาพแวดล้อมให้พร้อมรับมือและพื้นคืนกลับได้โดยเร็วเื่อเกิดภัยพิบัติ ทั้งนี้ การลงทุนดังกล่วยังเป็นแรงขับเคลื่อนให้ เกิดการพัฒนานวัตกรรม การเจริญเติบโต และการสร้างงานได้ ซึ่งมาตรการดังกล่าวนับได้วามีความคุ้มค่าต่อการลงทนุ และส่งผลให้การรักาชีวิต ป้องกัน และลดความสูญเสียเกิดผลเป็นรูปธรม อักทั้งยังช่วยให้การบูรณะฟื้นฟูภายหลังเกิดภัยพิบัติมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นด้วย
          - พัฒนาศักยภาพในการเตียมความพร้อมเผชิญเหตุภัยพิบัติที่ีประสทิะิภาพ ตลอดจนการฟื้นสภาพและซ่อสร้างที่ดีกว่าเดิมในช่วงของการบูรณะฟื้นฟูภายหลังเหตุภัยพิบัติ หมายถึง ความเสี่ยงจากถัยพิบัิตที่เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึงรวมถึงการที่ประชาชนและสิทรัพย์มีความล่อแหลมที่จะได้รับผลกระทบจากถัยพิบัติเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับบทเรียนจากถัยพิบัติท่เกิดขึ้นในอดีต เป็นัวบงชี้ถึงความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาความพร้อมในการเผชิญเหตุภัยพิบัติ รับมือต่อสถานกาณ์ภัยต่างๆ ที่อาเจเกิดขึ้น ผนวกมาตรการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติในการเตรียมความพร้อมรับมือภับพิลัติ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวจะช่วยพัฒนาศักยภาพให้พร้อมสำหรับการเผชญเหตุ และการฟื้นฟูที่มีประสทิธิภาพสิ่งสำคัญอีกประการ คือ การพัฒนาภาวะผู้นำในกลุ่มสตรีและผุ้พิการให้มีส่วนร่วมในการผลักดันและส่งเสริมความสเมอภาคหญิงชาย และมาตการในการเปชิญเหตุ บูรณะฟื้นฟูที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้นอกจากนี้ ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นได้แสดงให้เห็นว่า ในช่วงของการฟื้นฟูบูรณะที่มีการวางแนล่วงหน้ามาแล้วนั้นถือเป็นโอกาสสำคัญที่จะทำการฟื้นสภพและซ่อมสร้างให้ดีหว่เดิ ด้วยการบูรณาการมาตรการลดความเสี่ยงจากถัยพิบัติไว้ในมารการการพัฒนา เพื่อทำให้ประเทศและชุมชนมีความสามารถในการรับมือและฟื้นคืกลับได้โดยเร็วได้ทุกครั้งที่เกิดภัยพิบัติ
             กลุ่มเป้าหมาย ระดับชาติ, ระดับท้องถิ่น, ระดับภูมิภาค, ระดับโลก, กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วย( ภาคประชาสังคม อาสาสมัคร .., ภาควิชาการ วิทยาศาสตร์ งานวิจัย, ภาคธุรกิิจ สมาคมวิชาชีพและสถาบันการเงิน, สื่อมวลชน), องค์การระหว่างประเทศ
         
 ตัวชี้วัดระดับโลก การดำเนินงานของประเทศสมาชิกและภาคีเคื่อข่ายจะนำมาพิจารณาถึงความสำเร็จในภาพรวมการดำเนินงานของโลก ประกอบด้วบ 7 ตัวชี้วัด ดังนี้
            - อัตราการเสียชีวิตจากภัยพิบัติ ของโลกลดลงอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พงศ. 2573 โดยค่าเฉลี่ยการเสียชีวิตจากภัยพิบัติต่ออัตราการเสียชีวิตของประชากรโลก 1 แสนคน ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2573 จะต้องน้อยกว่าค่าเฉลี่ยระหว่งปี 2548-2558
            - จำนวนผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติของโลกลดลงอย่างเป็นรูปธรรมภายในปี พ.ศ. 2573 โดยค่าเฉลี่ยของผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติต่อประชากรโลก 1 แสนคน ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2573 จะต้องน้อยกว่าาค่าเฉลี่ยระหว่างปี 2548-2558
            - ความสูญเสียทางเศราฐกิจที่เกิดจาภัยพิบัติโดยตรงลดลงเมื่อเที่ยบกับผลิตภัณฑ์รวมประชาชาติของโลก ภายใปี พ.ศ. 2573
             - สาธารณูปดภคที่สำคัญ และยริการสาธารณะพื้นฐาน ได้แก่สถานพยาบาลและสถานศึกษาได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติลดลงอย่างเป็นรูปธรรม จากการพัฒนาวมพร้อมในการับมือและฟื้นกลับได้อย่างรวดเร็วเมื่อเกิดภัยพิบัติ ภายในปี พ.ศ. 2573
             - จำนวนประเทศที่มียุทธศาสตร์ลดความเสี่ยงภัยพิบัติในระดบชาติและระดับ้องถ่ินเพ่ิมขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พ.ศ. 2563
             - มีการยกระดับการให้คววาม่วยเหลือระหว่างประเทศแก่ประเทศกำลังพัฒนา ด้วยการให้การสนับสนุการดำนเนิการตากรอบนี้ในระดับชาติที่เพีงพอและยั่งยื ภายในปี พ.ศ. 2573
              - ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าและข้อมูลความเสี่ยงภัยพิบัติเพ่ิมมากขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พ.ศ. 2573...( pdf.Sendai Framwork for Disaster Risk Rduction 2015-2030)

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)