Disaster

            ภัยพิบัติ ตามคำจำกัดความของ Webster's New Encyclopedic Dictionnary, 1994 หมายถึงภัยำิบัติที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันยากที่จะคดกาณณืได้ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพดั้งเดิม ทำความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ขณะที่นิยามขอ Center for Research on the Epidemiology of Disasters ซึ่งเป็นหน่วยงานที่จัดทำฐานข้อมูบเืองภัยพิบัติให้คึำนิยาม ว่า หมายถึง สถานการณ์หรือเกตุกาณณ์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างใหญ่หลวงเป็นความสูญเสีย และความทุกข์ยากของมนุษย์ เกิดโดยไม่คาดคิด หรือเกิดขึ้นอย่างกะทันหัน เกิดความสามารถขงอท้องถ่ินที่จะแก้ไช ต่องระดมความช่วยเหลือภายนอกในระดัาติหรือนานาชาติ ซึ่งในพ.ศ. 2550 CRED กับหน่วยงสรที่เกี่ยวข้อง ได้ร่วมกันจัดทำคำจำกัดความที่เป็นมารตฐานซึงเบื้องต้นมีการแบ่งภัยพิบชัรออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ภัยพิับัิตทางะรรมชาติ และภ-ัยพิบัติทางเทคโนโลยี ซึ่งภัยพิบัติแต่ละประเทเภทยังมีการแบ่งบ่อยลงไปเป็นประเภทต่างๆ 
          - ภัยพิบัติทางธรรมชาติ แบ่งเป็น Biological disaster เช่น โรคระบาด(แมลง,ไวรัส,แบคที่เรียฯลฯ),  Geophysical disaster เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินเลื่อน, Climatogical disater เช่น ภัยแล้ง ไฟป่า อุึณหภูมิสูง-ต่ำผิดปกติ (คลื่นความร้อน, หิมะถล่ม), Hydrological disaster เช่น น้ำท่วม และ Meteorological disaster เช่น พายุชนิดต่างๆ โดยบางครั้งมีการรวมภัยพิบัติ เข้าด้วยกันและเรียกว่า Hydro-meteorological disaster
           3 ภัยพิบัติทางเทคโนโลยี เป็นภัยที่เกิดจาเทคโนโลนี เช่น อุบัติเหตุในอุตสาหกรรม (แก๊ซร่วม ระเบิดฯลฯ) การขนส่ง (อุบัติเหตุทางอากาศ ทางถนน ฯลฯ) อื่นๆ เช่น ตึกถล่ม ไฟไหม้
           ขณะที่ประเทศไทยให้ความหมายของ ภัยพิบัติทางธรราชาติ ว่าหมายถึง ภัยอนตรายต่าง ที่เกิดขึ้นตามะรรมชาต ิลแมีลผปลระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่ของมนุษย์ โดยแบ่งประเภทตามลักษณะการเกิดออกเป็น วาตภัย อุทกภัย แผ่นดินไหว พายุฝนฟ้าคะนอง ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินถลฃ่น อัคคีภัย ภัยแล้ง และไฟป่า... 
            ความร่วมมือด้านการเตือนภัยและการจัดการต้านภัยพิบัติ ความเสียหายที่เกิดจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ เมื่อเกิดขึ้นแล้วล้วนเป็นสิ่งที่ทุกประเทศต้องการหาทางป้องกันและลดความสูญเสียให้มากที่สุด องค์การสหประชาชมติได้ประกาศให้วันพุธที่สองของเดือนตะลาคมชของทุกปีเป็นวันรณรงค์ลดภัยพิบัติสากล จากที่ประชุมใหญ่ของสหประชาชาติในปี พ.ศ. 2532 เพื่อให้เป็นการเตื่อนและเฝ้าระวังภัยพิบัติประจำปี หลังจากทีการกำหนดให้พ.ศ. 2533-2542 เป็นทศวรรษสากลแห่งการลดภัยพิบัติการประชุมสหประชาชาติเมื่อปี พ.ศ. 2544 ยังให้คงวันรณรงค์ลดภัยพิบัติสากลต่อไปเพื่อเป็นเครื่องมือในการกระตุ้นให้ทั่วโลกเกิดความตระหนักในการร่วมมือกันป้องกันและละความเสียหายจากภัยพิบัติ โดยกำหนดประเด็นในการรณรงค์ทุกๆ 2 ปี  โดยประเด็นประจำ พ.ศ. 2549-2550 คือการลดภัยพิบัติเร่ิมจากโรงเรียน และประเด็นรณงค์ประจำปี 2551-2552 คือ โรงพยาบาลปลอดภัยทางภัยพิบัติ
           ยังมีการตั้งหน่วยงานต่างๆ และมีความรวมมือระหวาประเทศเพื่อร่วมกันหาทางป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติ หน่วยงานและโครงการของสหประชาชาติที่เกี่ยวข้องกับถภัยพิบัติ คือ โครงการยุทธศาสตร์นานาชาติเพื่อการลดภัยพิบัติแก่งสหประชาชาิ ทำหน้าที่ส่งเสริม ประสานงานระหว่างประเทศ และสนอแนะแนวทางในการลดภัยพิบัติที่มีประสิทธิภาพภายใต้แนวทางสหประชาชาติ รวมทั้งการดำเนินการตามกรอบ Hyogo Framework For Action (ค.ศ. 2005-2015) หน่วยงานื่อนที่เกี่ยวข้องกับการให้ควมช่วยเหลือผุ้ประสบภับคือ UN (OCHA), World Program,UNICEF,UNHCR
              ในภูมิภาคเอเชีย ได้มีการจัดตังองค์กรหน่วยงานต่างๆ เพื่อร่วมมือกันระหว่างประเทศต่างๆ ในภูมิภาค และที่อื่นๆ เช่น 
               - ศูนย์ลดภัยพิบัติแก่งเอชียน ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2541 ประกอบด้วยสมาชิกจาก 27 ประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เป็นศูนย์กลางการส่งเสริมความร่วมมือระหวา่งประเทศในการลบดภัยพิบัติ 2. สงสเริมการแลกเปลี่ยนความรู้ และผุ้เชี่ยวชาญด้านการลดภัยพิบัติ 3. รวบรวม บริการข้อมูลด้านภัยพิบัติ 4. ศึกษาวิจัย ด้านการลดภัยพิบัติ ศูนย์นี้มีที่ตั้งสำนักงานอยู่ที่เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น
                - ศูนย์เครียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติแห่งเอชีย จัดตั้งขึ้นดดยคำแนะนำของ UN เมื่อพ.ศ. 2529 ปัจจุบันมีคณะกรรมการอำนยการ 21 คน จาก 15 ประเทศ มีวัตถุปรสงค์เพื่อให้คำปรึกษานการเตือนภัย และบรรเท่าภัยพิบัติในภูมิภาคสำนักงานตั้งอยุ่ที่สถาบัน Asian Institute of Techonogy กรุงเทพฯ ประเทศไทย
               
- คณะกรรมการพายุใต้ฝุ่น ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2511 เพื่อส่งเสริมและร่วมมือระหวางประเทศสมาชิก 14 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันความเสียหายที่เกิดจากพายุใต้ฝุ่น ำนักงานตั้งอยุ่ที่มาเก๊า ประเทศจีน
                - คณะกรรมการอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติ ตั้งขึ้นเมพื่อ พ.ศ. 2511 
                การป้องกันภัยพิบัติ
                แม้เหตุการณ์ภัยพิบัติหลายประเภทจะยากต่อการป้องกัน และไม่สามารถคาดเดาเวลาที่จะเกิดขึ้นได้อย่างแน่นอน เมื่อเกิดความสูญเสียขึ้นจจึงส่งผลกระทบต่อชีวิต ทรัพย์สินเป็นวงกว้าง แต่การเตือนภัยพอย่างเป็นระบบ มีการให้ความรู้แก่ประชาชนและการฝึกซ้อมเพื่อเตียมรับภัยพิบัติเวลาเกิดเหตุย่อมช่วยลดความสูญเสียได้มาก รวมทั้งการวางมาตรการให้ความช่วยเหลืออย่างทันท่วงทมี่ก็สามารถขช่วยบรรรเทาความเสนียหาย และฟื้นฟูผุ้ประสบภัยให้กลับคือสู่สภาพปกติได้โดยเร็ว
                การให้ความรุ้ปละการเตียมรับมือภัยพิบัติ ประเทศญี่ป่นุเ้กิดแผ่นดินไหวมากที่สุดในโลก รัฐบาลให้ความสำคัญกับการให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับแผ่นดินไหวและการเอาตัวรอดเมื่อเิดเหตุ โดยมีการสอนจั้งแต่เด็ก มีการสอบในชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาพปฏิบัติ ดดยเรียนรู้เกี่ยวกับสาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังแผ่นดินไหว เช่น ดินถล่ม คลื่นยักษ์ ฯลฯ และวิธีการเอาตัวรอดเมื่อเกิดแผ่นดินไหวโดยีการฝึกซ้อมอย่างจริงัง ญี่ป่นุมีศูนบ์แผ่นดินไหวที่ให้ความรู้เรื่องปผ่นดินไหว รวมทั้งคนต่างชาติที่เข้าไปเรียนหรือทำงานในประเทศี่ป่นุ จะได้รับข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการเอาตัวรอดเมื่อเกิดแผ่นดินไหว ผุ้ที่เป้นเรียนและนักศึกษายังต้องเข้าเรียนและรับการฝึกทักษะการเอาตัวรอดที่ศูนย์แผ่นดินไหวของญี่ป่นุด้วย
               การเรียนรู้จากความรู้พื้นล้าน มีการาบรวมบทเรียนจากความรุ้ทีีมีการสืบทอดจากคนรุ่นก่อนๆ เช่น ในประเทศอินเดียมีการใช้วัสดุในทองถ่ิ แฃละสร้างย้านเป็ฯรูปทรงกลม ซึ่งทำให้ลดแรงกระทบจากลมพายุ การปลูกไม่ไผ่ ญ้าแฝก เพื่อลดการพังทลายของดินเป็นความรู้ที่ชาวบ้านหลายพื้นที่ใช้กันอยู่การสร้างแนวปะทะเคลื่นนทะเลเพื่อลอแรงปะทะของคลื่น เป็นความรู้ที่สืบทอดกันมาแต่สมัยโบราณของญี่ปุ่น การสังเกตการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเลโดยผ่านเรืองเล่าสืบทอดกันมาของชาวมอแกนทางภาคใต้ของไทยเป็นเทคนิคที่ทำให้สามารถช่วยชวิตชาวมอแกนในหมู่เกาะสุรินทร์และนักท่องเที่ยวจำนวนมากจากเหตุการณ์สึนามิ
                แม้ปัจจุบัน วิทยาการสมัยใหม่สามารถช่วยให้มนุษย์เรียนรุ้ภัยพิบัติได้มากขึ้น แต่ยังเกินความสามารถของมนุษย์ในการเอเชนะภัยพิบัติเหล่านั้น ผลกระทบที่เกิดขึ้นนอกจากการสูญเสียชีิวติทรัพย์สินภัยพิบัติทางะรรมชาติทำให้คนจำนวนมากต้องอยพจากถ่ินที่อยู่ เพราะสูญเสียที่อยู่อาเศัยสูญเสียที่ดินประกอบอาชีพ ทำให้วิถีชิวิตเปลี่ยนแปลงไป การป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้นถัยพิบัติที่คาดเาดเวลาที่จะเกิดขึ้นไม่ได้ การเตรียมพร้อมในกรเผชิญกับภัยพิบัติ ตั้งแต่การมีระบบเตือนภัยอย่างเป้นทากงารและไม่เป็นทางการ ให้ข้อมูลให้ความรู้แก่ประชาชนทุกระับ ทังจากความรู้สมัยใหม่หรือความรู้จากพื้นบ้าน ดดยเฉพาะในการใส่ในบทเรียนการศึกษา รวมทังการฝึกว้อมให้สามารถปฏิบัติตัวได้เวลาเกิดเหตุจริง ย่อมเป็นประโยชน์ในการลดความสูญเสียได้อย่างมากเช่นเดียวกับการให้ความสำคัญกับมาตรการให้ความช่วยเหลืออย่างทันท่วงที ล้วนเป็นสิ่งจำเป็นที่จะช่วยลดความสูญเสีย และบรรเทาความทุกข์จากผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติทั้งหลายได้มาก ดังบทเรียนที่เรียนรุ้ได้จากเหตุการณ์ภัยพิบัติในประเทศเอเชียในปีที่ผ่านมา..
                        file : //... ความมั่นคงอาเซียน (สถานการณ์อาเซียน)/ภัยพิบัติ/ บทความ "ภัยพิบัติทางธรรมชาติในเอเซียน..ผลกระทบและบทเรียน" เปรมใจ..
            

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)