วันจันทร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2560

ASEAN Cultural

             ศิปลวัฒนธรรมและประเพณีอาเซียน 10 ประเทศ
             - ประเทศไทย ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของไทย ได้รับอิทธิพลจากมอญ ขอม อินเดีย จีนและชาติตะวันตก แต่มเอกลักษณ์ในด้านความงดงาม ประณีต และผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนา
                การไหว้ เป็นประเพณีการทักทายที่ถือเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นของไทย โดยเป็นกรแสดงถึงควมีสัมมาคารวะและให้เกี่ยรติกันและกัน นอกจากการทักทาย การไหว้ยังมความหมายเพื่อการขอบคุณ ขอโทษ หรือกล่าวลาด้วย
               โขน เป็นนาฎศิลป์เก่าแก่ของไทย มีลักษณะสำคัญที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขนทั้งหมด ยกเว้น ตัวนาง พระ และเทวดา ซึ่งแสดงโดยใช้ท่ารำและท่าทางประกอบทำนองเพลงดำเนินเรื่องอ้วยบทพากย์และบทเจรจาส่วนเรื่องที่นิยมแสดงคือ รามเกียรติ์
                สงกรานต์ ประเพณีเก่าแก่ ซึ่งถือเป็นการเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ของไทยทที่ยึดถือปฏิบัติกัน โดยจะมีการ รดน้ำ ขอพรผู้ใหญ่ สรงน้ำพระ ทำบุญตักบาตร ปล่อยนกปล่อยปลา ขนทรายเข้าวัดและก่อเจดีย์ทราย รวมทั้งมีการเล่น สาดน้ำเพื่อความสนุกสนานด้วย
            - สาธารณะประชาธิปไตยประชาชนลาว วัฒนธรรมของลาวจะมีความคล้ายคลึงกับวัฒนธรรมทางภาคอีสาน ของไทยมาก
               ด้านดนตรีแคน ถือเป็นเครื่องดนตรีประจำชาติ โดยมี วงดนตรีคือ วงหมอลำ และมีรำวงบัดสลบ ซึ่งเป็นการเต้นท่มีท่าตามจังหวะเพลง โดยจะเต้นพร้อมกันไปอย่างเป็นระเบียบถือเป็นการรวมสนุกกันของชาวลาวในงนมงคลต่างๆ
                การตักบาตรข้าวเหลี่ยว ถือเป็นจุดเด่นของเมืองหลวงพระบาง ซึ่งโดยปกติแล้วนิยมใส่บาตรด้วยข้าวเหนียวเพียงอย่างเดียว เพราะเมื่อ ถึงเวลาฉัน ชาวบ้านจะยกสำรับกับข้าวไปถวายที่วัด เรียกว่า "ถวายจังหัน" โดยเวลาใส่บาตรจะนั่งคุกเข่าและผู้หญิง ต้องนุ่งซิ่น ส่วนผู้ชยนุ่งกางเกงขายาว และมีผ้าพาดไหล่ไว้สำหรับเป็นผ้ากรอบพระเหมือนกัน
         
 - ประเทศมาเลเซีย ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของมาเลเซียนั้น ด้วยเหตุที่มีหลยชนชาติอยู่รวมกันทำให้ดินแดนแห่งนี้เต็มไปด้วยวัมนธรรมท่แตกต่างหลากหลายผสมผสนกัน ซึ่งม ทั้งการผสานวัฒนธรรมกชนชาติอื่นๆ และการรักษาวัฒนธรมประเพณีของชนแต่ละกลุ่มใแ่ละพื้ที่    
                การรำซาบิน เป็นการแสดงการฟ้อนรำหมู่ ซึ่งเป็นศิลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซียโดยเป็นการฟ้อนรำที่ได้รับอิทธิพลมาจากอินแดนอาระเบีย โดยมผู้แสดงเป็นหญิงชายจำนวน 6 คู่เต้นตามจังหวะของกีตาร์ แบบอาระเบียนและกลองเล็กสองหน้าที่บรรเลงจากช้าไปเร็ว
                เทศกาลทาเดา คาอามาดัน ป็นเทศกาลประจำปีในรัฐซาบาห์ จัดในช่วงสิ้นเดือน พฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงสิ้นสุดของฤดูการเก็บเกี่ยวข้าและเร่มต้นฤดูกาลให่ โดยจะมีพิธีกรรมตามความเชื่อในการ ทำเกษตร และีการแสดงระบำพื้นเมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิ่นเพื่อเฉลิมฉลงด้วย
              - ประเทศสิงคโปร์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของสิงคโปร์ เนื่องจากสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีประชากรหลกหลายเชื้อชาิหลากหลายศาสนาทำให้ประเทศนี้มีศิลปวัฒนธรมที่หลากหลาย สำหรับเทศกาลที่สำัญของสิงคโปร์ก็จะเป็นเทศกาลเกี่ยวข้องกับความเชื่อทางศาสนาเช่น
               เทศกาลตรุษจีน เทศกาลขึ้นปีใหม่ของชาวจีนที่จัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์, เทศกาลวิสาขบูชา จัดขึ้นเพื่อระลักถึงการะประสูติ ตรัสู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้าของชาวพุทธในเดือพฤษภาคม, เทศการ Hari Raya Puasa เทศกาลการเฉลิมฉลองของขาวมุสลิมที่จัดขึ้นเมื่อสิ้นสุดพิธีถือศิลอดหรือ อมฎอนในเดือนตุลาคม. เทศกาล Deepavali เทศกาลแห่งแสงสว่างและเป็นงานขึ้นปีใหม่ของชาวฮินดู ที่จัดขึ้นเดือน พฤศจิกายน
             
 - ประเทศอินโดนีเซีย ศิลปวัฒนธรรมอินโดนีเซีย มีชนพื้นบ้านหลายชาติพนธุ์กระจายกันอยู่ตามเกาะ ทำให้วัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องที่แตกต่างกันไป
                  ระบำบางรอง ละครพื้นเมืองดั้งเดิมของเกาะบาหลี มีการใช้หน้ากากและเชิดหุ่นเป็นตัวละคร โดยมีการเลนดนตรีสดประกอบการแสดง เรื่องราวเป็นการตอสู้กันของ บารอง คนครึ่งสิงห์ ซึ่งเป็นตัวแทนฝ่ายความดี กับรังดา พ่อดหมอผีตัวแทนฝ่ายอธรม ดดยฝ่ายธรรมะได้รับชัยชนะในที่สุด
                  ผ้าบาติก หรือ ผ้าปาเต๊ะ เป็นผ้าพื้นเมืองของอินโดนีเซียที่มีวิธีการทำโดยใช้เทียนปิดสวนที่ไมต้องการให้ติดสี และใช้วธีการเเต้มระบาย หรือ ย้อมในส่วนที่ต้องการให้ติดสี ผ้าบาติกนิยมใช้เป็นเครื่องแต่งการของหนุ่มสาว โดยใช้เป็นผ้าโพกศรีษะชาย ผ้าคลุม ศรีษะหญิง ผ้าับกางเกงชาย และโสร่ง หรือผ้าที่ใช้นุ่งโดยการพันอบตัว ซึ่งส่วนที่เรียกว่า "ปาเต๊ะ" คือสวนที่ต้องนุ่งใหรงกับสะโพก โดยมีลวดลายสีสันต่างไปจากส่วนอื่นๆ ใผ้าผืนเดี่ยวกันนั่นเอง
               - ประเทศเวียนดนาม ศิปลวัฒนธรรมและประเพณีของเวียดนาม ส่วนใหญ่จะได้รัอชบอิทธิพลจากจนและฝรั่งเศส เวียนดนามมีเทศกาลที่สำคัญ คือ
                  เทศกาลเต็ด หรือ "เต็ดเหวียนดาน" หมายถึง เทศกาลแห่งรุ่งอรุณแรกของปี ถือเป็น เทศกาลทางศาสนาที่สำคัญที่สุดมีขึ้นในช่วงปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธืเป็นการเฉลิมฉลองคามเชื่อ ในเทพเจ้า ลัทธิเต๋า ขงจื้อ และศาสนาพุทธ รวมทั้งเป็นการแสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษด้วย
                  เทศกาลกลางฤดูใบไม่ร่วง จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี ชาวบ้านจะประกวดทำขนมเปี๊ยะโก๋ญวนหรือบันตรังทู ที่มีรูปร่างกลม มีใส้ถั่วและไส้ผลไม่ และมีการจัดขบวนเชิดมังกร เพื่อแสดงความเคารพต่อพระจันทร์ จะมีการเฉลิมฉลองกับขนมเค้กสำหรับเด็กและครอบครัวของพวกเขาที่ดุดวงจันทร์ ขบวนของโคมๆฟและโคมๆฟ ดวงจันทร์จะถูกใช้เป็นสัญลักษณ์สำหรับความเจริญรุ่งเรืองในช่วงเศกาลจะมีกล่องเค้กในรูปร่างของดวงจันทร์ เพื่อเพื่อนและครอครัว ในเวลกลางคือนเด็กจะเดินขบวนใถนนร้องเพลงในขณะที่ส่งมอบโคมไฟจีนสีในมือ โคมไฟเหล่านี้จีนมีเที่ยนที่ส่องสว่างสวยงามตามท้องถนน
             
  - ประเทศพม่า ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของพม่า พม่าได้รับอิทธิพลจกจีน อินเดีย และไทยมานาน จึงมีมีการผสานวัฒนธรมเหล่นี้เข้ากับวัฒนธรรมของตนจนเป็นเอกลักษณ์ นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลจกพุทธศาสนา จึงเกิดประเพณี สำคัญ เช่น
                  ประเพณีปอยส่างลอง หรืองารบวชบูกแด้ว เป็นงารบวชเณรที่สืบทอดกันมานาน และชาวเมียนมาร์ให้ความสำคัญมา เพราะถือเป็นบุญอันยิ่งใหญ่ของครอบครัว
                   งานไหว้พุทธเจดีย์ประำปี ซึ่งแต่ละที่มักนิยมจัดในเดือนหลังออกพรรษาถือเป็นงานเฉลิมฉลองที่สนุกสนา และได้ทำบุญสร้างกุศลด้วย
              - ประเทศฟิลิปปินส์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประเทศฟิลิปปินส์ วัฒนธรรมของฟิลิปปินส์เป็นวัฒนธรรมผสมผสานกันระหว่างตะวันตกและตะวันออก ซ่งสวนใหญ่จะได้รับอิทธิพลจก สเปน จีน และอเมริกัน ฟิลิปปินส์มีเทศกาลที่สำคัญ คือ
                 อาติหาน จัดขึ้นเพื่อรำลึกและแสดงความเคารพต่อ "เอดาส" ชนเผ่าแรกที่มาตั้งรกรากอยู่บนเกาะแห่งหนึ่งน ฟิลิปปินส์ และรำลึกถึงพระเยซูคริส์ในวัยเด็ก โดยจะแต่งตัวเลียนแบบเทศกาลอติ ขนเผ่า เอดาส แล้วออกมารำร่อนเริงบนท้องถนนในเมืองคาลิบู
                 เทศกาลชินูล็อก งานนี้จัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 3 ของเดือน มกราคมทุกปี เป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงนักบุญซานโตนินอย โดยจะจัดแสดงดนตรีและมีขบวนพาเหรดแฟนซี ทั่วเือ เซบู
                 เทศกาลดินาญัง งานนี้จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงนักบุญซานโต นินิย เชนเดี่ยวกับเทศกาลซิบูล้อก แต่จะจัดขึ้นในสัปดาห์ที่ 4 ของเดือนมกราคม ที่เมือง อิโลอิโย
                - ประเทศบูรไน ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประทเศบรูไน บรุไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับมาเลเซียและอินโดนีเซียมาก มีวัฒนธรรม ประเพณี ภาษา และการแต่งกายที่คล้ายคลึงกัน รวมทั้งยังมีวัฒนธรที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลามด้วย เช่น
                 
 สตรีชาวบรูไนจะแต่งกายมิดชิด นุ่งกระโปรงยาว สื้อแขนยาว และมีผ้าโพกศีรษะ คนต่างชาติ จึงไม่ควรนุ่ง กระโปรงสั้น และใส่เสื้อไม่มีแขน  ความหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลือง เพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตรยิ์ การทักทาย จะจับมือกันเบาๆ และสตรีจะไม่ยื่นมือให้บุรุษจับ การชั้นิ้วไปที่คนหรือส่ิงของถือว่าไม่สถภาพ แต่ จะใช้หัวแม่มือชี้แทน และจะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อ่น สตรีเวลานั่งจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผู้ชย และไม่ ส่งเสียงหรือหัวเราะดัง
                   การรับประทานอาหารร่วมกับชาวบรูไน โดยเฉพาคู่เจรจาที่เป็นชาวมุสลิมควรระมัดระวังกาสั่งอาหาร ที่เป็นเนื้อหมูและเครื่องดื่อมที่มีแอลกอฮอล์ เนื่องจากผิดหลักปฏิบัติของศาสนาอิสลาม ไม่รับประทาเนื้อหมู และถือเป็นกฎที่ปฏิบัติกันอย่างเคร่งคัดในการห้ามดื่อมสุรา อาจขอให้ คู่เจรจาชาวบรูไน ช่วยเลือกร้านอาหาร ทั้งนี้บรูไนไม่มีวัมนธรมการให้ทิปในร้านอาหาร ในกณีที่เป็นร้านอาหารขนาดใหญ่จะมีการเก็บค่าบริการ เพื่มร้อยละ 10 อยู่แล้ว
                  - ประเทศกัมพูชา ศิปลวัฒนธรรมกัมพูชา กัมพูชาเป็ฯประเทศที่มีประวัติสาสตร์อันยาวนาน วัฒธรรมประเพณีจึงมีความเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ความเชื่อ และวิถีชีวิตของคนในประเทศศิลปวัฒนธรรม ที่เป็นเอกลักษณ์ได้แก่
                    ระบำอปสรา เป็นการแสดงนาฎศิลป์ที่โดดเด่นของกัมพูชา ซึ่งถอดแบบการ แต่างกายและท่าร่ายรำมาากภาพำหลักรูปนางอปสรที่ปราสาทนครวัด นางอัปสราตัวเอกองค์แรก คือ เจ้าหญิงบุพผาเทวี พระราชธิดาใเจ้าสีหนุ เป็นระบำทีกำเนินขึ้นเพื่อ เข้าฉากภาพยนตร์เกี่ยวกับนครวัดซึ่งกำกับโดยผู้กำกับชาวฝรั่งเศส หลังจากนั้น ระบำอัปสรา ก็เป็นระบำขวัญใชาวกัมพูชา ใครได้ เป็นตัวเอกในระบำ
อัปสรนั้นเชื่อได้ว่า เป็นตัวนาชั้นยอดแห่งยุคสมัยนครวัด เป็นอุมคติแห่งชาติกัมพูชา นางอปสราในนครวัดก็เป็นอุดมคติแห่งสตรีเขมร ดังนันการชุบชีวิตนางอัปสราออกมาเป็ ระบำระดับชาตินั้นมีความหมายในเชิงชาติพันธุ์นิยม เพื่อให้เข้าถึงสัญลักษณ์สูงสุดแห่งสตรีเเขมร์ ระบำอัปสรมีชื่อเสียง ขึนมาด้วยกางอิงบทความยิ่งใหญ่ของนครวัต ดอกไม้เหนือเศียรนางอปสราสวน ใหญ่ใใปราสาทนครวัดคือ ดอกฉัตรพระอินทร์ เนื่องจากรูปทรงของดอกชนิดนี้พ้องกันกับภาพสลัก เขมรเรียกดอกไม้ชนิดนี้ ว่า "ดอกเสนียดสก" คือส่ิงที่เอามาเสียนดและสกคือผมชือของดอกไม้บ่งบอกว่าเป็นดอกสำหรับเสียดผมเข้าใจว่าสมัยโบราณสตรีขั้นสูง ของเขมรคงประดับ ศรีษะด้วยดอกไม้หลายชนิด หนึ่งในนั้นคือดอกฉัตรพระอินทร์ ดังหลักฐนภาพสลักนางอปสรา ที่พบในปราสาทหินขอม ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจของช่างสลักจากที่ได้เห็นของจริง
                 เทศกาลน้ำ หรือ "บอน อม ตุก" เทศกาลประจำปีที่ย่ิงหใญ่ของกัมพูชา จัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน เพื่อเป็นการแสดงความสำนึกใพระคุณของ แม่น้ำที่นำความอุดมสมบูรืมาให้ โดยจะมีการแข่งเรือยาว แสดงพลุดอกไม่ไฟ การแสดงขบวนเรือประดับไฟ และขบวนพาเหรดบริเวณทะเลสาบ "โตนเลสาบ" ที่จัดขึ้น ทุกปีตั้งแต่ วันขึ้น 14 ค่ำ 15 ค่ำ จนถึงแรม 1 ค่ำ เดือนพฤศจิกายน ซึ่งทางการกัมพูชา ประกาศให้เป็นวันหยุด 3 วัน เพราะน้ำในแม่น้ำโขงเมื่อสุง จะไหลไปที่ทะลเสบ เนื่องจากในช่วปลาย ฤดูผนในเดือนพฤศจิกายน น้ำในทะเลสบลดต่ำลง ทไให้น้ำไหลลง กลับสู่ลำน้ำโขงอีกครั้ง ชาวกัมพูชาะร่วมกันลอยทุนที่ปะดับด้วยดวงไฟไปตาม แม่น้ำโขง ขณะที่การแข่งเรือ เป็นการำลึก ถึงเหตุการณ์ใประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้า ชัยวรมันที่  7 ช่วงศตวรรษที่ 12 ในยุคเมืองพระนคร อาณาจักรเขมรที่กำลังรุ่งเรืองมีชัย เหนือาณาจักรจาม ในการสู้รบทางเรือ
             
                      - https//blkp201.wordpress.com ..ประชาคมอาเซียน ศิลปวัฒนธรรมแลประเพณีอาเซียน 10 ประเทศ
             

วันอาทิตย์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2560

Cross Cultural heritage II

              อียูเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่าการสร้างเขตการค้าเสรีไม่เป็นเรื่องเศรษฐกิจเท่านั้น การบูรณาการที่เร่ิมจากทางเศาฐกิจนั้น ต่อมาพัฒนาการจะเกี่ยวพันกับภาคส่วนอื่นๆ ของสังคมอย่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นร้านสังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม ด้วยกระบวนการทีเรยกว่า spill - over และการเกิดเขตการค้าเสรีนี้เองจะทำให้เขตแดนและปัญหาทีเกี่ยวเนื่องกับเขตแดน รวมทั้งปัญหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมด้วย
              สร้างองค์ความรู้ด้านต่างๆ ให้มีลักษระข้ามพรมแดน
              - มรดกโลกและมรวัฒนธรม คือ วิถะของกรสร้างความร่วมมือข้ามพรมแดนทุกระดับ
                นักวิชาการด้านมรกดวัฒนธรรมและมรดกโลกชี้ให้เห็นว่าการเสนอชื่อขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของประเทศกำลังพัฒนา เป็นเพียงการทำเพื่อผลประโยชน์ภายในหรือของประเทสนั้นๆ แต่ กลุ่มประเทศอียูสามารถสร้างมรดกวัฒนธรมและสร้างอุตหกรรมมดกวัฒนธรรมเพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยและศรษฐกิจได้ โดยการท่อียูดำเนินนโยบยหลายอย่างที่กระตุ้มให้เกิดทิศทางดงกลาวด้วยกระบวนการที่เรียกว่า "Europeanization of Heritage" ที่ทำให้มรดกวัฒนธรรมที่ติดกับกรอบประวัติศาสตร์ชาติและความเป้นมรดกแห่งชาติ ให้มีความหมายและความสำคัญใฐนะมรดกยุโรป และมรดกโลก
              - เขตแดน พรมแดน โอกาสหรือความขัดแย้ง การก้าวไปสู่เขตเศราฐกิจเสรีอาเซียนต้องเกี่ยวพันกับเรื่องเขตแดนพรมแดน และการไร้พรมแดนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จกกรณีของอียูชี้ให้เห้นว่า
               1. การที่ประเทศสมาชิกมีเขตแดนที่ชัดเจนและมหลาหลยวิธีใการกำหนดเขตแดน และมีการัดการดูแลเกี่่ยวกับเขตแดนที่เป็นระบบด้วยการมีคณะกรรมการที่เกิดจากการร่วมมือกับประเทศเพื่อบ้านในการปักปันและดูแลเรื่องเขตแดน ที่มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในหลยด้านทำงนอย่างบูรณาการ โดยไม่ได้เน้นเรื่องความมันคงเหนือควมร่วมมือทางเศราฐกิจและการอยู่รวมกันอย่างสัติ และปราศจกอคติชาตินิยม ช่วยส่งเสริมการดำเนินงานเพื่อสร้างเขตการต้าเสรี และตลดร่วมยุโรปแบบไร้พรมแดน
               2. การส่งเสริมให้เห็นควมสำคัญของพรมแดนในฐานะที่เป้นที่มาแห่งโอกาสทั้งทางเศาฐกิจ และการศึกษา วัฒนธรมเหนือมของอียู ชี้ให้เห็นว่าองค์การที่เป้นการบูรณาการระดับภูมิภาคนั้นมีความสำคัญยอย่างย่ิงในการนำควมเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกมาสู่ภูมิภาค ดังนั้นอาเซียนซึ่งเป็นกระบวนการบูรณาการภูมิภาคเช่น กันคงต้องให้ความสำคัญกับประเด็นนี้
               3. ปัจจุบันในสหภาพยุโรปมีหน่วยงานสองหน่วยงานที่พยายามสร้างฐนข้อมูลอิเลดทรอนิกส์เกี่ยวกับเขตแดน พรมแดนในสหภาพยุโรปทั้งส่วนที่เกี่ยวกับความเป็นมาในประวัติศาตร์ กฎหมาย และอื่นๆ เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงหากเกิดความสับสนในกาบริหารงาของหน่วยงานรัฐบาลในประเทศต่างๆ และามบริเวณชาแดน รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับช่วยในกรวงแผนสร้างความร่วมมือข้ามพรมแดน ไม่ว่าจะเป็นด้าสาธารณสุขหรือการช่วยเหลือเกี่ยวกับสาธารณภัย
               การสร้างฐนข้อมูลที่มีความโปร่งใส รวมทั้งการทำให้ฐานข้อมูลด้านต่างๆ เกี่ยวกับเขตแดนและเนื้อที่เปิดเผยต่อสธารณชนอย่างกว้างขวงเป็นอีกหนทางหน่งที่ทำให้เขตแดนไม่ใช่เรื่องศักดิ์สิทธิ์และไม่ถูกนำไปใช้เพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองของนักการเมือง
             
 - ภาษา ความทรงจำ ประวัติศาสตร์และการสร้างคนรุ่นใหม่สำหรับอาเซียน
                 คนรุ่นสงครามโลกครั้งี่ 2 ในยุโรปเป็นคนรุ่นที่ต้องการให้เกิดการบูรณาการทางการเมืองและเศรษฐกิจที่เกิดการข้ามพรมแดนใภาคส่วนต่างๆ ของสังคม เพื่อให้เกิดสันติภาพที่ถาวร ครุ่นต่อๆ มาได้รับการสร้างให้มความเป็นยุโรปด้วยการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมของเพือ้าน ด้วยการที่อียูสร้างโรงเรียนและสร้างโครงการแลกเปลี่ยน ที่ทำให้นักเรียนนกศึกษาทั่วยุโรปเดินทางไปศกึกษาและเรียนภาษาของประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากนี้มีการสร้างสภาบันการศึกาาวิจัยะดับสูง ที่ฟลอเรซื อิตาลี สร้าง่มาตรฐานทางการศึกษาของสหภาพยุโรปที่ทำให้เกิดการสร้างการวิจัยแลการศึกษาที่เข้แข็ง นักเรียน นิสิตนักศึกษาสามารถย้ายไปเรียนตามสถานศึกษาในประเทศเพือบ้านในอียูได้ะดวกขึ้น
                  อียูจริงจังกับการสร้้างมาตรฐาความรู้ทางภาษาภายใอียูเอง ซึ่งสิ่งเหล่านี้ยังไม่เกิดใอาเซียน ส่วนประเทศไทยการสอนภาษาไทยเป็นภษาต่างประเทศ เกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระบบนัก มีโรงเรียนเอกชนหน่วยงาสังกัดอฝค์กรคริสตจักรในประเทศไทย โรเรียนเอกชน ละคณะมุษยศาสร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ รวมทั้งที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ เร่ิมทำไปบ้างแล้ว รวมทั้งสร้งมาตรฐานการวัดความรู้ภาษาไทยของชาวต่างชาติ แต่โดยภาพรวมยังเป็นแขนงการเรียนภาที่ยังไม่เป็นระบบเนื่องจากขาดพจนานุกรมที่มีคุณภาพ ขาดการพัฒนาการเรียนการสอนท่เป้นระบบ และขาดตำราเรียน
                  บาดแผลที่ฝังในความทรงจำทางสังคมและทางประวัติศาสตร์เป็นสิ่งที่ประเทศสมาชิกอียูดูเหมือนจะก้าวข้าไปได้ แต่ใอาเวียนเองเรื่องนี้ยังเป็นเรื่งอที่ต้องสร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยเฉพาะในประเทศไทยที่การสอประวัติศาต์ไทยยังคงมีลักษณะปิดตัวเอง ไม่มองพัฒนการสังคมว่าไทยเป็สวนหนึ่งของสังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสังคมโลก การเปิดประเด็นการศึกษาประวัติศาตร์ไทยนอกเหนือประวัติศาสตร์ชาติและการักชาติยังอยู่นสภาวะที่ต้องบุกเิกต่อไป แลสภาพสงคมที่เสรีภาพทางวิชกรและเสรีภาพทางการแสดงความคิดเห็นไม่เปิดกว้างการสร้างความรู้ประวัติศสตร์อืนๆ นอกเหนือจกประวัติศาสตร์บาดแผนเป็นเรื่องที่ยังท้าทายประเทไทยและอาเซียนไปพร้อมๆ กัน
                การเตรียมความพร้อมในการสร้างความร่วมมือ
                - ด้านมรกดวัฒนธรมและความร่วมมือข้ามพรมแดนอื่นๆ
                   ประสบการณ์จากอียูชีว่าการสร้างความร่วมือด้านพรมแดนในเชิงปฏิบัตินั้นเกี่ยวพันกับสองเรื่องใหญ่ คือ การประสางาและทำงานร่วมกันของหย่วยงาของรฐบาลระหว่างประเทศและมใช้เวลานาน ประเทศในสหภาพยุโรปบางประเทศมีท้งที่เป็แบบกระจายอำนาจให้กับรัฐบาลท้องถ่ิน เช่น เยอรมนี และมีทั้งที่เป็นลักษณะแบบรวมศูนย์ เช่น โปแลนด์ การมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของหน่วยงานรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมือข้ามพรมแดนที่ต้องการทำั้นเป็นส่ิงสำคัญเนหื่องจกช่ยลดระยะยเวลในการดำเนินงาร และสามารถสร้างความเขาใจใการทำงานร่วมกันได้ดียิ่งขึน
                  อีกประการหนึ่งคือ การ่วมมือข้ามพรมแดนที่เกิดภายใต้กรอบโครงของการบูรณาการระดับภูมิภาอย่างอียูนั้น การปกครองที่มีลักษณะกระจาอำนาการตัดินใจเกี่ยวกับกิจการท้องถ่นให้กับรัฐบาลท้องถ่ินนัถือเป็นหัจจัยเชิงบวกที่ทำให้ควาทร่วมือเกิดขึ้นได้และมีความรวดเร้ซ รวมทั้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้คนในท้องถ่ินมากกว่าการปกครองที่มีการรวมศูนย์ แตประเทศที่มีการปกครองแบบรวมศูนย์นี้สามารถเป็นปัจจัยเชิงบวกได้เช่นกัน หากรัฐบาของประเทศนั้นมีวิสัยทัศน์และมีความจริงใจในการสร้างความรวมมือข้ามพมแดนเพื่อให้ประเทศของตนได้รับประโยชน์อย่งเต็มที่จากากรบูรณาการภุมิภาค
                   
                            มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน ข้อคิดจกสหภาพยุโรปถึงอาเซียน, มรกต เจวจินดา ไมยเออร์, คณะสังคมศาตร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ.
           

วันเสาร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2560

Cross Cultural heritage

            ผมแปลแบบกำปั่นทุบดินว่า มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน ผู้รู้ท่านใดมีความรู้ทางด้านภาษาช่วยท้วงติงมาด้วยครับ
              ปัจจุบันอาเซียนตั้งเป้าหมายว่าจะบรรลุการเป็นขตการต้าเสรีอาเซียนในปี ค.ศ. 2015 นอกจาปัญหาการขาดเสถียรภาพทางการเืองปละการขาดความเป็นประชาธิปไตยในประเทศสมาชิก และปัญหาเศรษฐกิจระดับโลกที่รุมเร้าแล้ว ปัญหาใหญ่ที่อาเซียนต้องกล่าวถึงและใส่ใอย่างจริงจังคือ เรื่องของพรมแดนและวัฒนธรรม
              การสร้างเขตการต้าเสรีไม่ได้เป็นเรื่องของเสราฐกิจเท่านั้น อียุเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่าการบูรณาการที่เร่ิมจากทางเสาฐกิจนั้น ต่อมาพัฒนาไปเกี่ยวพันกับภาส่วนอื่นๆ ของสังคมอย่งหลักเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นต้านสังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ด้วยกระบวนการที่เรียกกันว่าspill-over ตามที่ซองค์ โมเน่ต์ และโรเบิร์ต ชูมาน นัการเมืองฝรั่งเศสที่กลายมาเป็นนัการเมืองของ "ยุโรปใหม่" เชื่อเช่นนั้น นอกจากนี้การเกิดและพัฒนาการของเขตการต้าเสรีนี้เองจะทำให้เขตแดนและปัญหาท่เกี่ยวเนื่องกับเขตแดน รวมทั้งปัญหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมมีมากขึ้นในที่นี้ขอกล่าวถึงบางประเด็นที่อาเซียนน่าจะให้ความใส่ใจเบื้องต้น
            - สงครามวัฒนธรรมตามมายาคติของความรักชาติ(แบบไม่สร้างสรรค์) ปัญหารการขาดความชอบธรรมของการบูรณาการระดับภูมิภาคเป็นปัญหาที่ทั้งอียูและอาเซียนต้องเผชิญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ยิ่งกระบวนการบุรณาการพัฒนาในระดับลึกมากขึ้นเท่าใดปัญหาดังกล่าวย่ิงเพิ่มมากขึ้นเป็นเงาตามตัว อียูพยายามแก้ปัญหาดังกล่าวด้วยการทำให้ชาวยุโรปเห็นว่าการบูรณาการทางเศราฐกิจและการเมืองนั้นเป็ฯผลประโยชน์ของตนโดยตรงและเห็นได้ชัดเจนจากสิ่งต่างๆ ในการใช้ชีวิตประจำวัน นอกจากนี้อียูโชคดีทตงท่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ความคิดชาตินิยมและความรักชาติอย่า้องการสร้างความเป็นหนึ่งให้กับชาติของตนด้วยการทำสงครามและทำลยล้างได้แสดงพิษสงเอาไว้จนผุ้คนเอือมระอา
               กรณีของประเทศสมาชิกอาเวียนไมได้เป็นเช่นนั้น ความคิดชาตินิยมและความรักชาินั้นเป็นทั้งการต่อสู้กับประเทศเจ้าอาณานิคมตะวันตกที่ทำให้ประเทศเหล่านี้มีความเป้นตัวตนและเป็นประเทศชาติ และที่สำคัญคือเป็นแหล่งที่มาของอำนา ของกลุ่มทางเศาฐกิจการเมืองของแต่ละประเทศจนไม่สามารถสละเครื่องมือสำคัญนี้ไปได้ ย่ิงไปกว่านั้นความรักชาตินี้ได้รับการปลูกฝังด้วยการเกลียดชังประเทศเพื่อบ้านผ่านความทรงจำร่วใในสังคมและแบบเรียน สงครามเย็นที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1950 จนถึงปลายทศวรรษ 1980 ที่ทำให้ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งขั้วระหว่างคอมมิวนิสต์กับเสรีนิยมย่ิงทำให้บางประเทศ เช่น ไทย เชื่อเข้าไปใหญ่ว่าประเทศเพื่อบ้านล้าหลังตเองนั้นเป็นพี่เบิ้มเจรญกว่าประเทศเพื่อนบ้าน และรับเอาวะธีคิดแบบเจ้าอาณานิคมมาใข้ ด้วยการทำตัวเป็นเจ้าอาณานิคม้อยในกาติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย เช่น กรณีปราสาทพระวิหารเป็นสงครามวัฒนธรรมที่ถูกใช้เพื่อประโยชน์ทางการเมืองภายใของทั้งไทยและกัมพูชา แต่ส่วนกรณีของไทยนั้นเป็นชตินิยมไร้คลาสกว่าของกัมพูชาตรงที่ยังยึดมั่นถื่อมั่นว่าปราสามพระวิหารและดินแดนที่ตั้งนั้นเป็นของไทยในวาทกรรมชาตินิยมทั้งๆ ที่ปราสามแท่งนี้สมควรเรียกว่า "เปรี๊ยะวิฌฮีย" ตามชาวกัมพูชานับตั้งแต่ศาลโลกตัดสินให้เป็นของกัมพูชาตั้งแต่ พ.ศ. 2505 แล้ว..
               
กรณีอียู เรื่องการสร้างเขตเศรษฐกิจเสรีและตลดร่วมยุโรปที่ทำให้เกิดการข้ามพรมแดนของทุน เรงงาน การบริการ และการค้า โดยเแพาะในส่วนที่ต้องการบูรณาการประเทสสมาชิกในยุโรปตะวนันออก เช่น โปแลนด์ให้เป็นส่วนหนึ่งของอียูนั้น อียูในฐานะองค์กรบูรณาการภูมิภาคกลายเป็นเอเย่นต์ของความเปลี่ยนแปลงด้วยการให้ทุนผ่านนโยบายภูมิภาค ที่ทำให้ประเทศสมาชิกดั้งเดิมอย่างเยอรมนีซึ่งมฐานะทางเศรษฐกิจดีกว่าต้องรอิร่ิมสร้างโครงการร่วมมือข้ามพรมแดน
                ในแง่นี้ สันติภาพและความก้าวหน้าของอาเวียนเป็นส่ิงที่ประเทสสมาชิกของอาเซียนต้องใส่ใมากว่าการใช้ชื่ออาเซียนเพื่อผลประทโยชน์และการยอมรับในประเทศด้วยการใช้ศิลป์วาทะแต่เพียงอย่งเดียวประเทศที่มีเศรษฐกิจดีกว่าและมีปัญหาชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ประเทศไทย อาต้องพิจารณาว่าจะเป็นเอเย่นต์ของความเปลี่ยนแปลงในการสร้างความร่วมมือข้ามพรมแดนกับประเทศเพื่อบ้านในด้านต่างๆ เพิ่มขึ้นอย่างไร
                นักวิชาการด้านมรดกวัฒนธรรมและมดกโลกเสนอสิ่งที่น่าสนใจว่า แรงจูงใและผลประโยชน์ที่ประเทสต่างๆ ได้รับจากการเสนอชื่อมรดกวัฒนธรรมเพื่อกระต้นการท่องเที่ยวและเศรากิจได้น้นเนื่องจกอียุเองดำเนินนโยบายหลายอย่างที่กระตุ้นให้เกิดทิศทางดังกล่าวด้วยกระบวนการที่ทำให้มรดกวัฒนธรรมที่ติดกับกรอบของประวัติศาสตร์ชาติและความเป็นมรดกแห่งชาติ ให้มีความหมายและความสำคัญในฐานะมรดกยุโรปและมรดกโลก ซึ่งเป็นการท้าทายอาเซียนให้เร่งปรับตัวในการลงมือสร้างการบูรณาการอาเวียนบนพื้นฐานของวัฒนธรรมอย่างแท้จริง... (บทความ "มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนข้อคิดจากสหภาพยุโรปถึงอาเซียน, มรกต เจวินดา ไมรเออร์, คณะสังคมศาสตร์ ม.ศรีนคริทร์วิโรฒ)
             

วันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2560

ASEAN & Disaster

                - สึนามิ แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547  เป็นแผ่นดินไหวใต้ทะเลเกิดขึ้นเมื่อเวลา 7.58 น. ตามเวลาในประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 ธันวาม พ.ศ. 2547 ศูนย์กลางอยู่ลึกลงไปในมหาสมุทรอินเดียใกล้ด้านตะวันตกของตอนเหนือเกาะสุมาตร ประเทศอินโดนีเซีย แรงสันสะเทือนจากแผ่นดินไหว ทำให้เกิดความเสียหายบนเกาะสุมาตรา และยังรับรู้ได้ในภาคใต้ของประเทศไทย
              แผ่นดินไหวเกิดจากการยุบตัวของเปลือกโลกได้มหาสมุทรอินเดีย กระตุ้นให้เกิดคลื่อนสึนามิสูงราว 30 เมตร เข้าทาวทำลายบ้านเรื่อนตามแนวชาวฝังดดยรอบมหาสุทรอินเดีย ประมาณการว่าีผู้เสียชีวิตจากแผ่นดินไหวครั้งนี้ใน 14 ประเทสมากว่า 230,000 คน นับเป็นหนึงในภัยพิบัติทางธรรมชาิครั้งร้ายแรทีสุดในประวัติศาสตร์ ประเทศที่ได้รับความเสียหายมากที่สุดได้แก่ประเทศอินโดนีเซย รองลงมาคือ ประเทศศรีลังกา ประเทศอินเดีย และประเทศไทย ตามลำดับ
               ความรุนแรงของแผ่นดินไหวอยู่ระหว่งแมกนิจูด 9.1-9.3 ตามมาตราโมเมต์ ทำให้แผ่นดินไหวครั้งนี้นับเป็นแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงเป็นอันดับที่สามตามที่เคยวัดได้จากเครื่องัดแผ่นดินไหว นอกากนี้ยังถือว่าเป็นแผ่นดินไหวที่มีคาบเวลายาวนานที่สุด โดยการสังเกตคางเวลาอยู่ที่ประมาณ 8.3-10 นาที ส่งผลให้แผ่นดินทั่วทั้งผืนโลกเคลื่อนตัวไปถึง 1 เซนติเมตร แลุยังเป็นตัวกะุร้ให้เกิดแผ่นดินไหวในจุดอื่นๆ ของโลกอีกด้วย
                - พายุนาร์กิส หรือพายุหมุนนาร์กิสอันมีความรุนแรงระดับสูง ระดับความรุนแรง : 01B. กำหนดโดยศูนย์ความร่วมมือระหว่างกองทัพเรือและกองทัพอากาสแห่งสหรัฐอเมริกาเพื่อการเตือนภัยไต้ฝุ่น เป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงระดับสูง ซึ่งกระทำให้เกิดภาวะแผ่นดินถล่ม และภาวะมหันตภัย ในประเทศพม่า เมื่อวันที่ 2 พฤษภาค 2551 ส่งผลให้ชาวพม่าเสียชีวิตมากกว่า 130,000 คน ทั้งนี้ เมื่อ พ.ศ. 2549 พายุหมุนมาชา ก็ได้ก่อให้เกิดภาวะเช่นเดียวกันในประเทศพม่า
         
 พายุหมุนนาร์กิสเป็นพายุที่อุบัติขึ้นเป็นลูกแรกในบรรดาที่จะบังเกิดในฤดูพายุกระหน่ำมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ประจำปี 2551
             พายุหมุนนาร์กิสเร่ิมตั้งเค้าเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2551 ณ อ่าวเบงกอล ตอนกลาง ในระยะเริ่มแรกพายุหมุนนาร์กิสเคลื่อนตัวไปททางตะวันตกเฉียงเหนือโดยช้า สภาพเกื้อหนุนในบริเวณดังกล่าวส่งผลให้พายุมีกำลังรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ดี บรรยากาศแห้งแล้งใวันที่ 29 เมษายน 2551 เป็นเหตุให้พายุอ่อนกำลังลง และเปลี่ยนทิศทางไปยังภาตะวันออกของโลก ซึ่งพายุได้ทวีความรุนแรงโดยมีความรเร็วลมสูงสุดอย่างน้อย 165 กิโลเมตรต่อหนึ่งชั่วโมง และต่อมาศูนย์ความร่วมมือระหวางกองทัพเรือและกองทัพอากาศแห่งสหรัฐอเมริกาเพื่อการเตือนภัยใต้ฝุ่นแถลงว่า ความเร็วสูงสุดของพายุหมุนนี้จะทวีเป็นสองร้อยสิบห้ากิโลเมตรต่อหนึ่งชั่วโมง
            หลังจากที่พายุหมุนนาร์กิสขึ้นฝั่งที่เขตอิรวดี ประเทศพม่า โดยมีกำลังลมใกล้เคียงกับความเร็วลมสูงสุด และพัดผ่านนครย่างกุ้งแล้ง ก็ได้อ่อนตัวลงตามลำดับและสลายตัวไป ณ บริเวณขายแดนไทยกับพม่า
              - วิกฤตมหาอุทกภัย 2554 ภัยพิบัติในครั้งนั้นส่งผลกระทบต่อประทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้มากถึง 6 ประเทศ และยังมีความร้ายแรงทากที่สุดในรอบ 50 ปี ของไทย วิกฤติครั้งนี้ก็แสดงให้เห็นถึงความร่วมมือและการช่วยเหลือวึ่งกันและกันของสมาชิกอาเซียน ดังจะเห็นได้จากการที่สาชิกอาเซียนส่งความช่วยเหลือห้กันและกัน ทั้งทีบางประเทศก็ตกอยู่ในฐนะผู้ประสบภัย แต่ก็ยังส่งความช่วยเหลือให้แก่ประเทศอื่น เช่น ลาวและพม่าที่มระดับการพัฒนาทางเศราฐกิจช้ากว่าไทยและตกอยุ่ในาสถานะผู้ประสบภัยก็ยังให้ความช่วยเหลือแก่ไทย นอกจากนี้อาเซียนยังมีบทบามในการบรรเทาสถานการณ์ดดยส่งทีมประเมินสถานการณเคลื่อนที่เร็วฉุกเฉินอาเซียน ลงพื้นที่เพื่อประเมินสถานการณ์ภัยพิบัติน้ำท่วมในไทย เมื่อวันที่ 15  ตุลาคม 2011 ซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 5 คน จากบรูไน อินโดนีเซียน มาเลเซีย  และสิงคโปร์ทำงานร่วมกับฝ่ายไทย 3 คน พร้อมกบมอบชาวสารผ่านองค์กรสำรองข่าวฉุกเฉินของอาเวยนบวกสาม อย่างไรก็ตาม หกยังไม่มีการร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมให้ครอบคลุมมากว่านี้ ปัญหาอุทกภัยก็จะกลายเป็นอุปสรรคตอการพัฒนาของสมาชิกอาเวียน โดยเฉพาะกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม และจะกลายเป็นอุปสรรต่อการสร้างประชาคมอาเซียนตอไป

                        - http//th.wikipedia.org/..แผ่นดินไหวและคลื่อนซึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547
                        - http//th.wikipedia.org/..เหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส_ พ.ศ.2551
                        - aseanwatch.org/.. อาเซียนกับวิกฤตมหาอุทกภัย 2554

วันพฤหัสบดีที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2560

Asian Ministerial Conference on Disaster Risk

             รัฐมนตรีที่รับผิดชอบด้านการจัดการภัยพิบัติขออาเซียนเข้าประชุมร่วมกับผุ้แทนจากสำนักงานเลขาธิการอาเซียนและผู้บริหารศูนย์ประสานงานด้านมนุษยธรรมของอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซียนระหว่างวันที่ 11-13 ตุลาคม 2559 โดยตั้งเป้าพัฒนาอาเซียนให้เป็นประชาคมที่พร้อมตั้งรับกับภับพิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
            ที่ประชุมได้หารือถึงแนวทางขยายความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัติกับประเทศคู้เจรจาของอาเซยน นอกจากนี้ยังยืนยันจะยกระดับความพร้อมและการตอบสองต่อภัยพิบัติของอาเซียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
            ที่ประชุมยังได้ลงนามในเอกสารสำคัญหลายฉบับ อาทิ แผนงานร่วมในการตอบโต้ภัยพิบัติของอาเซียน ASEAN Joint Disaster Responses Plan แนวทางการประเมินความเประบางและความเสี่ยงของอาเซียน นอกจากนี้ยังยืนยันจะยกระดับความพร้อมและการตอบสนองต่อภัยพิบัติของอาเซียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
           ที่ประชุมยังได้ลงนามในเอกสารสำคัญหลายฉบับ อาทิ แผนงานร่วมในการตอบโต้ภัยพิบัติของอาเซียน ASEAN Risk and Vulnerability Assessmert Guidelines  เป็นต้น
            การประชุมครั้งนี้เป็นผลสืบเนื่องจากการลงนามในปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยอาเซียนร่วมใจเป็นหนึ่งเดี่ยวในการตอบโต้ภัยพิบัติ ASEAN Declaration on One ASEAN One Response ในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 28 เมื่อเดือนกันยายน 2559 เพื่อผลักดันความร่วมมือด้านภัพิัติในระดับระหว่างภูมิภาค รัฐมนตรีอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติยังรับรองแถลงการณ์ร่วในการประชุมระัระดับรัฐมนตรีแห่งเอเชียว่าด้วยการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ Asian Ministerial Conference on Disaster Risk ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 3-4 พฤศจิกายน 2559 ณ ประเทศอินเดีย แถลงการณ์ดังกล่วจะตอกย้ำว่าอาเซียนให้ความสนับสนุนการดำเนินงานตากรอบเซนได Sendai Framwork เพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558-2573...(aseanwatch/..อาเซียนมุ่งมั่นสร้างประชาคมที่พร้อมตั้งรับภัยพิบัติ)
          สาระสำคัญ กรอบการดำเนินงานเซนไดเพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558-2573
          จุดมุ่งหมาย เพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและลดการสูญเสียชีวิต วิถีชีวิต และสุขภาพตลอดจนความสูญเสียต่อสินทรัพย์ทางเศราฐกิจ กายภาพ สังคม และสภาพแวดล้อม ของบุคคล ธุรกิจ ชุมชน และประเทศอย่างเป็นรูปธรรม
          เป้าหมาย เพื่อป้องกันไม่ห้เกิดความเสี่ยงใหม่และลดควาเสี่ยงที่อยุ่เดิม ด้วยมาตรการทางเศาฐกิจ โครงสร้าง กฎหมาย สุขภาพ วัฒนธรรม การศึกษา สภาพแวดล้ม เทคโนโลยี การเมือง รวมถึงมาตรการเชิงสถาบัน ที่มีการบูรณากากรและลดความเหลือมล้ำ เพื่อป้องกัน และทำให้ควาล่อแหลมและเปราะบางต่อภัยพิบัติลดน้อยลง ตลอดจนช่วยให้มีการเตรียมความพร้อมสำหรับการเผชิญเหตุและฟื้นฟูที่ดียิ่งขึ้น อันนำไปสู่ความสามารถที่จะรับมือและฟื้นคืนกลับได้ในะยะเวลาที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
          พันธกิจ
          - เข้าใจความเสี่ยงจากภัยพิบัติ หมายถึง นโยบายและมาตรการในการบริหารจัดการความเาี่ยงจากภับพิบัติจะต้องจัดทำขึ้นจากฐานความเข้าใจเรื่องความเสี่ยงจากภัยพิบัติในทุกมิติของความเสี่ยง ประกอบด้วย ความเปราะบาง ศักยภาพ ความล่อแหลมของบุคคลและสินทรัพย์ ลักษณะของภัย และสภาพแวดล้อม ทังนี้ ความรู้ต่อความเสี่ยงภัยพิบัติดังกล่าวจะมผลอย่างมากในการทำการประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติดังกล่าวจะมีผลอย่างมากในการทำการประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติก่อนเกิดภัยพิบัติการป้องกันและลดผลกระทบจากภัยพิบัติ และในการพัฒนาและดำเนินมาตรการเตรียมความพร้อมและเผชิญเหตุภัยพิบัติให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
     
  - เสริมสร้งศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ หมายถึง ศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติในระดับชาติ ภูมภาค และโลก มีความสำคัญอย่างยิ่งยวดต่อการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น จึงจำเป็นท่จะต้องมีการกำหนดวิสัยทัศน์ แผนงาน สมรรถนะที่ต้องการ แนวทางการปฏิบัติงาน และการประสานงานทั้งภายในและระหว่างภาคส่วนต่างๆ ให้ชัดเจน ตลอดจนต้องส่งเสริมให้กลุ่มผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่วข้องเข้ามามีส่วนร่วมด้วย การเสริมสร้างศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติเืพ่อดำเนินมาตรการป้องกัน ลดผลกระทบเตรียมความพร้อม เผชิญเหตุ ฟื้นฟู และบูณะจึงมีความจำเป็นและส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือและหุ้นสวนระหว่างกลไกและองค์กรต่างๆ ในอันท่จะขับเคลื่อนเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและการพัฒนาที่ยั่งยืน
         - ลงทุนในด้านการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติเพื้อให้พร้อมรับมือและฟื้นคืกลับได้ในระยะเวลาที่รวดเร็วและมีประสิทะิภาพ หมายถึง การลงทุนของรัฐและเอกชน การป้องกันและลดควมเสี่ยงจกถับพิบัติโดยมาตรการเชิงโครงสร้าง และไม่ใช้เชิงโครงสร้างมีควาสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนเศราฐกจ สังคม สุขภาพ และวัฒนธรรมของบุคคล ชุมชน ประเทศและสินทรัพย์ รวมทั้งสภาพแวดล้อมให้พร้อมรับมือและพื้นคืนกลับได้โดยเร็วเื่อเกิดภัยพิบัติ ทั้งนี้ การลงทุนดังกล่วยังเป็นแรงขับเคลื่อนให้ เกิดการพัฒนานวัตกรรม การเจริญเติบโต และการสร้างงานได้ ซึ่งมาตรการดังกล่าวนับได้วามีความคุ้มค่าต่อการลงทนุ และส่งผลให้การรักาชีวิต ป้องกัน และลดความสูญเสียเกิดผลเป็นรูปธรม อักทั้งยังช่วยให้การบูรณะฟื้นฟูภายหลังเกิดภัยพิบัติมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นด้วย
          - พัฒนาศักยภาพในการเตียมความพร้อมเผชิญเหตุภัยพิบัติที่ีประสทิะิภาพ ตลอดจนการฟื้นสภาพและซ่อสร้างที่ดีกว่าเดิมในช่วงของการบูรณะฟื้นฟูภายหลังเหตุภัยพิบัติ หมายถึง ความเสี่ยงจากถัยพิบัิตที่เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึงรวมถึงการที่ประชาชนและสิทรัพย์มีความล่อแหลมที่จะได้รับผลกระทบจากถัยพิบัติเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับบทเรียนจากถัยพิบัติท่เกิดขึ้นในอดีต เป็นัวบงชี้ถึงความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาความพร้อมในการเผชิญเหตุภัยพิบัติ รับมือต่อสถานกาณ์ภัยต่างๆ ที่อาเจเกิดขึ้น ผนวกมาตรการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติในการเตรียมความพร้อมรับมือภับพิลัติ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวจะช่วยพัฒนาศักยภาพให้พร้อมสำหรับการเผชญเหตุ และการฟื้นฟูที่มีประสทิธิภาพสิ่งสำคัญอีกประการ คือ การพัฒนาภาวะผู้นำในกลุ่มสตรีและผุ้พิการให้มีส่วนร่วมในการผลักดันและส่งเสริมความสเมอภาคหญิงชาย และมาตการในการเปชิญเหตุ บูรณะฟื้นฟูที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้นอกจากนี้ ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นได้แสดงให้เห็นว่า ในช่วงของการฟื้นฟูบูรณะที่มีการวางแนล่วงหน้ามาแล้วนั้นถือเป็นโอกาสสำคัญที่จะทำการฟื้นสภพและซ่อมสร้างให้ดีหว่เดิ ด้วยการบูรณาการมาตรการลดความเสี่ยงจากถัยพิบัติไว้ในมารการการพัฒนา เพื่อทำให้ประเทศและชุมชนมีความสามารถในการรับมือและฟื้นคืกลับได้โดยเร็วได้ทุกครั้งที่เกิดภัยพิบัติ
             กลุ่มเป้าหมาย ระดับชาติ, ระดับท้องถิ่น, ระดับภูมิภาค, ระดับโลก, กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วย( ภาคประชาสังคม อาสาสมัคร .., ภาควิชาการ วิทยาศาสตร์ งานวิจัย, ภาคธุรกิิจ สมาคมวิชาชีพและสถาบันการเงิน, สื่อมวลชน), องค์การระหว่างประเทศ
         
 ตัวชี้วัดระดับโลก การดำเนินงานของประเทศสมาชิกและภาคีเคื่อข่ายจะนำมาพิจารณาถึงความสำเร็จในภาพรวมการดำเนินงานของโลก ประกอบด้วบ 7 ตัวชี้วัด ดังนี้
            - อัตราการเสียชีวิตจากภัยพิบัติ ของโลกลดลงอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พงศ. 2573 โดยค่าเฉลี่ยการเสียชีวิตจากภัยพิบัติต่ออัตราการเสียชีวิตของประชากรโลก 1 แสนคน ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2573 จะต้องน้อยกว่าค่าเฉลี่ยระหว่งปี 2548-2558
            - จำนวนผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติของโลกลดลงอย่างเป็นรูปธรรมภายในปี พ.ศ. 2573 โดยค่าเฉลี่ยของผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติต่อประชากรโลก 1 แสนคน ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2573 จะต้องน้อยกว่าาค่าเฉลี่ยระหว่างปี 2548-2558
            - ความสูญเสียทางเศราฐกิจที่เกิดจาภัยพิบัติโดยตรงลดลงเมื่อเที่ยบกับผลิตภัณฑ์รวมประชาชาติของโลก ภายใปี พ.ศ. 2573
             - สาธารณูปดภคที่สำคัญ และยริการสาธารณะพื้นฐาน ได้แก่สถานพยาบาลและสถานศึกษาได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติลดลงอย่างเป็นรูปธรรม จากการพัฒนาวมพร้อมในการับมือและฟื้นกลับได้อย่างรวดเร็วเมื่อเกิดภัยพิบัติ ภายในปี พ.ศ. 2573
             - จำนวนประเทศที่มียุทธศาสตร์ลดความเสี่ยงภัยพิบัติในระดบชาติและระดับ้องถ่ินเพ่ิมขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พ.ศ. 2563
             - มีการยกระดับการให้คววาม่วยเหลือระหว่างประเทศแก่ประเทศกำลังพัฒนา ด้วยการให้การสนับสนุการดำนเนิการตากรอบนี้ในระดับชาติที่เพีงพอและยั่งยื ภายในปี พ.ศ. 2573
              - ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าและข้อมูลความเสี่ยงภัยพิบัติเพ่ิมมากขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พ.ศ. 2573...( pdf.Sendai Framwork for Disaster Risk Rduction 2015-2030)

วันพุธที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

National Institute for Emergency Medicine

               สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(สพฉ.) เป็นสถาบันที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉินปี พ.ศ. 2551 เพื่อเป็นองค์กรรับผิดชอบการบริหารจัดการ การประสานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ และเอกชน รวมถึงการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถ่ินให้เข้ามามีบทบาในการบริหารจัดการการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ทั้งนี้เหตุปลดังกล่วได้ปรากฎในส่วนของหมายเหตุ : เหตุผลประกอบในการประกาศใช้พระราชบัญญัติ

               ใน พ.ศ. 2536 กระทรวงสาธารณะสุขได้รับความช่วยเหลือทางเทคนิคจาก องค์การของญี่ปุ่น JICA ในการจัดตั้งศูนย์อุบัติเหตุ ณ โรงพยาบาลขอนแก่น ซึ่งครอบคลุการให้บริการช่วยเหลือก่อนถึงโรงพยาบาล ด้วย ต่อมา พ.ศ. 2537 โรงพยาบาลวชิรพยาบาลได้เปิดให้บริการรถพยาบาลฉุกเฉินโดยใช้ชื่อว่า SMART ตามแผนป้องกันอุบัติภัยของกรุงเทพมหานคร และ พ.ศ. 2538 กระทรวงสาธารณสุขได้เปิดตัวต้นแบบระบบรักษาพยาบาลก่อนถึงโรงพยาบาล ณ โรงพยาลาลราชวิถีในชื่อ "ศูนย์กู้ชีพนเรนทร์" โดยภายหลัง โรงพยาบาลนพรัตนราชธานีและโรงพยาบาลเลิดสิน ได้เข้าร่วมเครือข่ายให้บริการด้วยต่อมากระทรวงสาะารณสุขได้จัดตั้งสำนึกงานระบบบริการการแพทย์ฉุุกเฉิน ขึ้นเป็นหน่วยงานในสำนักงาปลัดกระทรวงสาธาณสุขและดำเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินมาอย่างต่อเนื่อง หนวยงาน/องค์กรทั้งหลายท่กล่าวมานี้จึงเป็นตัวกำเนิดที่มาของ "สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ" ทำหน้าที่พัฒนางานการแพทย์ฉุกเฉินมาจนมีความก้าวหน้า และผลงานเป็นที่ประจักษ์ในวงกว้าง
              การขยายบทบาทมาเป็นสถบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ซึ่งเป็นองค์กรของรัฐที่มฐานะเป็นนิติบุคคลในกำกับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ก็เพื่อให้มีรูปแบบการบริหารจัดการที่มีความคล่องตัวและสามารถบริหารงานตามนโยบายการบริหารงานของคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้การแพทย์ฉุกเฉินของประเทศไทย สามารถก้าวหระโดไป ส่งผลให้ผู้ป่วยฉึกเฉินได้รบการุ้มรองสิทธิในการเข้าถึงระบบการแพทย์แุกเฉินอย่งทั่วถึง เท่าเที่ยม มีคุณภาพมาตรฐาน ตามเจตนารมณ์จองพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ได้อย่างแท้จริง..www.niems.go.th.."สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(สพฉ.), ประวัติองค์กร)
               ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีสถิติผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตมากที่สุดในโลก จากเหตุภัยพิบัติธรรมชาติ สึนามิภาคใต้ แผ่นดินไหวรุนแรงภาคเหนือ เหตุภัยหนาว น้ำท่วม และภัยพิบัติที่เกิดจาการกระทำของมนุษย์ โดยเฉพาะเหตุการณ์ ตึกถล่ม สารเคมีรั่วไหลและ อุบัติเหตุหมู่บนท้องถนน เช่น รถตกเขา รถตกเหว รถพลิกคว่ำ รถชนกัน ไฟไหม้รถ รถแก๊สระเบิด ฯลฯ อุบัติเหตุทางน้ำ เรื่อล่ม แพแตก โป๊ะลม ไฟไหม้เรือ เรือชนตอม่อ...
               สาเหตุหนึ่งที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตเพราะการข่วยเหลือของหน่วยงานหลัก รวมถึงกู้ชีพ กู้ภัย เข้าไปในที่เกิดเหตุล่าช้า การช่วยเหลือเป็นไปด้วยความยากลำบาก ลำเลียงผู้บาดเจ็บออกไ่ทัน ทำงานไม่เป็นระบบ ทำให้เกิดเหตุการณ์ซ้ำซ้อนในจุดเกิดเหตุขึ้นอีก นำไปสู่การสูญเสียชีวิตของผู้ประสบภับและผู้เข้าไปช่วยเหลือในที่สุด
               สพฉ. ได้รับมอบหมายจาก รัฐมนตรีสาธารณสุข 10 ประเทศอาเซียน ให้เป็น ศูนย์กลางการเรียนรู้เพิ่มศักยภาพ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ หลังปรากฎ ตัวเลขผู้เสียชีวิตในไทย หลังเกิดเหตุ มากถึงร้อยละ 40 ด้วยเหตุผลดังกล่าว สพฉ.และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย จัดประชุมวิชาการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน สถานการณ์ภัยพิบัตินานาชาติในไทย เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 22-25 มิถุนายน 2558
              การจัดประชุมวิชาการดังกล่าวมีกิจกรรมน่าสนใจ คือ การแข่งขันแรลลี่ช่วยเหลือผุ้ป่วยฉุกเฉินจากเหตุสาธารณภัยในอาเซียน ภายใต้คอนเซ็ปต์ โดยรูปแบบของกิจกรรมจะมีการจำลองเหตุการณ์เสมือนจริง 4 ฐาน คือ สถานการณ์น้ำท่วมรุนแรง ในโรงพยาบาล
ต้องลำเลียงผุ้ป่วยออกามาให้ทันท่วงท่ หนึ่งในนั้นมีผุ้้ป่วยท้องแก่ใกล้คลอด รวมถึงฐานปฏิบัติช่วยเหลือเหตุ สารเคมีรั่วไหลในโรงงานอุตสาหกรรมขนดใหญ่ ... บรรยากาศเป็นไปด้วยความสามัคคี พร้อมเพรียงเป็นหนึ่งเดี่ย ทุกทีมต่างทำงานแข่งกับเวลา โดยไม่รู้มาก่อนว่า จะต้องเผชิญเหตุการณ์เฉพาะหน้าอย่างไรบ้างโดยสรุปผลลัพธ์ที่ได้ตรงตามเป้าหมายการจัดการคือ การทำงานร่วมกันนันเอง...
            การฝึกประชุมเชิงวิชาการการแพทย์ฉุกเฉินอาเซยนละการซ้อมรับสถานการณ์จริงครั้งนี้ มีคณะทำงานแพทย์ฉุกเฉินญี่ปุ่นร่วมสังเกตุการร์ด้วยในฐานะผู้ฝึกสอนพร้อมประเมินคะแนนมาตรฐานช่วยเหลือผุ้ประสบภัยพิบัติของไทยว่า อยู่ที่ระดับ 2-3 ใน 5 ระดับ เพราะขาดประสบการณฺ
            ทัตสุโอะ โอโนะ เลขาธิการหน่วยแพทย์รอบรับสาธารณภัย กระทรวงสุขภาพ แรงงานและสัสดิการประเทศญี่ปุ่น ให้เหตุผลว่า การแพทย์ฉุกเฉินไทยยังอ่อนซ้อม ต้องฝึกบ่อยๆ ให้เกิดความชำนาญ แม้จะยังไม่เกิดเหตุก็ตาม เมื่อเกิดเกตุจริงจะสามารถทำงานได้เลย หลายคนยังขาดประสบการณ์ แต่ยังไมาสายเกินไป  ถ้าจะเริ่มต้นในตอนนี้เพราะไทยน่าเป็นห่วย เรื่องภัยพิบัติธรรมชาติที่ไม่คาดคิด เช่น เหตุสึนามิในอดีต เหตุน้ำท่วมครั้งใหญ่ และเหตุแผ่นดินไหว...www.komchadluek.net/..ยกระดับการแพทย์ฉุกเฉินไทย สู่ศูนย์กลางช่วยภัยพิบัติอาเซียน)

วันอังคารที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

AHA Center

              ASEAN coordinating  Centre for Humanittarian ศูนย์ประสานงานเพื่อการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ AHA Center เป็นองค์กรระหว่างรัฐบาลที่มีเป้าหมายเพื่อำนวนความสะดวกในการประสานงานระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับสหประชาชาติแลองค์การระหว่างประเทศในการจัดการภัยพิบัติและตอบสนองฉุกเฉินในภูมิภาคอาเซียน
              ศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อการช่วบเหลือด้านมนุษยธรรมเกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ เป็ฯองค์กรระหว่างรัฐบาลที่มีเป้าหมายเพื่อำนวยความสะดวกในการประสานงานนระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับสหประชาชาติแบะองค์การระหว่างประเทศในการจัดการภัยพิบัติและการตอบสนองฉุกเฉินในภูมิภาคอาเซียน ศูนย์ฯ ก่อตั้งขึ้นโดยประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ เมื่อวันที่ 17 พศจิกายน พ.ศ. 2554 โดยผ่านการลงนามในข้อตกลงจัดตั้งศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมในการจัดการในบาหลี อินโดนีเซีย  ข้อตกลงดังกล่าวได้ลงนามดดยรัฐมนตรีต่างประทเศอาเซียนซึ่งได้รับการเห็นจากประมุขแห่งรัฐอาเซียน  ศูนย์อาเซียนถูกควบคุมโดยสมาชิกขงอคณะกรรมาธิการอาเซียนว่าด้วยการจัดการภัยพิบัติ ACDM ประกอบด้วยประมุขแห่งสำนักงานบริหารจัดการภัยพิบัติแห่งชาติ ซึ่งเชื่อมโยงกับประเทศสมาชิกอาเซียน เป็นเาภาพโดยรัฐบาลอินโดนีเซีย  AHA Centerให้บริการแก่ประเทศสามชิกจากสำนักงานในกรุงจาการ์ต้า
             เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ีในภูมิภาคที่มีภัยพิบัติมากทีสุดแห่งปนึ่งของโลกและภัยธรรมชาติเกือบทุกประเภทรวมทั้งศึนามิ แผ่นดินหว น้ำท่วม พายุไต้ฝุ่น พายุไซโคล ภัยแล้ง แผ่นดินถล่ม และภูเขาไฟระเบิด ภัยพิบัติที่สำคัญที่อาเซียนประสบคือ สึนามิในมหาสมุทรอินเดียว และพายุไซโคลนนากิส
             นับตั้งแต่เร่ิมจัดตั้งอาเซียนประเทศสมาชิกได้หารือเกี่ยวกับความร่วมมือในการจัดการภัยพิบัติ และตัดสินใจจัดตังคณะกรรมการอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติ ACDM และ ในปี 2548 รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนได้ลงนามในข้อตกลงการจัดการภัยพิบัติและการตอบสนองฉุกเฉิน AADMER ในเวยงจันทน์สปป.ลาว มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้กลไกที่มีประสทิะภาพในการลดการสูญเสยจากภัยพิบัติในชีวิตและทรัพย์สินทางเศราฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างมีประสิทธิภาพและเพื่อร่วมกันตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินด้วยการร่วมมือกันในระดับประเทศและความร่วมมือในระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น
            AADMER ได้มอบหมายจัดตั้งศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเกี่ยวกับการจัดการภัยำิบลัติ เพื่อเป็นกลไกในการดำเนินงาน ศูนย์อาเซียนได้รบการจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 โดยการลงนามในข้อตกลงจัดตั้งศูนย์อาเซียนโดยรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนซึ่งได้รับการเห็นจากประมุขอาเซียนในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 19 ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย..(ahacenter.org/history/..ประวัติศาสตร์/ศูนย์ AHA Center)
            อาเซียนตื่นตัวรับภัยพิบัติ ร่วมพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ตั้งศูนย์ AHA Center  ประสานความช่วยเหลือ เชื่อมข้อมูลระหว่างอาเซียน ขณะที่ไทยเตียมทีมแพทย์เคลื่อที่เร็วพร้อมรับมือ ด้านพม่าเล็งพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ชูไทยเป็นต้นแบบที่ดี ด้านผุ้เชี่ยวชาญจากญี่ป่นุย้ำต้องเน้นพัฒนาศักยภาบุคลากร นำระบบมาใช้ให้เหมาะกับสภาวะประเทศ
         
ที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ได้มีการจัดการประชุมแลกเปลี่ยนระหว่าง สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่ง (สพฉ.) และทีม Japan International Cooperation Agency (JICA) ซึ่งประกอบไปด้วยทีมแพทย์ผุ้เชียวชาญจากประเทศญปุ่นและประเทศพม่าที่เข้ารวมแลกเปลี่ยนการทำงานกันในครั้งนี้ด้วย เพื่อร่วมกันพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินในไทย รวมทั้งการแพทย์ฉุกเฉินในอาเซีน ดดยเฉพาะประเด็นเรื่องการเตีรยมรับมือกับภับพิบัติที่จะเกิดข้น
            นพ. ประจักษวิช เล็นาค รองเลขาธิการถาบันการแพทย์ฉุกเฉิืนแห่งชาติ (สพฉ.) กบ่าวว่า ในปัจจุบันภัยพิบัติเป็นสิ่งที่ทุกประเทศตระหนัก และในระดับอาเซียนก็เชนกัน จึงีการ่่วงมกันพัฒนาและประยุกต์ใช้ความร่วมมือจากข้อตกลงอาเซียน เพื่อเตียมพร้อมรบมือภัยพิบัติไรือที่เรียกว่า AADMER โดยจัดตั้งหน่วยงานกลาง คือ AHA Center  หรือ ศูนย์ประสานงานสำหรับการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมการจัดการภัยพิบัติ ตั้งอยู่ที่สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ดดยมีวัตพุประสงค์เพื้ออำนวยความสะดวกในการประสานงาน เพื่อรวบรวมข้อมูล่ข่าวสาร ติดตามสถานกาณณ์ภัยพิบัติต่างๆ และประสานความช่วยเหลือระหว่งกันของประเทศอาเวียน สำหรับประเทศไทยเครียมความพร้อมโดยพัฒนาทีมแพทย์ฉุกเฉินเคลื่อนที่เร็วในการรับมือภัยพิบัติ อบรมเพ่ิมทักษะควมรู้ จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป้น เพื่อการช่วยเหลอตัวเอง และพร้อมให้ความช่วยเหลือเมื่อมีการ้องของด้วย
         
รองเลขาธิการสพฉ. กล่าวต่อถึงการเตียมรับมือภับยพิบัติในประเทศไทยว่า ปัจจุบันประเทศไทยตระหนักและเตรียมพร้อมมากขึ้น ดดยมีการพัฒนาทีมผุ้ปฏิบัติการให้มีความพร้อม และได้พัฒนาทีมผู้ปฏิบัติการแุกเฉินเคลื่อนที่เร็วขึ้น ซึ่งได้นำจุดดี จุดเด่น ของทีมลักษระเดียวกันของประเทศต่างๆ มาปรับใช้ ทั้งในเรื่องความคล่องตัวในการช่วยเหลือ จำนวนผุ้เชี่ยวชาญในทีม เป็นนต้น นอกจากนี้ สพฉ. ยังเล็งเห็นว่าระบบบัญชาการในภาวะภัยพิบัติหรือ ICS จะทำให้การทำงาน การสั่งการ การประสานระหว่างกันดียิ่งขึ้น รวมทั้งยังจัดให้มีซ้อมการเผชิญเหตุภัยพิบัติอย่างสมำ่เสมอเพื่อเป็นการเตยมพร้อมให้ผุ้ปฏิบัติและเพื่อให้เกิดความชำนาญการหากต้องเผชิญกับสถานการณ์ภัยพิบัติจริง
            ขณะที่ผุ้เชียวชาญระบบการแพทย์ฉุกเฉินจากประเทศพม่า Dr. Toe Thiri แพทย์จากโรงพยาบาลย่างกุ้ง กล่าวว่าถึงแม้ที่พม่าจะมีการพัฒนาระบบขชองการักษาพยาบาลให้ดีขึ้นตามลำดับแล้ว แต่ทุกๆ
โรงพยาบาลก็จะมีข้อจำกัด คือมีจำนวนของบุคลากรที่มีควาเมเชี่ยวชาญในจำนวนที่จำกัด โดยโรงพยาบาลหนึ่งแห่งจะมีรถที่คอยรับส่งผุ้ป่วยเพียงแค่หนึ่งคัน ซึ่งสิ่งที่เราขาดเป็นอย่างมากคือการฝึกอบรมบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญในเรื่องของการช่วยเหลือชีวิตผู้คนในสถานกาณ์ฉุกเฉิน ทั้งนี้ก่อนที่เราจะมาดูงานที่ประเทศไทยเราได้ไปดูงานที่ประเทศญ่ีปุ่นมาแล้ว ซึ่งระบบการแพทย์ฉุกเฉินประเทญีปุ่่นนั้นจตะมีความแตกต่างจากประเทศไทยอยู่มาพอสมควร แต่สำหรับพม่าระบบการแพทย์ฉุกเฉินในประเทศไทย่าจะเป็นต้นแบบที่ดี เพราะมีปัจจับยและสภาวะแวดล้อมหลายด้านที่ใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ สิ่งที่ประทับใจกับการทำงานของสพฉ. และระบบการแพทย์ฉุกเฉินไทยคือความมุ่งมั่นใน การทำงานเพื่อที่จะช่วยเหลือประชาชนที่ประสบเหตุภัยพิบัติ โดยเริ่มจากการจัดตั้งหน่วยงเล็กๆ ลงไป ในพื้นที่ และหน่วยเล็กๆ เหล่านั้นสามารถปรับเปลี่ยนการทำงานให้ขยายใหญ่ขึ้นและประสานการทำงานกับหลายฝ่ายเพื่อช่วยเหลือประชาชนในประเทศตนเองได้ นอกจากนี้ การที่องคกรที่
ทำงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินนั้นแยกออกมาเป็นองค์กรอิสระและทำงานโดยไม่ต้องอยู่ภายใต้ระบบมาก ทำงานด้วยความเป็นอิสระ ก็จะยิ่งทำให้การช่วยเหลือคนเป็นไปอย่างคล่องตัว ซึ่งต่างกับพม่าก่อนที่จะทำการช่ยเหลือผุ้คนได้เราต้องปรึกษากันกับหลายหน่วยงาน ซึ่งประเด็นนี้เราจะนำไปปับปรุงและนำเสนอให้เกิดการพัฒนาในประเทศของเราต่อไป           
         ด้าน Mr. Makato Yamasahita Director General, JICA Headquater ผุ้เชี่ยวชาญจากประเศญี่ปุ่นกล่าวแนะนำถึงการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินในประเทศไทยและอาเซียนว่าสิ่งสำคัญของการพัฒนาคือต้องพัฒนาคุณภาพของบุคลากรให้มีศักยภาพมาก ซึ่งเมื่อพร้อมมากก็จะยิ่งช่วยชีวิตผุ้ป่วยได้มาก อย่างไรก็ตามในการพัฒนาเรื่องการแพทย์ฉุกเฉินเราไม่ควรจะเปรียบเทียบว่าระบบการแพทย์ฉุกเฉินประเทศใดพัฒนากว่ากัน เพราะสิ่งสำคัญที่สุดคือการปรับระบบให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมและสภาวะในประเทศนั้นๆ เพื่อการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ..(thaiemsinfo.com/..อาเซียนตื่นตัวรับภับพิบัติ ร่วมพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน)
               
         
             

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...