วันจันทร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2560

ASEAN Cultural

             ศิปลวัฒนธรรมและประเพณีอาเซียน 10 ประเทศ
             - ประเทศไทย ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของไทย ได้รับอิทธิพลจากมอญ ขอม อินเดีย จีนและชาติตะวันตก แต่มเอกลักษณ์ในด้านความงดงาม ประณีต และผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนา
                การไหว้ เป็นประเพณีการทักทายที่ถือเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นของไทย โดยเป็นกรแสดงถึงควมีสัมมาคารวะและให้เกี่ยรติกันและกัน นอกจากการทักทาย การไหว้ยังมความหมายเพื่อการขอบคุณ ขอโทษ หรือกล่าวลาด้วย
               โขน เป็นนาฎศิลป์เก่าแก่ของไทย มีลักษณะสำคัญที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขนทั้งหมด ยกเว้น ตัวนาง พระ และเทวดา ซึ่งแสดงโดยใช้ท่ารำและท่าทางประกอบทำนองเพลงดำเนินเรื่องอ้วยบทพากย์และบทเจรจาส่วนเรื่องที่นิยมแสดงคือ รามเกียรติ์
                สงกรานต์ ประเพณีเก่าแก่ ซึ่งถือเป็นการเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ของไทยทที่ยึดถือปฏิบัติกัน โดยจะมีการ รดน้ำ ขอพรผู้ใหญ่ สรงน้ำพระ ทำบุญตักบาตร ปล่อยนกปล่อยปลา ขนทรายเข้าวัดและก่อเจดีย์ทราย รวมทั้งมีการเล่น สาดน้ำเพื่อความสนุกสนานด้วย
            - สาธารณะประชาธิปไตยประชาชนลาว วัฒนธรรมของลาวจะมีความคล้ายคลึงกับวัฒนธรรมทางภาคอีสาน ของไทยมาก
               ด้านดนตรีแคน ถือเป็นเครื่องดนตรีประจำชาติ โดยมี วงดนตรีคือ วงหมอลำ และมีรำวงบัดสลบ ซึ่งเป็นการเต้นท่มีท่าตามจังหวะเพลง โดยจะเต้นพร้อมกันไปอย่างเป็นระเบียบถือเป็นการรวมสนุกกันของชาวลาวในงนมงคลต่างๆ
                การตักบาตรข้าวเหลี่ยว ถือเป็นจุดเด่นของเมืองหลวงพระบาง ซึ่งโดยปกติแล้วนิยมใส่บาตรด้วยข้าวเหนียวเพียงอย่างเดียว เพราะเมื่อ ถึงเวลาฉัน ชาวบ้านจะยกสำรับกับข้าวไปถวายที่วัด เรียกว่า "ถวายจังหัน" โดยเวลาใส่บาตรจะนั่งคุกเข่าและผู้หญิง ต้องนุ่งซิ่น ส่วนผู้ชยนุ่งกางเกงขายาว และมีผ้าพาดไหล่ไว้สำหรับเป็นผ้ากรอบพระเหมือนกัน
         
 - ประเทศมาเลเซีย ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของมาเลเซียนั้น ด้วยเหตุที่มีหลยชนชาติอยู่รวมกันทำให้ดินแดนแห่งนี้เต็มไปด้วยวัมนธรรมท่แตกต่างหลากหลายผสมผสนกัน ซึ่งม ทั้งการผสานวัฒนธรรมกชนชาติอื่นๆ และการรักษาวัฒนธรมประเพณีของชนแต่ละกลุ่มใแ่ละพื้ที่    
                การรำซาบิน เป็นการแสดงการฟ้อนรำหมู่ ซึ่งเป็นศิลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซียโดยเป็นการฟ้อนรำที่ได้รับอิทธิพลมาจากอินแดนอาระเบีย โดยมผู้แสดงเป็นหญิงชายจำนวน 6 คู่เต้นตามจังหวะของกีตาร์ แบบอาระเบียนและกลองเล็กสองหน้าที่บรรเลงจากช้าไปเร็ว
                เทศกาลทาเดา คาอามาดัน ป็นเทศกาลประจำปีในรัฐซาบาห์ จัดในช่วงสิ้นเดือน พฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงสิ้นสุดของฤดูการเก็บเกี่ยวข้าและเร่มต้นฤดูกาลให่ โดยจะมีพิธีกรรมตามความเชื่อในการ ทำเกษตร และีการแสดงระบำพื้นเมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิ่นเพื่อเฉลิมฉลงด้วย
              - ประเทศสิงคโปร์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของสิงคโปร์ เนื่องจากสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีประชากรหลกหลายเชื้อชาิหลากหลายศาสนาทำให้ประเทศนี้มีศิลปวัฒนธรมที่หลากหลาย สำหรับเทศกาลที่สำัญของสิงคโปร์ก็จะเป็นเทศกาลเกี่ยวข้องกับความเชื่อทางศาสนาเช่น
               เทศกาลตรุษจีน เทศกาลขึ้นปีใหม่ของชาวจีนที่จัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์, เทศกาลวิสาขบูชา จัดขึ้นเพื่อระลักถึงการะประสูติ ตรัสู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้าของชาวพุทธในเดือพฤษภาคม, เทศการ Hari Raya Puasa เทศกาลการเฉลิมฉลองของขาวมุสลิมที่จัดขึ้นเมื่อสิ้นสุดพิธีถือศิลอดหรือ อมฎอนในเดือนตุลาคม. เทศกาล Deepavali เทศกาลแห่งแสงสว่างและเป็นงานขึ้นปีใหม่ของชาวฮินดู ที่จัดขึ้นเดือน พฤศจิกายน
             
 - ประเทศอินโดนีเซีย ศิลปวัฒนธรรมอินโดนีเซีย มีชนพื้นบ้านหลายชาติพนธุ์กระจายกันอยู่ตามเกาะ ทำให้วัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องที่แตกต่างกันไป
                  ระบำบางรอง ละครพื้นเมืองดั้งเดิมของเกาะบาหลี มีการใช้หน้ากากและเชิดหุ่นเป็นตัวละคร โดยมีการเลนดนตรีสดประกอบการแสดง เรื่องราวเป็นการตอสู้กันของ บารอง คนครึ่งสิงห์ ซึ่งเป็นตัวแทนฝ่ายความดี กับรังดา พ่อดหมอผีตัวแทนฝ่ายอธรม ดดยฝ่ายธรรมะได้รับชัยชนะในที่สุด
                  ผ้าบาติก หรือ ผ้าปาเต๊ะ เป็นผ้าพื้นเมืองของอินโดนีเซียที่มีวิธีการทำโดยใช้เทียนปิดสวนที่ไมต้องการให้ติดสี และใช้วธีการเเต้มระบาย หรือ ย้อมในส่วนที่ต้องการให้ติดสี ผ้าบาติกนิยมใช้เป็นเครื่องแต่งการของหนุ่มสาว โดยใช้เป็นผ้าโพกศรีษะชาย ผ้าคลุม ศรีษะหญิง ผ้าับกางเกงชาย และโสร่ง หรือผ้าที่ใช้นุ่งโดยการพันอบตัว ซึ่งส่วนที่เรียกว่า "ปาเต๊ะ" คือสวนที่ต้องนุ่งใหรงกับสะโพก โดยมีลวดลายสีสันต่างไปจากส่วนอื่นๆ ใผ้าผืนเดี่ยวกันนั่นเอง
               - ประเทศเวียนดนาม ศิปลวัฒนธรรมและประเพณีของเวียดนาม ส่วนใหญ่จะได้รัอชบอิทธิพลจากจนและฝรั่งเศส เวียนดนามมีเทศกาลที่สำคัญ คือ
                  เทศกาลเต็ด หรือ "เต็ดเหวียนดาน" หมายถึง เทศกาลแห่งรุ่งอรุณแรกของปี ถือเป็น เทศกาลทางศาสนาที่สำคัญที่สุดมีขึ้นในช่วงปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธืเป็นการเฉลิมฉลองคามเชื่อ ในเทพเจ้า ลัทธิเต๋า ขงจื้อ และศาสนาพุทธ รวมทั้งเป็นการแสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษด้วย
                  เทศกาลกลางฤดูใบไม่ร่วง จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี ชาวบ้านจะประกวดทำขนมเปี๊ยะโก๋ญวนหรือบันตรังทู ที่มีรูปร่างกลม มีใส้ถั่วและไส้ผลไม่ และมีการจัดขบวนเชิดมังกร เพื่อแสดงความเคารพต่อพระจันทร์ จะมีการเฉลิมฉลองกับขนมเค้กสำหรับเด็กและครอบครัวของพวกเขาที่ดุดวงจันทร์ ขบวนของโคมๆฟและโคมๆฟ ดวงจันทร์จะถูกใช้เป็นสัญลักษณ์สำหรับความเจริญรุ่งเรืองในช่วงเศกาลจะมีกล่องเค้กในรูปร่างของดวงจันทร์ เพื่อเพื่อนและครอครัว ในเวลกลางคือนเด็กจะเดินขบวนใถนนร้องเพลงในขณะที่ส่งมอบโคมไฟจีนสีในมือ โคมไฟเหล่านี้จีนมีเที่ยนที่ส่องสว่างสวยงามตามท้องถนน
             
  - ประเทศพม่า ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของพม่า พม่าได้รับอิทธิพลจกจีน อินเดีย และไทยมานาน จึงมีมีการผสานวัฒนธรมเหล่นี้เข้ากับวัฒนธรรมของตนจนเป็นเอกลักษณ์ นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลจกพุทธศาสนา จึงเกิดประเพณี สำคัญ เช่น
                  ประเพณีปอยส่างลอง หรืองารบวชบูกแด้ว เป็นงารบวชเณรที่สืบทอดกันมานาน และชาวเมียนมาร์ให้ความสำคัญมา เพราะถือเป็นบุญอันยิ่งใหญ่ของครอบครัว
                   งานไหว้พุทธเจดีย์ประำปี ซึ่งแต่ละที่มักนิยมจัดในเดือนหลังออกพรรษาถือเป็นงานเฉลิมฉลองที่สนุกสนา และได้ทำบุญสร้างกุศลด้วย
              - ประเทศฟิลิปปินส์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประเทศฟิลิปปินส์ วัฒนธรรมของฟิลิปปินส์เป็นวัฒนธรรมผสมผสานกันระหว่างตะวันตกและตะวันออก ซ่งสวนใหญ่จะได้รับอิทธิพลจก สเปน จีน และอเมริกัน ฟิลิปปินส์มีเทศกาลที่สำคัญ คือ
                 อาติหาน จัดขึ้นเพื่อรำลึกและแสดงความเคารพต่อ "เอดาส" ชนเผ่าแรกที่มาตั้งรกรากอยู่บนเกาะแห่งหนึ่งน ฟิลิปปินส์ และรำลึกถึงพระเยซูคริส์ในวัยเด็ก โดยจะแต่งตัวเลียนแบบเทศกาลอติ ขนเผ่า เอดาส แล้วออกมารำร่อนเริงบนท้องถนนในเมืองคาลิบู
                 เทศกาลชินูล็อก งานนี้จัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 3 ของเดือน มกราคมทุกปี เป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงนักบุญซานโตนินอย โดยจะจัดแสดงดนตรีและมีขบวนพาเหรดแฟนซี ทั่วเือ เซบู
                 เทศกาลดินาญัง งานนี้จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงนักบุญซานโต นินิย เชนเดี่ยวกับเทศกาลซิบูล้อก แต่จะจัดขึ้นในสัปดาห์ที่ 4 ของเดือนมกราคม ที่เมือง อิโลอิโย
                - ประเทศบูรไน ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประทเศบรูไน บรุไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับมาเลเซียและอินโดนีเซียมาก มีวัฒนธรรม ประเพณี ภาษา และการแต่งกายที่คล้ายคลึงกัน รวมทั้งยังมีวัฒนธรที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลามด้วย เช่น
                 
 สตรีชาวบรูไนจะแต่งกายมิดชิด นุ่งกระโปรงยาว สื้อแขนยาว และมีผ้าโพกศีรษะ คนต่างชาติ จึงไม่ควรนุ่ง กระโปรงสั้น และใส่เสื้อไม่มีแขน  ความหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลือง เพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตรยิ์ การทักทาย จะจับมือกันเบาๆ และสตรีจะไม่ยื่นมือให้บุรุษจับ การชั้นิ้วไปที่คนหรือส่ิงของถือว่าไม่สถภาพ แต่ จะใช้หัวแม่มือชี้แทน และจะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อ่น สตรีเวลานั่งจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผู้ชย และไม่ ส่งเสียงหรือหัวเราะดัง
                   การรับประทานอาหารร่วมกับชาวบรูไน โดยเฉพาคู่เจรจาที่เป็นชาวมุสลิมควรระมัดระวังกาสั่งอาหาร ที่เป็นเนื้อหมูและเครื่องดื่อมที่มีแอลกอฮอล์ เนื่องจากผิดหลักปฏิบัติของศาสนาอิสลาม ไม่รับประทาเนื้อหมู และถือเป็นกฎที่ปฏิบัติกันอย่างเคร่งคัดในการห้ามดื่อมสุรา อาจขอให้ คู่เจรจาชาวบรูไน ช่วยเลือกร้านอาหาร ทั้งนี้บรูไนไม่มีวัมนธรมการให้ทิปในร้านอาหาร ในกณีที่เป็นร้านอาหารขนาดใหญ่จะมีการเก็บค่าบริการ เพื่มร้อยละ 10 อยู่แล้ว
                  - ประเทศกัมพูชา ศิปลวัฒนธรรมกัมพูชา กัมพูชาเป็ฯประเทศที่มีประวัติสาสตร์อันยาวนาน วัฒธรรมประเพณีจึงมีความเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ความเชื่อ และวิถีชีวิตของคนในประเทศศิลปวัฒนธรรม ที่เป็นเอกลักษณ์ได้แก่
                    ระบำอปสรา เป็นการแสดงนาฎศิลป์ที่โดดเด่นของกัมพูชา ซึ่งถอดแบบการ แต่างกายและท่าร่ายรำมาากภาพำหลักรูปนางอปสรที่ปราสาทนครวัด นางอัปสราตัวเอกองค์แรก คือ เจ้าหญิงบุพผาเทวี พระราชธิดาใเจ้าสีหนุ เป็นระบำทีกำเนินขึ้นเพื่อ เข้าฉากภาพยนตร์เกี่ยวกับนครวัดซึ่งกำกับโดยผู้กำกับชาวฝรั่งเศส หลังจากนั้น ระบำอัปสรา ก็เป็นระบำขวัญใชาวกัมพูชา ใครได้ เป็นตัวเอกในระบำ
อัปสรนั้นเชื่อได้ว่า เป็นตัวนาชั้นยอดแห่งยุคสมัยนครวัด เป็นอุมคติแห่งชาติกัมพูชา นางอปสราในนครวัดก็เป็นอุดมคติแห่งสตรีเขมร ดังนันการชุบชีวิตนางอัปสราออกมาเป็ ระบำระดับชาตินั้นมีความหมายในเชิงชาติพันธุ์นิยม เพื่อให้เข้าถึงสัญลักษณ์สูงสุดแห่งสตรีเเขมร์ ระบำอัปสรมีชื่อเสียง ขึนมาด้วยกางอิงบทความยิ่งใหญ่ของนครวัต ดอกไม้เหนือเศียรนางอปสราสวน ใหญ่ใใปราสาทนครวัดคือ ดอกฉัตรพระอินทร์ เนื่องจากรูปทรงของดอกชนิดนี้พ้องกันกับภาพสลัก เขมรเรียกดอกไม้ชนิดนี้ ว่า "ดอกเสนียดสก" คือส่ิงที่เอามาเสียนดและสกคือผมชือของดอกไม้บ่งบอกว่าเป็นดอกสำหรับเสียดผมเข้าใจว่าสมัยโบราณสตรีขั้นสูง ของเขมรคงประดับ ศรีษะด้วยดอกไม้หลายชนิด หนึ่งในนั้นคือดอกฉัตรพระอินทร์ ดังหลักฐนภาพสลักนางอปสรา ที่พบในปราสาทหินขอม ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจของช่างสลักจากที่ได้เห็นของจริง
                 เทศกาลน้ำ หรือ "บอน อม ตุก" เทศกาลประจำปีที่ย่ิงหใญ่ของกัมพูชา จัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน เพื่อเป็นการแสดงความสำนึกใพระคุณของ แม่น้ำที่นำความอุดมสมบูรืมาให้ โดยจะมีการแข่งเรือยาว แสดงพลุดอกไม่ไฟ การแสดงขบวนเรือประดับไฟ และขบวนพาเหรดบริเวณทะเลสาบ "โตนเลสาบ" ที่จัดขึ้น ทุกปีตั้งแต่ วันขึ้น 14 ค่ำ 15 ค่ำ จนถึงแรม 1 ค่ำ เดือนพฤศจิกายน ซึ่งทางการกัมพูชา ประกาศให้เป็นวันหยุด 3 วัน เพราะน้ำในแม่น้ำโขงเมื่อสุง จะไหลไปที่ทะลเสบ เนื่องจากในช่วปลาย ฤดูผนในเดือนพฤศจิกายน น้ำในทะเลสบลดต่ำลง ทไให้น้ำไหลลง กลับสู่ลำน้ำโขงอีกครั้ง ชาวกัมพูชาะร่วมกันลอยทุนที่ปะดับด้วยดวงไฟไปตาม แม่น้ำโขง ขณะที่การแข่งเรือ เป็นการำลึก ถึงเหตุการณ์ใประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้า ชัยวรมันที่  7 ช่วงศตวรรษที่ 12 ในยุคเมืองพระนคร อาณาจักรเขมรที่กำลังรุ่งเรืองมีชัย เหนือาณาจักรจาม ในการสู้รบทางเรือ
             
                      - https//blkp201.wordpress.com ..ประชาคมอาเซียน ศิลปวัฒนธรรมแลประเพณีอาเซียน 10 ประเทศ
             

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...