วันอังคารที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Languaese & Ethnic (Myenmar)

           พม่า หรือ เมียนมา มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ตั้งออยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้ ในส่วนของดินแดภาคเพื้นทวีป มีอาณาเขตติดกับไทย ลาว จีน อินเดีย และบังคลาเทศ มีจำนวนประชากร 53 ล้านคน ประกอบไปด้วยกลุ่มาติพันธุ์ต่างๆ ถึง 13 กลุ่ม ที่รู้จักำกันทั่วไป ได้แก่ พม่า มอญ ฉาน กะเหรี่ยง คะฉิ่นฉิ่น คะยา ยะไข่ กลุ่มชาติพันู์ทั้ง 8 กลุ่มเป็นกลุ่มชาติพันู์ที่ได้รับความสำคัญต่อประวัติศาสตร์ชาติ ดดยมีการกำหนดชื่อกลุ่มชาติพันู์ให้เป็นชื่อรัฐ 7 รัฐ  ยกเว้นกลุ่มชาติพันธ์ุพม่าที่ระบุให้เป็นหลุ่มชาติพันู์หลักของ 7 เขต คื อสะกาย มัณฑะเลย์ พะโค ย่างกุ้ง เอยาวดี มะเกว และตะนาวศรี
         นอกจากกลุ่มชาติพันธ์ุหลักดังกล่า พม่ายังมีกลุมชาิตพันู์ย่อยๆ อีกมากมาย เช่น ธนุ ตองโย แต้ะ มรมาจี คายนา อึงตา ระวางลีซู ลาหู่ กอ ขขุ ลาซี ขมี นาคะ แม้ว ว้า ปะหล่อง ปะเล ยิง ปะโอ ซะโหล่ง ซะเหย่ง ยิ่งบ่อ บะแระ ปะต่อง ยิ่งตะแล คำดี โย หล่ำ ขมุ ลุ และขืน กลุ่มชาติพันธ์ุเหล่านี้ส่วนมากอาศัยกระจายอยุ่บนพื้นที่สูงและเขตภูเขาทางภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคตะวันออก มีบ้างเล็กน้อยที่อาศัยอยุ่ทางภาคใต้ สวนใหญ่ไม่เป้นที่คุ้นเคยแม้ในหมู่ชาวพม่าทั่วไป กลุ่มชาติพันธ์ุส่วนใหญ่มีความเป็นอาศัยกระจายอยู่บนท้พนที่สุและเขตภูเขาทางภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคตะวันออก มีบ้างเล็กน้อยที่อาสัยอยู่ทางภาคใต้ ส่วนใหญ่ไม่เป็นที่คุ้นเคยแม้ในหมู่ชาวพม่าทั่วไป กลุ่มชาติพันธุ์ส่วนใหญ่มีความเป็นอยุ่ที่ใกล้ชิดกับธรรมชาติ กลุ่มที่ได้รับความสนใจจากรัฐบาลเนื่องเพราะปัญหาค้ายาเสพติด คือ กลุ่มโกกั้งและกลุ่ม้า อาศัยอยู่ในรัฐแานใกล้ชายแดนจีน ภายหลังกลุ่มว้าได้ขยายพื้นที่มาใกล้ไทย ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งที่รัฐให้ความสนใจมากขึ้นคื อนาคะ ซึ่งอยุ่ใกล้ชายแดนจรดกับอินเดียเพราะมีรูปแบบในการดำรงชีวิตที่ใกล้ชิดกับธรรมชาติและมีการล่าหัวมนุษย์ ส่วนอีกกลุ่มที่ได้รับความสนใจจากรัฐเพราะวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของพวกเขาสามารถดึงดุดนักท่องเที่ยวได้ คือ ปะด่อง หรือกะเหรี่ยงคอยาว และชาวอิงตา ซึ่งอาศัยในทะเลสาบอิงเลในรัฐฉาน 
          ภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ได้แกบ่งพม่าออกจากกันเป็นสองสวน คื อส่วนที่อยุ่ใจกลางของประเทศได้แก่พื้นที่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำ เช่น ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิระวดีตอนล่าง แม่น้ำสะโตง และแม่น้ำชินวินและส่วนเทือกเขาสูงกินอาณาเขตจรดชายแดนของพม่าทั้งด้านตะวันตก ตะวันออกและภาคเหนือ พื้นที่บริเวณเทือกเขาสูงนี้จะกินอาณาเขตประมาณ 2 ใน 3 ของเนื้อที่ทั้งประเทศ
         
 กลุ่มชาติพันธ์พม่า.ึซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ จะอาศัยอยุ่บริเวณที่ราบริมแม่น้ำ เช่น แม่น้ำอิระวดี แม่น้ำสะโตง และแม่น้ำชินวิน เป็นต้น นอกจากชาวพม่าแล้วยังมีชาวมอญและกะเหรี่ยงซึ่งอพยพลงมาจากภูเขาสูง ในขณะที่กลุ่มชาิตพันธุ์อื่นจะอาศัยอยู่ในบริเวณที่ราบสุงหรือเทือกเขาสูงบริเวณชายแดน ดังนั้นด้วยปัญหาสภาพทางภูมิประเทศที่เป็นอุปสรรค ทให้กลุ่มชาิตพันธ์ุที่เป็นชนกลุ่มน้อยในบริเวณชายแดนและชาวพม่าในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำ ไม่ได้ติดต่อสัมพันธ์กันมากเท่าใดนัก การสัญจรไปมาในบริเวณเทือกเขาุงและป่าทึบทำได้ไม่สะดวก ส่วนใหญ่เป็นทางเดินเล็กๆ เหมาะกับการสัฐจรด้วยเท้าหรือกองคาราวานที่อาศัยสัตว์เป็นพาหนะ เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย และลา เป้นต้น เทือกเขาและที่ราบสุง จุึงเป้ฯเสมือนเสนแบ่งแดนที่แยดชนกลุ่มน้อยออกาจากชาวพม่ารวมทั้งศูนย์อำนาจรัฐพม่าจากส่วนกลาง
          พม่าใช้คำว่า "รัฐ" กับบริเวณพื้นที่ที่มีประชากรของชนกลุ่มน้อยอาศัยอยุ่ ได้แก่ รัฐคะฉิ่น รัฐฉาน รัฐคะยาห์ รัฐกะเหรี่ยง รัฐมอญ รัฐอะรากัน และรัฐฉิ่น ในขณะเดียวกันจะใช้คำว่า "เขต" กับบริเวณท้พนที่ที่มีประชากรพม่าอาศัยอยุ่อย่างหนาแน่น ได้แก่ เขตสะแกง เขตแมกเว้ เขตพะโค เขตมัณฑะเลย์ เขตอิระวอี เขตตะนาวศรี และเขตย่างกุ้ง..sac.or.th/databases/southeastasia/subject.php?c_id=6&sj_id=53
              "เราไม่ใช่คนพม่า แต่เราเป็นคน..." อาจเป็นคำพูดที่ได้ยินจากคนพม่าการไม่ประกาศตนว่าเป้นชาวพม่าทั้งที่มีพื้นเพในประเทศพม่า พูดภาษาพม่าได้ หรืออาจถือหนังสือเดินทางพม่าด้วยนั้น อาจเป็นเรื่องน่าฉงนสำหรับชาวต่างชาติ ที่เห็น "ความเป็ฯพม่า" ถูกปฏิเสธอย่างหน้าตาเฉย กรณีดังกล่าวอาจสะท้อนได้ว่า การเอาเรื่องกฎหมายว่าด้วยความเป็นพลเมืองของประเทศมาตัดสินว่าเป็นคนพม่าหรือไม่นั้น แม้เป็นเรื่องปกติที่ทำได้ แต่กลับไม่ง่ายที่จะให้เกิดการยอมรับในความเป็นพม่าไปได้ด้วย ส่วนการจะสรุปเอาว่าคนที่พุดภาษาพม่าได้คล่องแคล่วถือเป็นการยอมรับความเป็ฯพม่านั้น ก็อาจไม่ใช่ข้อสรุปที่ดี เพราะภาษากับเชื้อชาติไม่ได้ไปด้วยกันเสมอไป สำหรับบางคนในบางสถานการณ์ ภาษาก็ส่วนของภาษา และเชื่อชาติก็ส่วนของเชื้อชาติ หาใช่หนึ่งเดียวในความเป้ฯพม่าไม่
              อย่างไรก็ตาม ภาษาอาจมีอิทธิพลต่อการยอมรับความเป็นพม่าได้เช่นกัน จากการที่ภาษาพม่านั้นถูกกำหนดให้เป็นภาษาประจำชาติสำหรับชนทุกเผ่าพันธุ์ ดังนั้นผุ้พูดภาษาพม่าจึงไม่จำเป็นจ้องเป็นคนเชื่อสายพม่าเสมอไป อาจเป็นคนมอญ กะเหรี่ยง ไทยใหญ่ กะฉ่น ฉิ่น ตองสู จีน แขก ฯลฯ พอนานเข้าคนต่างเชื้อสายเหล่านี้ก็อาจมองตนว่าเป็นคนพม่าเพราะตนไม่พูดภาษาเดิมแล้ว นอกจากภาษาพม่า ดังตัวอย่างคนมอญในพม่าส่วนมาก ที่ลืมว่าตนสืบเชื้อสายมาจากมอญ ดังนั้น ภาษาจึงอาจบงชี้ความเป็นเชื้อชาติได้เพียงช่วงเวลาหนึ่ง ดดยมิได้สืบสายถาวรติดอยู่กับเชื้อชาติตลอดไป
              ในทางภาษาศสตร์ มักยอมรับในเรื่องการโยงใยทางภาษาของกลุ่มชนต่างๆ และวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างภาษาที่มีเสียง ศัพท และไวยากรณ์คล้ายคลึคงกัน แล้วจำแนกภาาต่างๆ เป็นกลุ่มภาษาหรือตระกูลภาษา การวิเคราะห์ดังกล่าวช่วยให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างภาษาของกลุ่มชติพันธุ์ แต่หากนำมาอ้างอิงอย่งไม่ระวัง ก็อาจหลงคิดไปว่าภาษาเป็นตัวกำหนดเชื้อชาติไปด้วย
              ในสมัยอาณานิคมนั้น ได้เคยมีการศึกษาทั้งในเชิงมานุษยวิทยาและภาษาศาสตร์เพือจำแนกกลุ่มประชากรในประเทศพม่า ดังความเห้ฯว่า "..หากจะจัดจำแนกประชากรในพม่าเราไม่อาจอาศัยพงศาวดาร ประเพณี คติชน หรือความคล้ายคลึงทางพื้นที่ (เช่น พม่าและมอญอยู่ที่ลุ่ม ฉิ่นและกะเหรี่ยงอยูตามดอย) หากต้องอาศัยภาาาพูดเป็นหลัก เรื่องอื่นๆ อาจใช้เพื่อตรวจสอบเกณฑ์ภาษเท่านั้น และมีความเห้ฯว่าประเพณีหรือตนานนั้นชนชาติต่างๆ อาจมีร่วมกันได้ ภาาาพูดจึงเป็นข้อพิสูจน์สายพันธุ์ของกลุ่มชนชาติ ความเห้นเช่นนี้ยอมรับกันมานานจนมีการนำมาใช้คาดคะเนถิ่นกำเนิดและเส้นทางอพยพของชนชาติต่างๆ ในประเทศพม่า เพราะเข้าใจไปว่าภาษาเป็นเครื่องบ่งชี้ชนชาติได้ดีกว่าเกณฑ์ด้านอื่นๆ ที่ผ่านมานั้น ภาษาพท่าและภาษาของชนชาติต่างๆ ในประเทศพม่าได้รับการศึกษาเพื่อจัดจำแนกสายพันธุ์และชี้ให้เห็นเครือข่ายและเชื้อสายทางภาษาในระดับต่างๆ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ซึ่งเป็นข้อสรุปที่ได้จากองค์ความรู้ทางภาษาศาสตร์ว่าด้วยภาษาพม่าและภาษาที่เกี่ยวข้องกับพม่าในพื้นที่ประเทศพม่าและประเทศไทย
               จากการเปรียบเทียบภาษาตามแนวภาษาศาสตร์เปรียบเที่ยบเชิงประวัติ นักภาษาศาสตร์ได้ข้อสรุปว่า ภาษาพม่าเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาเบอร์มิส ของสายโลโล-พม่า ภายใต้สาขาทิเบต-พม่า ที่แยกเชื้อสายมาจากตระกูลภาษาจีน-ทิเบต อีกที ภาษาพม่าจึงมีคามเล้ายคลึงกับภาษาทิเบตมากว่า ภาษาจีน และแตกต่างกับภาษาไทย ภาษามอญ ภาษาเขมร และภาษามาเลย์โดยสิ้นเชิงขณะเดียวกันก็มีความใกล้ชิดกับกลุ่มภาษาโลโล ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นชาวเขาอยุ่ใประเทศไทย อาทิ มูเซอ ลีซอ และอีก้อ สวนภาษาพม่าจะมีความใกล้ิดกับภาษากะเหรี่ยงมากน้อยเพียงใดนั้น พบว่าภาษากะเหรียงมีโครงสร้างประโยคที่ต่างไปจากภาษากะเหรี่ยงอยู่นอกสาขาทิเบต-พม่า แต่ต่อมามีการจัดภาษากะเหรี่ยงไว้ในกลุ่มสาขาทิเบต-พม่าด้วย เพราะเห้นว่าภาษากะเหรี่ยงมีความคล้ายคลึงกับภาษาอื่นๆ ของกลุ่มทิเบต-พม่าในด้านศัพท์ แต่ใกล้ชิดกับภาษาพม่าน้อยกว่าภาษาในกลุ่ม โลโล เช่น มูเซอ ลีซอ และอีก้อ สำหรับภาษาที่อยุ่ในกลุ่มเบอร?มิสและความใกล้ชิดกับภาษาพม่ามากย่ิงกว่าภาษาในกลุ่มโลโลได้แก ภาษามะยู หรือมารู และภาษาอะซี ซึ่งพูดอยู่ในรัฐกะฉิ่น บริเวณพรมแดรพม่า-จีน
             
ในประเทศพท่ามีชนร่วมเชื้อสายภาษาพม่าอยู่หลายกลุ่ม ทั้งที่ร่วมเชื้อสายอย่างใกล้ชิดและที่ห่างออกไปจนส่งภาษากันไม่รู้เรื่อง กลุ่มที่ใกล้ชิดกับพม่าได้แก่ชนชาติพม่าที่พุดภาษาสำเนีงท้องถ่ินต่างๆ ตามชนลทและพื้นที่รอบนอก ในกลุ่มนี้ที่รุ้จักกันดีเพราะเคยสร้างบ้านแปลงเมืองเป็นของตนเอง คือชาวพม่าในรัฐยะไข่ หรือรัฐอาระกัน นอกจากพม่าที่ยะไข่แล้ว ชนที่มีเชื้อสายภาษาร่วมใกับพม่าและยังคงหลงเหลือจนถึงปัจจุบัน เป็นเพียงชาวพม่าท้องถิ่นที่ไม่ค่อยมีบทบาททางการเมืองอยางเด่นชัด ได้แก่ อิงตา ทวาย ธนู ยอ พูน และต่องโย เป็นต้นสำหรับชนที่มีเชื้อสายห่างจากชนเผ่าพม่าออกมาหน่อยนั้น ได้แก่ มูเซอ ลีซอ อีก้อ ฮิ่น กะฏิ่น นาคา กะเหรี่ยง ปะโอหรือตองสู คะยา และปะด่อง เป็นอาทิ ชนส่วนน้อยที่ร่วมเชื้อสายกับพม่าเหล่านีั ต่างก็มีกองกำลังอิสระต่อสู้กับรัฐบาลกลางของพม่ามาเป็นเวลานานหลายสิบปีนับแต่ได้รัเอกราช ในประเทศไทยมีชนเผ่าที่ร่วมเชื้อสายทางภาษาใกล้ชิดกับพม่าอยู่หลายเผ่าน ได้แก่ อีก้อ มูเซอ ลีซอ อูก๋อง บิซู อึมปี รวมถึงกะเหรี่ยงหรือยางเผ่าต่างๆ โดยเฉพาะ กะเหรี่ยงสะกอ และกะเหรี่ยง กลุ่มชนร่วมเชื้อสายกับพม่าที่กล่าวมานี้ส่วนใหญ่เป้ฯชาวเขาหรือเป็นเพียงกลุ่มชนเล็กๆ ที่อาศัยอยุ่ทางภาคเหนือ และตลอดแนวภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทย สำหรับในประเทศพม่าพบชนกลุ่มดังกล่าวกระจายอยู่ทั่วไปต่อจากชายแดนไทยด้านตะวันตกจนถึงลุ่มแม่น้ำสาละวิน
              อันที่จริง กลุ่มชนร่วมเชื้อสายกับพม่าในประเทศพม่านั้น มีเป็นจำนวนมากที่ยังคงมีวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม แต่ส่วนที่ผสมกลมกลืนอยู่ในสังคมเมืองจนแกไม่ออกจากชาวพม่านั้นก็มีอยุ่แทบทุกกลุ่ม โดยเฉพาะมอญและกะเหรี่ยงในชุมชนเมืองในพื้นที่ปากแม่น้ำอระวดี สะโตงและสาละวิน บ้างยังใช้ภาษาเดิมได้และมีเป็นจำนวนมากที่พุดภาษาพม่าได้เพียงภาษาเดียว มีทั้งที่รุ้และไม่รู้เชื้อสายเดิมของตน นอกจากนี้ ยังพบว่าบางภาษาในประเทศพม่าเป็นภาษาที่มีลักษณะ "ลูกผสม" อย่างภาษากะเหรี่ยง จนยากที่จะกำหนดชัดว่าเป็นภาษากลุ่มใดดังนั้นภาษาจึงมิอาจนำมาพิสูจน์เชื่อสายของกลุ่มชนเหรือบุคคลได้ นั่นคือภาษาหาได้ผูกติดกับเชื้อชาติไม่
             จะเห็นได้ว่าแม้ภาษาจะเป็นระบบสื่อสัญลักษณ์อันซับซ้อนที่อยุ่คู่กับมนุษย์ก็ตาม แต่ภาาก็มิได้ผูกติดอยู่กับสายเลือด การหลงเข้าใจไปว่าภาษาบ่งบอกถึงเชื้อชาติได้นั้น ย่อมผิดจากข้อเท็จจริง เพราะไม่มีชนชาติใดอยุ่อยางโดดเดี่ยว และภาษาของกลุ่มชนหนึ่งๆ ก็ย่อมผันแปรไปตามสภาวะแวดล้อม ไม่หยุดนิ่งดุจแช่เเข็ง  ดังนั้นชนชาติต่างๆ ที่ร่วมเชื้อสายทางภาาากับพม่าดังกล่าวมา จึงย่อมมีข้อแตกต่างทางภาษามากหรือน้อยขึ้นอยูกับระดับความสัมพันธ์ระหว่งชสชาติ หาได้สืบทอดทางพันธุกรรม ข้อมูลทงภาษาจึงมิอาจสนับสนุนเรื่องเชื้อชาติให้เป็นจริงขึ้นมาได้
            ความรู้เกี่ยวกับเชื้อสายภาาาพม่าในทางภาษาศาตร์ข้างต้นนั้น ึงเพียงช่วยให้ทราบเครือข่ายภาษาพม่าอย่างเป็นระบบ และให้มองเห้นภาษาในฐานะเครื่องบ่งชี้ทางวัฒนธรรม (วิถีชีวิต) อย่างกนึ่ง ่วนเชื้อชาตินันอาจเป้นเพียงคำที่ถูกหยิบขึ้นมาเพื่อกำหนด สิ่งที่ไม่มีอยู่จริง และยากที่จะพิสูจน์ให้เห็น..www.gotoknow.org/posts/15542
            ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในประเทศพม่าปัจจุบัน ซึ่งมีตั้งแต่ได้รับเอกรชจากอังกฤษใน พ.ศ. 2491รัฐบาลกลางหลายชุดต่อกันมาได้สุ้รบกับกบฎเชื้อชาตและการเมืองไม่จบสิ้น หนึ่งนการก่อการกำเริบช่วงแรกๆ เป็นพวกนิยมซ้าย "หลายสี" ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวพม่า และโดยสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง กบฎเชื้อชาติอื่นปะทุขึ้นเฉพาะช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 หลังรัฐบาลกลาุงปฏิเสธรัฐบาลแบบสหพันธ์ อย่างไรก็ดี นับแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา การก่อการกำเริบด้วยอาวุธที่มีวัตถุประงค์ทางการเมืองค่อยๆ หมดไปเป็นส่วนใหญ่ แต่การก่อการกำเริบด้านเชื้อชาติยังคงอยุ่ และอยู่อย่างดี
            การก่อการกำเริบเหล่านี้ได้รับการสนับสนุนหรือถูกใช้โดยต่างชาติ ทำให้การปิดประเทสทรุดหนัก ความสงสัยและความกังวลในหมู่ชาวพม่าทั้งชนกลุ่มน้อยในประเทศและต่างประเทศ อังกฤษบ้างกลุ่มสนับสนุนกะเหรี่ยง ปากีสถานตะวันออก (บังกลาเทศปัจจุบัน) หนุนหลังมุสลิม โรฮีนจาตามแนวชายแดนกับการหนุนหลังของตะวันออกกลางอินเดียกล่าวกันว่าข้องเกี่ยวกับกะฉิ่นและกะเหรี่ยงจีนสนับสนุนพรรคคอมมิวนิสต์พม่า (ภายหลังคือพวกว้าป กบฎนากและกะฉิ่น สหรัฐอเมริกาสนับสนุนก๊กมินตั๋ง อลัำทยสนับสนุนกลุ่มกบฎหลายกลุ่ม โดยเป็นการสร้างรัฐหรือพ้นี่กันชนก่อนการหยุดยิง กองทัพที่มีชาวพม่าเป็นส่วนใหญ่ได้ดำเนินการทัพในฤดูแลงทุกปีแต่คว้าน้ำเหลวพวกกบฎจะกลับมาทุกครั้งเมื่อกองทัพถอนกำลังกลับไป
         
 รัฐบาลกลางที่พม่าครอบงำ (พลเรือนหรือคล้ายทหาร) ไม่สามารถบรลุความตกลงทางการเมืองได้แม้เป้าหมายของการก่อการกำเริบทางเชื้อชาติสำคัญส่วนมาก คื อการปกครองตนเองมิใช่การแยกตัวเอกเป็นเอกราช ปัจจุบัน รัฐบาลได้นามความตกลงหยุดยิงอย่างอึดอัดกับกลุ่มก่อการกำเริบส่วนใหญ่ แต่กองทัพยังไม่ได้รับความเชื่อใจจากประชากรท้องถิ่น กองทัพถูกกล่าวหาอย่างกว้งขวางว่าปฏิบัติต่อประชกรท้องถ่ินอย่างเลวร้ายแต่ไม่ถูกลงโทษ และถูกมองว่าเป็นกองกำลังยึดครองในภูมิภาคเชื้อชาติต่างๆ
          สมัยปัจจุบัน ความขัดแย้งนั้นเป็นไปเพื่อต่อต้านรัฐบาลทหารซึ่งปกครองประเทศตั้งแต่ พ.ศ. 2505 ถึง 2554 ความขัดแย้งนี้เป้นสงครามที่กำลังดำเนินอยู่เก่าแก่ที่สุดในโลก และได้รับความสนใจจากนานาชาติอันเป็นผลจากการก่อการกำเริบ 8888 ใน พ.ศ. 2531  งานของนักเคลื่อนไหว ออง ซาน ซุจี การประท้องต่อต้านรัฐบาลในปลาย พ.ศ. 2550 และความเสียหายอันเกิดขึ้นจากพายุไซโคลนนาร์กิส ซึ่งทำให้ผุ้เสียชีวิตกว่า 80,000 คน และสูญหายอี 50,000 คนในกลาง พ.ศ. 2551
            ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2555 รัฐบาลพม่าประกาศความตกลงหยุดยิงกับกบฎกะเหรียง การหยุดยิงรวมถึงคตวามตกลงซึ่งกำหนดการสื่อสารเปิดเผยระหว่างรัฐบาลกับกบฎกะเหรี่ยง เช่นเดียวกับเปิดช่องทางปลอดภัยแก่กบฎกะเหรี่ยงในประทเศ รัฐบาลพม่าไ้นิรโทษกรรมนักโทษ KNU กว่า 6,000 คน และลดโทษนักโทษอีก 38,964 คน
            ความตกลงสันติภาพระหว่าง KNU กับรัฐบาลพม่าเป็นหนึ่งในข้อเรีกร้องหลักโดยประเทศตะวันตกก่อนจะมีการยกเลิกการลงโทษทางเศราฐกิจ..th.wikipedia.org/wiki/ความขัดแย้งภายในพม่า
           
   

วันจันทร์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Shino-Tibet Languese : Tibeto-Burman languages

            ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นตระกูลย่อยของตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ใช้พุดในเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง พม่า ทิเบต ภาคหนือของไทย ภาคกลางของจีน ภาคเหนือของเนปาล ภูฎาน อินเดีย และปากีสถาน ภาษากลุ่มนี้มี 350 ภาษาพม่ามีผู้พูดมากที่สุด (ประมาณ 32 ล้านคน) มีผู้พูดภาษาทิเบตทุกสำเนียงอีกราว 8 ล้านคน นักภาษาศาสตร์บางคคเสนอให้จัดตระกูลทิเบต-พม่าเป็นตระกูลใหญ่ และให้กลุ่มภาษาจีนเป็นกลุ่มย่อยแทน..
            - ภาษาพม่า เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยุ่ในตระกูลภาษาโดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่าและเป็นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และประเทศอินเดีย ประเทศบังคลาเทศ และสหรัฐอเมริกา ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกูลอักษรพรามมี
             ภาษาถิ่นและสำเนียง ภาษาพม่ามาตรฐานคือสำเนียงย่างกุ้ง ภาษาถิ่นในพม่าภาคเหนือและภาคใต้จะต่างจากภาษากลาง ภาษาถิ่นในเขตยะไข่หรือารกั ยังมีเสียง/ร/ แต่สำเนียงย่างกุ้งออกเสียงเป็น /ย/ ภาษาพม่าแบ่งอย่างกว้างๆ ได้ 2 ระดับ คือระดับทางการใช้งานวรรณคดี งานราชการและวิทยุกระจายเสียงระดับไม่เป็นทางการใช้ภายในครอบครัวและเพื่อ พระภิกษุชาวพม่ามักพุดกันเองด้วยภาษาบาลีซึ่งได้รับอิทธพิบจากพุทธศาสนา
             ภาษาพม่าไม่มีระบบการถอดเป็นอักษรโรมันที่แน่นอน คำหลายคำสะกดต่างจากที่ออกเสียง เช่น คำว่า พระพุทธเจ้า ออกเสียงว่า pha-ya แต่เขียนว่า bu-ya การถอดภาษาพม่าเป็นอักษรโรมันจึงทำได้ยากแต่พอจะใช้การถอดเป็นอักษรโรมันของภาษาบาลีมาเทียบเคียงได้ หรือบางที่อาจใช้ระบบ MLCTS
            การเรียงคำเป็นแบบ ประธาน-กรรม-กริยา ยกเว้นคำว่า ga (เป็น) ซึ่งจะวางต่อจากประธาน คำสรรพนามเปลี่ยนตามเพศและสภานะของผุ้ฟัง เป็นภาษาพยางค์เดียว แต่มีรากศัพท์และการเติมคำอุปสรรค การเรียงคำในประโยคไม่มีบุพบท สันธานแต่ใช้การเติมปัจจัย
            คำคุณศัพท์ มาก่อนคำนาม เช่น chuo-de- lu (สวยงาม+ de+คน= คนสวย) หรือตามหลังนาม เช่น lu chuo (คนสวย) การเปรียบเทียบใช้คำอุปสรรค a- คำคุณศัพท์-ปัจจัย zon คำคุณศัพท์บอกจำนวน ตามหลังคำนาม
             รากศัพท์ของคำกริยามักเติมปัจจัยอย่งน้อย 1 ตัว เพื่อบอกกาล ความสุภาพ รูปแบบกริยา เป็นต้น ไม่มีการใช้คำสันธาน รูปกริยาไม่เปลี่ยนตามบุคคล จำนวน หรือเพศของประธาน ตัวอย่างเช่น คำกริยา sa (กิน) เป็น
           sá-dè = กิน ปัจจัย dè ใช้แสดงปัจจัุบันกาล หรือใช้เน้นย้ำ เป็นต้น
     คำนามภาษาพม่าทำให้เป็นพหูพจน์โดยเติมปัจจัย dei (หรือ tei ถ้ามีเสียงตัวสะกอ) กาจใช้ปัจจัย myà ทีแปลว่ามากได้ด้วย ตัวอย่งเช่น nwá = วัว nwá- dei = วัวหลายตัว จะไม่ใช้ปัจจัยแสดงพหูพจน์เมื่อีการแสดงการนับคำนาม เช่น เด็กห้าคน ใช้คำว่า kelei (เด็ก) ngá (5) yauk (คน)
     ภาษาพม่ามีลักษณะนามเช่นเดียวกับภาษาจีน ภาษาไทย และภาษามลายู คำลักษณะนามที่ใช้ทั่วไปได้แก่
   
 ba ใช้กับคน (เฉพาะพระสงฆ์และแม่ชีป
      hli ใช้กับสิ่งของเป็นชิ้น เช่น ขนมปัง
      kaung ใช้กับสัตว์
      ku ใช้กับสิ่งไม่มีชีวิตโดยทั่วไป เป็นต้น
    คำสรรพนาม ที่เป็นรูปประธานฝช้ขึ้นต้นประโยค รูปกรรมจะมีปัจจัย-go ต่อท้าย ตัวอย่งเช่น ฉันเป็นทางการ ผุ้ชายใช้ kyaw-naw ผู้หญิงใช้ kyaw-mya ไม่เป็นทางการใช้ nga พูดับพระสงฆ์ใช้ da-ga หรือ da-be-daw (หมายถึง นักเรียน) เป็นต้น
    คำศัพท์ส่วนใหญ่มาจากภาษาตระกูลทิเบต -พม่า ศัพท์เกี่ยวกับศาสนา การศึกษา ปรัชญา รัฐบาลและศิลปะ ได้มาจากภาษาบาลีเป็นส่วนใหญ่ คำยืมจากภาาาอังกฤษมักเกี่ยวกับธุรกิจหรือการปกครองสมัยใหม่ คำยืมจากภาษาฮินดีมักเกี่ยวกับอาหารและการปรุงอาหาร..
    - th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า

           

วันอาทิตย์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Shino-Tibet Languese : Tibean languages

            กลุ่มภาษาทิเบต เป็นกลุ่มย่อยของภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจกันไ้ ของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่พุดโดยชาวทิเบตที่อยู่ในบริเวณเอเชียกลางติดต่อกับเอเชียใต้ ได้แก่ ที่ราบสูงทิเบต ภาคเหนือของอินเดีย ในบัลติสถาน ลาดัก เนปาล สิกขิม และภูฎาน ส่วนใหญ่ใช้ในการเขียนงานทางศาสนาโดยเฉพาะศาสนาพุทธ
           ด้วยเหตุผลทางการเมือง สำเนียงของภาษาทิเบตกลาง (รวมท้้งลาซา) คามและอันโดนในจีน ถือเป็นภาษาทิเบตเพียงภาษาเดียว ในขณะที่ภาษาซองคา ภาษสิกขอม ภาษาเศราปาและภาษาลาตัก ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก แม้ว่าผุ้พูดภาษาดังกล่าวจะถือตนว่าเป้นชาวทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงลาซามากกว่าสำเนียงคามและอัมโด
            มีผู้พูดกลุ่มภาษาทิเบตทั้งหมดราว 6 ล้านคน ภาษาทิเบตสำเนียงลซามีผุ้พุดประมาณ 150,000 คนที่เป็นผู้ลี้ภัยในอินเดียและประเทศอื่นๆ ภาษาทิเบตใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยในทิเบตที่อยู่ใกล้เคียงกับชาวทิเบตมากกว่าศตวรรษ แต่ไม่สามารถรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้ ชาวเกวียงในคามนั้น รัฐบาลจีนจัดให้เป็นชาวทิเบตแต่ภาษาเกวียงอิกไม่ใช่กลุ่มภาษาทิเบต แม้จะอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
         
 - กลุ่มภาษาทิเบต-การเนารี หรือกลุ่มภาษาโบดิช-หิมาลัย เป็นการจัดจำแนกในระดับกลางของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มภาษาทิเบตและภาษากาเนารี แตกต่างกันไปตามความเห็นของนักภาษาศาสตร์แต่ละคน
             เบเนดิคช์ เป้ฯคนแรกที่เสนอการจัดตั้งกลุ่มภาษานี้ แต่ได้ขยายขอบเขตของกลุ่มภาษาหิมาลัยให้รวมไปถึง ภาษาเกวียงอิก ภาษามาการิก และภาษาเลปชา
             แวน เดรียม เสนอว่า กลุ่มภาษาหิมาลัยตะวันออก กลุ่มภาษาโบดิชและกลุ่มภาาตามังอิก มีจุดกำเนิดร่วมกัน แสดงให้เห็นความแตกต่างในด้านของคำและจัดให้เกลุ่มภาษาหิมาลัยตะวันตกและกลุ่มภาษาตามังอิกอยู่ในกลุ่มภาษาโบิช ทำให้เกิดกลุ่มภาษาทิเบต-กาเนารีขึ้น มาทิซอฟฟ์ รวมกลุ่มภาษาโบด กลุ่มภาษาหิมาลัยตะวันตกและภาษาเลปชา เป็นอีกกลุ่มหนึ่ง
            - ภาษาซันเดียล มีผู้พูด 2,000 คน จากชาวซันเดียลทั้งหมด 10,000 คน ชาวซันเดตียลอาศัยในต. ปักลุงและเมียกดีในเนปาล เป็นภาษาในกลุ่มตามันคิก เช่นเดียวกับภาษาคูรุง ภาษาทากาลี ภาษามานังบา ภาษานรพูและภาษาตามัง ที่เป็นกลุ่มย่อยของในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า มีรากศัพท์และไวยากรณ์ใกล้เคียงกับภาษาทากลี
            - ภาษาทิเบตกลาง เป็นสำเนียงของภาษาทิเบต โดยเป็นกลุ่มของสำเนียงมีวรรณยุกต์ของภาษากลุ่มทิเบต ที่ไม่ใช่สำเนียงคาม การแบ่งแยกของภาษากลุ่มนี้ตาม Bradley(1997) ได้แก่ กลุ่มตะวันตก ได้แก่สำเนียงของลาดัก และแซนการ์ตอนบน ซึ่งอยุ่ตามแนวชายแดนด้านตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย และโธลิงซึ่งอยู่ทางตะวันตกสุดของทิเบต, ดบุส-อู พบในบริเวณงานีทางทิเบตตะวันตก ชายแดนด้านเหนือของเนปาล จังหวัดจั้ง และจังหวัดดอ เป็นพื้นฐานของภาษาทิเบตมาตรฐาน, กลุ่มเหนือพบทางตอนกลางค่อนไปทางเหนือของทิเบต และทางใต้ของมณฑลชิงไห่, กลุ่มใต้ ได้แก่สำเนียงทางใตของจังหวัดจัง สำเนียงที่พบในิกขอมและภูฎาน
              ภาษาทิเบตกลางตอนใต้ บางครั้งแยกเป้นสาขาใต้ของภาษากลุ่มทิเบต หรือเปนภาษาโบดชใต้ เนื่องจากภาษาในกลุ่มนี้มัพบตามแนวชายแดน จึงมักจะถูกกำนดให้ป็นภาษาใหม่ ในขณะที่สำเนียงอื่นไม่ถูกกำหนด เช่น ภาษาซองคา ของภูฎาน ภาษาเศรปา ในเนปาล และภาษาสิกขอมในอินเดีย
           
 - ภาษาซองคา เป็นภาษาประจำชาติของภูฎาน อยุ่ในตระกูลจีน-ทิเบต สาขาทิเบต-พม่า ใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสมัยใหม่เที่ยงได้กับความแตกต่างระหว่างภาษาสเปนกับภาษาอิตาลี พระในทิเบตและภูฎาน เรียนภาษาทิเบตโบราณเพื่อการอ่านคัมภีร์พุทธศาสรา คำว่าซองคาหมายถึง ภาษา (คา) ที่พูดในวัดที่มีลักษณะเป็นป้อมปราการ (ซอง) ภาษานี้แพร่เข้ามาในภูำานเมือราว พ.ศ. 2200 โดย ซับดรุง งาวัง นัมกเยล
               ภาษาซองคาและภาษาถิ่นอื่นๆ เป็นภาษาแม่ของภูฎานตะวันตก มีผู้พูดภาษานี้ในเมืองกาลิมปงของอินเดียที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของภูฎาน แต่ปัจจุบันอยุ่ในรัฐเบงกอลตะวันตก ภาษาซองคาเป้ฯภาษาที่ใช้ในดรงเรียน เป้นภาษากลางในภูฎานตอนใต้และตะวันออกที่ไม่ได้ใช้ภาษนี้เป็นภาษาแม่ เชียนด้วยอักษรทิเบต หนังสือพิมพ์ด้วยอักษรทิเบตแบบอุคันซึ่งเป็นแบบเดียวที่ใช้พิมพ์ภาษาทิเบต
              - ภาษานัรพู เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ใช้พุดในหมุ่บ้านนัรและหมู่บ้านพูในหุบเขานัรโพลา ตำบลมานัง ประเทศเนปาล
              - ภาษาเศรปา หรือภาษาเศรปา ภาษาชาร์ปา ภาษาชาร์ปา โภเตีย ภาษาเว๊ยเออร์บา ภาษาเซอร์วา เป็นภาษาที่ใช้พูดในบางส่วนของเนปาล โดยเฉพาะในชุมชนชาวเศรปา อยุ่ในเนปาล 130,000 คน ( ปี 2544) อยุ่ในอินเดีย 20,000 คน ( ปี 2540) อยู่ในทิเบต 800 คน (ปี 2537)
               ไวยากรณ์ ลักษณะทางไวยากรณ์ของภาษาเศรปา ได้แก่ ไม่มีการผันคำนาม คำขยายตามหลังคำนาม มีลักษณนามที่ตามหลังนาม คำขยายกริยาตามหลังกริยา ใช้ปรบทซึ่งจะมาก่อนนามวลี เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา

                    - http://th.unionpedia.org ค้นหา "กลุ่มภาษาทิเบต"
         

วันเสาร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Shino-Tibet Languese : Hànyǔ II

           ภาษาหมิ่น เป็นหนึ่งในภาาาของตระกูลภาษาจีน พูดทางตะวันออกเฉียงใต้ ของมณฑลผู่เจี้นย และผู้ที่อพยพไปมณฑลกวางตุ้ง หูหนาน และไต้หวัน แบ่งย่อยได้เป็น ภาษาหมิ่นเหนือ (Min Bei) ภาษาหมิ่นใต้หรือภาษาฮกเกี้ยน (Min nan) และสำเนียงอื่นๆ เป็นภาษาหลักของชาวจีน ในฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย
            ภาษาจีนหมิ่นมีความหลากหลายของสำเนียงมากกว่าสำเนียงอื่นๆ ของภาษาจีน ซึ่งเปบ่งตามความสามารถในการเข้าใจกันได้เป็น 5-9 ภาษา เช่นภาษาหมิ่นต้ง (หมิ่นตะวันออก) ภาษาหมิ่นบนแผ่นดินใหญ่ เช่น ภาษาหมิ่นเชาเจียง ภาษาหมิ่นเป่ย ภาาาหมิ่นจ้ง และกลุ่มภาษาหมิ่รตามแนวชายฝั่ง ได้แก่ ภาษาหมิ่นต้ง ภาษาหมิ่นผูเซียน ภาษาหมิ่นหนาน และภาษาซยงเหวิน ภาษาหมิ่นเชาเจียงอาจแยกเป็นหลุ่มย่อยต่างหากภายในภาษาจีนหม่ิน เพราะเป็นภาษาที่แตกออกไปเป็นภาษาแรก
           ภาษาหมิ่นต้งเป็นภาษาที่มีศูนย์กลางที่เมืองฝูเจี้นน และทางตะวันออกของมณฑลกวางตุ้ง ภาษาหมิ่นผูเซียนแต่เดิมเป็นสำเนียงของภาษาหมิ่นหนาน แต่ได้รับอิทธิพลจากภาษาหม่ินตั้งนำเนียงฝูโจว สำเนียงซยงเหวินที่ใช้พูดในเกาะไหหลำซึ่งบางครั้งจะแยกเป็นภาษาต่างหากแต่เดิมเป็นสำเนียงของภาษาหมิ่นหนาน แต่ต่อมามีลักษณะทางสัทวิทยาเปลี่ยไปมากขึ้น
          ภาษาหมิ่นนานยังเรียกตามสถานที่ที่ภาษานั้นใช้พูด เช่น ภาษาไต้หวัน สำเนียงงอมมอยแห่งเซี่ยเหมินเป็นสำเนียงของภาษาหมิ่นหนานที่ใช้พูดทั้งในจีนแผ่นดินใหญ่และไต้หวันสำเนียงแต้จิ้วกลายเป็นสำเนียงที่สำคัญอีกสำเนียงหนึ่ง
          Glossika ได้แบ่งภาษาจีนเหมิ่นออกเป็น 8 สำเนียง คือ ภาษาหมิ่นเหนือหรือหม่ินเปยในเขตหนานผิงของผูเจี้ยนแต่สำเนียงเจียนโอวเป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาหมิ่นเป่ย ภาาาหมิ่นเชาเจียงในบริวเณหนานผิงตะวันออกและใกล้เคียง ถ้าเปบ่งอย่างกว้างจะนับเป้นสำเนียงของภาษาหมิ่นเป่ย ภาษาหมิ่นตะวันออก หรือหมิ่นต้งในฝูโจวและนิงเต ภาษหมิ่นกลางหรือหมิ่นจ้งในเขตซานมิง ภาษาหมิ่นผูเชซียนในเขนผูเซียน ภาษาหมิ่นใต้หรือหมิ่นหนานในจ้างโจว ชวานโจวและเซี่ยนเหมิน รวมทั้งบนเกาะไต้หวัน (สำเนียงฮกเกี้ยน) และทางตะวันออกของกวางตุ้ง (สำเนียงแต้จิ๋วป บางครั้งจัดให้สำเนียงฮกเกี้ยนและแต้จิ๋วเป็นภาษาต่างกาห ภาษาเหล่ยบดจวบนคาบสมุทรเหล่ยดจตงวมณฑลกว่างตุ้ง และภาษาไหหลำบนเกาะไหหลำ ถ้าแบ่งอย่างกวางจะรวมภาษาเหล่ยโจวกับภาาาไหหลำเป็นภาาาเดียวกัน หรือเป็นสำเนียงของภาษาหมิ่นใต้ ภาษาหมิ่นใต้ในกวางตุ้งเรียกฮกโล ในไหหลำเรียกซยกเหวินหรือซยงโจว ฮวา ภาษาหม่ินใต้เป้นสำเนียงที่โดดเด่นของชาวจีนในฟิลิปปินส์ที่รู้จักกันในชื่อภาษาลันนัง ในไต้ไวัน ภาษาหิม่ินได้เรียกกว่าเฮอเล่อโดย ซึ่งใช้พุดเป็นภาษาของประชากรส่วนใหญ่ ภาษาหมิ่นหนานจะถูกเรียกว่า ภาษาจีนฮกเกี้ยนในสิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และประเทอื่นๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะสำเนียงแต้จิ๋ว
            ยังเป็นที่โต้แย้งนบรรดานักประวัติศาสตร์ว่าภาษาจีนหมิ่นเกิดขึ้นเมื่อใด แต่ได้มีการอธิบายการอพยพหลายครั้งที่ส่งผลต่อภาษาจีนหม่ิน ได้แก่
            ใน พ.ศ. 851 มีการอพยพครั้งใหญ่จากเหนือสู่ใต้เนื่องจากการลุกฮือวูฮู และเป้นการนำภาษาจีนที่ใช้พุดในสมัยราชวงศ์ฉินสู่ผูเจี้ยน
            ใน พ.ศ. 1212 เฉินเจิงและบุตรชายคือ เฉิ่น ยวังอวังจากเขตกูวชือในเหอหนานได้สร้างเขตปกครองในฝูเจี้ยนและได้ปกครองพื้นที่ชวานโจและจ้างโจวเป็นเวลาสี่ชั่วคน และำด้นำภาษาจีนที่พูในสมัยต้นราชวงศ์ถังเข้า 
            ในสมัยราชวงศ์ถังได้มีการนำระบบสระเบบเชียยุนเข้ามาใช้ในภาษาจีนหมิ่น
             เมื่อสิ้นุดราชวงศ์ถังใน พ.ศ. 1435 วังเชาได้ก่อตั้งอาณาจักรหมิ่นใน พ.ศ. 1452 ในฝูเจี้ยน อาณาจักรหมิ่นนี้เป็นหนึ่งในสิบอาณาจักรในสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร วังเขาและวัง เชินจือมาจากกูชื่อในเหอหนานและได้นำภาษาจีนยุคปลายราชวงศ์ถังเข้ามาในฝูเจี้ยน
            ระบบการเขียน เมื่อมีการใช้อักษรจีนเขียนภาษาที่ไม่ใช่ภาษาจีนกลางจะใช้ตัวอักษรที่มีความเกี่ยวข้องกับภาษาที่ใช้และประดิษฐือักษรใหม่สำหรับคำที่ไม่มีในภาษาดั้งเดิม ในางกรณีมีการออกเสียงต่างไป หรืออาจจะมีความหมายต่างไป ซึ่งการเขียนภาษาจีนกวางตุ้ง ได้ใช้การเขียนในลักษณะนี้ ในที่สุด การเขียนแบบนี้จะไม่เป็นที่เข้าใจสำหรับผู้พุดภาษาจีนกลาง เพราะมีการเปลี่ยนแปลงของไวยกรณ์ คำศัพท์ และใช้ตัวอักษรที่ไม่มีในภาษาจีนกลางจำนวนมาก
           ภาษหมิ่นได้พัฒนาด้วยระบบนี้เช่นกัน แต่ไม่มีระบบมาตฐานสำหรับภาษาหมิ่น แม้จะมีการออกแบบอักษณเฉพาะ ซึ่งจะมีคำยืมจากภาษาอื่นๆ ที่ไม่ใช้ภาษาจีน เช่น คำในภาษาท้องถ่ินของในเหาะไต้หวัน ที่มีในภาษาไต้หวันรวมทั้งคำขืมจากภาษาญี่ปุ่น ในสิงคโปร์ มาเลเซีย ภาษาจ่ินหม่ินจะมีคำยืมจากภาษามลายู ภาษาอังกฤษ และอื่นๆ การเขียนภาษาหม่ินด้วยอักษรจีนล้วนๆ จึงไม่แสดงการพุดภาษาหมิ่นจริงๆ แต่จะป็นรูปแบบของภาษาจีนกลางอยู่มาก 
ภาษาเซียง
         มีความพยายามใช้อักษรสะตินในการเขียนภาษาหมิ่น บางกลุ่มใช้อักษรละตินแบบที่ใช้ดดยมิชชันนารีหรือเจียวฮุย ลัวมาจือ สำหรับภาษาหมิ่นใต้ จะใช้ระบบการเขียนด้วยอักษรละตินที่เรียก เปะอั่วจี และระบบสำหรับภาษาหมิ่นตะวันออกที่เรียก ปั้งอั๋วเส ทั้งสองระบบคิดค้นดดยมิชชันนารีชาวต่างชาติในพุทธศตวรรษที่ 24 มีการเขียนแบบไม่เป็นทางการที่ใช้อักษรจีนควบคู่กับอักษรละตินสำหรับคำที่ไม่มีอักษรจีนกำกับ
ภาษาแคะ
           ภาษาไต้หวัน มักหมายถึง ภาาฮกเกี้ยน ภาษาซึ่งใช้่โดยราว ๆ ร้อยละเจ็ดสิบของประชากรในสาธารรัฐจีน และอาจหมายถึง ภาษาจีน ภาาทีใช้ทั่วไปในชีิวิตประจำวันของเกาะไต้หวัน, ภาษาหนึ่งภาษาใดในกลุ่มภาษาของเกาะไต้หวัน, ภาษาหนึงภาาาใดในกลุ่มภาาาฟอร์โมซา ซึ่งเป็นภาษาถ่ินในเกาะไต้หวัน
           ภาษาเซียง คือหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน มีผู้พุด 36 ล้านคนในมณฑลหูหนาน เสฉวน กวางสี และกว่างตุ้ง แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มคือภาาาเซียงโบราณ และภาาาเซียงสมัยใหม่ที่มีอิทธิพลในภาาจีนกลางมาก
ภาษากั้น
           การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ มีผู้พูดมากว่า 36 ล้านคนในจีน โดยเฉพาะทาตงตอนกลางและตะวันตกเฉียงใต้ของมณฑลหวางตุ้ง ส่วนใหญ่ถูกฮอบล้อมโดยผุ้พุดภาาาจีนกาง และติดต่อกับผู้พุดภาาาม้งทางตะวันตกเฉียงเหนือ สำเนียงแบ่ง เป็น 2 กลุ่มคือภาษาเซียงดบราณแฃละภาาาเซียงสมัียใหม่ ภาษาเซียงโบราณเป็นภาษาที่คงลักษณะของภาษาจีนยุคกล่างมีุ้พุดทางใต้สวนภาษาเซียงสมัยใหมใ่ ที่รับอิทธิพลจากภาษาจีนกลางมีผุ้พุดทางเหนือ
              ภาษาแคะ ภาษาขักกา หรือเค่อเจียฮว่า คือหนึ่งในภาาาของตระกูลกลุ่มภาษาจีนมีผู้พูด 34 ล้านคน เป้นภาษาของชาวฮั่น ที่มีพรรบพุรุษอยู่ในมณพลเหอหนานและศส่านซี ทางเหนือของจีนเมือหว่า 2,700 ปีที่แล้วต่อมาชาวแคะอพยพไปทางใต้เข้าสู่มลฑลกว่างตุ้งและฝูเจี้ยนและไปเป็นชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก
              กั้น คือหนึ่งในภษาของตระกูลกลุ่มภาษาจีน มีผุ้พุด 31 ล้านคนในมณฑลหูหนาน เสฉวน มณฑลหูหนาน และมณฑลเจียงซี แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ ภาษาเซียงโบราณ และภาษาเซียงสมัยใหม่ที่มีอิทธิพลในภาษาจีนกลางมาก

                  - th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต

วันศุกร์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Shino-Tibet Languese : Hànyǔ

            ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต เป็นตระกูลของภาษาที่รวมภาษาจีนและตระกูลที่รวมภาษาจีนและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า มีสมาชิกทั้งสิ้น 250 ภาษา ส่วนใหญ่เป็นภาษาเอเชียตะวันออกมีจำนวนผู้พูดเป็นอัดดัสองของโลกรองจากภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปี้ยน ภาษาในตระกูลนี้มีลักษณะร่วมกันคือมีเสียงวรรณยุกต์
             ภาษาจีน เป็นหนึ่งในตระกูลบภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วยใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่างๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเหนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก  ความต่างเหล่านนี้เที่ยได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาาากลุ่มโรมานซืเราอาจแบงภาษาพูดของจีนได้ 6-12 กลุ่ม ขึ้นอยุ่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป้นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง"
            ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด เสียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกล่าง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวันเป้นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤณษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทงการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกศ)
             นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาแต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่การเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพุดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และอักษณจีนตัวย่อ
           ภาษาจีนกลาง หรือที่เรียกในประเทศจีนว่า "ภาษาฮั่น" เป็นภาษาหลักของภาษาจีนและเป็นใน 6 ของภาษาราชการของสหประชาชาติ ในปัจจุบันมีผุ้ใช้มากว่า 800 ล้านคนทั่วโลก
             ขื่อภาษาจีนกลางเป็นคำที่คนไทยใช้เรียกภาษาหลักของจีน ซึ่งในประเทศจีนจะเรียกภาษนี้ว่า ฮ่นอวี่ แปลว่า ภาษาฮั่น อันเป็นภาษาของชาวฮั่น ที่เป้นคนส่วนใหญ่ของประเทศจีน ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า "Mandarin" ซึ่งมีรากจากคำในภาษาโปรตุเกส อันหมายถึง "ภาษาราชการ" ของเจ้าหน้าที่รคัฐของจีน
               ในวงแคบ คำว่า ภาษาจีนกลาง ใช้เรียก ผู่ทงฮั่ว และกั่วอวี่ ซึ่งเป้นภาษาพูดมาตฐานที่เกือบจะเหมือนกัน ซึงมีพื้นฐานมาจากภาษาพูดมาตรฐานที่เกือบจะเหมือนกัน ซึ่งมีพื้นฐานมาจากภาษาูดทีทช้กว้างขวาง คือ เปยฟางฮั่ว ซึ่งความหมายในวงแคบลนี้ คือความหมยที่ใช้ในบริบทนอกวิชาการ
             
ในวงกว้าง คำว่า ภาษาจีน ใช้เรียก เปยฟางฮั่ว ("ภาษาพูดทางเหนือ") ซึ่งเป้นประเภทที่ประกอบด้วยภาษาย่อยต่างๆ ของภาษาจีนที่ใช้ในทางตอนเหนือและตะวันตกเฉียงใต้ของจีนซึ่งความหมายนี้มักจะพบในบริบททางวิชาการ และจะใช้ความหมายนี้ในบทความนี้ โดยที่ผู้ตงฮั่วและกั้วอวี่ จะใช้ชื่อจีนเรียกรวมถึงใช้ "ภาษาจีนกลางมาตรฐาน" และ "ภาษาจีนมาตรฐาน" เรียก
                ภาษาประเภทเป่ยฟางฮั่วมีคนพูดมากกว่าภาษาอื่นๆ และเป่ยฟางฮั่วก็เป็นพื้นฐ,านของผู่ตงฮั่วและกั๋วอวี่ด้วย อย่างไรก็ดี เป็นที่น่าสังเกตว่า เปยฟางฮั่วครอบคลุมภาษาย่อยจำนวนมากที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ นอกจากนี้ แนวคิดเป่ยฟางฮั่วส่วนใหญ่ ไม่ใช้นอกวงการวิชาการเป็นคำที่ใช้อธิบยตัวเอง เมื่อให้อธิบายชนิดของภาษาพูดท่ใช้ คนจีนที่พุดชนิดของเปยฟางฮั่วจะอธิบายตามชนิดของภาษาจีนกลางที่พุด เป้นสวนหนึ่งของการระบุมณฑลที่อาศัยอยู่ อย่งไรก็ดี แทบจะไม่มีอะไรที่สามารถระบุได้โดยทั่วไป เกี่ยวกับแนวคิดของภาษาพูดทางเหนือ
               เหมือนกับภาษาอื่นๆ การจัดภาษาจีนกลางเป็นภาษาเดียวหรือเป็นภาษาย่อย ยังคงเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันอยู่
                ภาษาอู๋ เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาจีน ผุ้พูดสวนใหญอยู่ในมณฑลเจียงซี นครเซียงไฮ้ ทางใต้ของเจียงซู  และบางส่วนใน อันฮุย เจียงสีและฝูเจี้ยนมีผุ้พูด 87 ล้านคน (เมื่อปี พ.ศ. 2534) โครงสร้างประโยคส่วนใหญ่เป็นแบบ ประธาน-กรรม-กริยา โดยมีโครงสร้างประดยคเช่นนี้มากว่า ภาษาจีนกลาง และภาษาจีนกลางตุ้ง ภาาอู๋มีหลายสำเนียง ดดยสำเนียงที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือสำเนียงเซี่ยงไฮ้ หรือ ภาษาเซี่ยงไฺฮ้
                 จำนวนผู้พูดโดยเฉลี่ยของสำเนียงอู๋จะอ้างถึงสำเนียงของตนและเพ่ิมชื่อถิ่นที่อยู่ของตนเข้าไป คำท่ใช้เรียกภาาาอู่มีหลายคำ อาทิ ภาษาอู๋ ภาษาเซียงไฮ้ ภาษาอู่เยว่, ภาษาเจียงหนาน, ภาษาเจียงเจ๋อ
                 ภาษาอู๋ สมัยหม่เป้นภาษาที่ใช้ดดยชาวอู๋และชาวเยว๋ที่มีศูนย์กลางอยู่ทางใต้ของเจียงซูและทางเหนือของเจ๋อเจียง คำในภาษาญี่ปุ่นที่หมายถึงภาษาจีน การออกเสียงตัวคันจินี้มาจากบริเวณที่พุดภาษาอู๋ในปัจจุบัน
                 ภาษาอู่สืบทอดมาจากภาษาจีนยุคกลาง ภาษาอู๋จัดเป็นสำเนียงที่แยกตัวออกในช่วงต้นๆ และยังคงมีลัษณะของภาาาในยุคโบราอยู่มาก แต่ก็ได้รับอิทธิพลจากภาาาจีนเหนือหือแมนดารินระหว่างพัฒนาการ ซึ่งเป็นเพราะลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ใกล้เคียงกับภาคเหนือ และในบริเวณนี้เป้ฯพื้นที่ที่ได้รับการศึกษาสูง ระหว่างการลุกฮือของ อู๋ ฮู และหยนภัยของหยงเจี้ย ทำให้มีชาวจีนทางเหนือเข้ามตั้งหลักแหล่งมาก สวนใหญ่มาจากเจียงซู และซานตง มีส่วนน้อยมาจากที่ราบภาคกลาง ทไใ้เกดภาษาอู๋สมัยใหม่ขึ้น ในช่วงเวลาระหว่างราชวงศ์หมิง และยุคสาะารณรับตอนต้นเป็นช่วงลักษณะของภาาอู๋สมัยใหม่ได้ก่อตัวขึ้นมา สำเนียงซูโจวเป้นสำเนียงที่ได้รับอิทธิพลมากที่สุดและมัใช้อ้างอิงเป็นตัวอย่างของภาษาอู๋
               ในช่วงหลังจากกบฎไท่ผิง จนส้ินสุดราชวงศ์ชิง บริเวณที่พุดภาษาอู๋ถูกทำลายด้วยสงคราม เซี่ยงไฮ้เป็นบริเวณที่มีผู้อพยพจากส่วนอื่นๆ ที่ใช้ภาษาอู๋เข้ามามาก ทำให้มีผลต่อสำเนียงเซี่ยงไฮ้ เช่นมีการนำอิทธิพลของสำเนียงนิงโปเข้ามา และจากการเพ่ิมประชากรอย่างรวดเร็วทำให้กลายเป็นบริเวณที่เป็นศูนย์กลาง สำเนียงเซี่ยงไฮ้จึงมีความสำคัญมากว่าสำเนียงซูโจว
              หลังจากก่อตั้งสาธารณรับประชาชนจีน มีการสนับสนุนให้ใช้ภาษาจีนกลางอย่างมากในบริเวณที่ใช้ภาษาอู๋ ภาษาอู๋ไม่มีการใช้ในสื่อต่างๆ และโรงเรียร หน่วยงานทางราชกาต้องใช้ภาษจีนกลางด้วยอิทธิพลของผุ้อพยพเข้าที่ไม่ได้ใช้ภาาอู๋ การที่สื่อต่างๆ ใช้ภาษาจีนกลาง ทำให้เด็กที่เติบโตขึ้นมาคุ้นเคยกับภาษาจีนกลางมากกว่าภาษาอู๋ มีประชาชนจำนวนมากที่ต้องการอนุรัษ์ภาษานี้ มีรายการโทรทัศน์ที่ใช้ภาษาอู๋อีกคร้้งแต่ก็ยังมีขอบเขตจำกัด...
             ภาษาจีนกวางตุ้ง (ชาวจีนเรียกว่า เยฺว่) เปนหนึ่งในภาษาของตระกูลภาาจีน ผู้พูดสวนใหญ่อยู่ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวฒมณฑลแถบตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่มณฑลหวางตุ้ง เขตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเก๊า และยังใช้มากในหมู่ของชาวจีนแถบตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่มณฑลกวางตุ้ง เขชตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเก๊า และยังใช้มากในหมู่ของขาวจีนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับเหล่าชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโบกที่อพยพไปจากมณฑลกว่าตุ้งอีกด้วย โดยที่สำเนียงกวางเจาจัดเป็นสำเนียงกลางของภาษาจีนกวางตุ้ง มีผู้พุดทั่วโลกราวๆ 71 ล้านคน ซึ่งภาษากวางตุ้ง มีผู้พูดทั่วโลกราวๆ 71 ล้านคน ซึ่งภษากวางตุ้งจัดได้ว่าเป็นภาษาถิ่นอันดับหนึ่งของจีนที่คนพูดมากที่สุด และเป็นภาษาที่ใช้ทางการเป็นอันดับสอง รองลงมาจากภาษาจีนกลางที่เป็นภาษาราชการหลักของประเทศ
           ในยุคโบราณ เขตมณฑลหวางตุ้งปัจจุบันมีชาวฮั่นอาศัยอยุ่น้อย การอพยพเข้ามาของชาวฮั่นเริ่มขึ้นในสมัยราชวงศ์ฮั่น ภษาจีนของชาวฮั่นได้ผสมผสานเข้ากับภษาของชาวพื้นเมือง สมัยราชวงศ์สุ่ยภาคกลางของจีนเกิดสงครามบ่อย ชาวจีนฮั่นจำนวนมากจึงอพยพลงใต้ คาดว่าช่วงนี้เป็นช่วงที่ภาษาจีนกวางตุ้งเริ่มพัฒนาขึ้นมา ในสมัยราชวงศ์ถัง การอพยพของชาวจีนเข้าสู่กวางตุ้งยังคงเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีบางส่วนกระจายไปยังพื้นที่ใกล้เคียงคือมณฑลกวางสี ในยุคนี้ ภาษาจีนกวางตุ้งได้รับอิทธิพลจากภาษาจีนในภาคกลาง เริ่มมีการจัดมาตรฐาน แต่ในเวลาเดียวกันก็มีการพัฒนาคำศัพท์ และลักษณะเฉพาะของตนขึ้นมา
         
ในสมัยราชวงศ์ซ้อง หงวนและหมิง ภาษาจัีนกวางตุ้งเริ่มมีเอกลักษณ์ของตนที่ต่างจากภษาจนอื่นๆ ชัดเจนมากขึ้น ช่วงปลายสมัยราชวงศ์ชิง เมืองกวางโจว เป้ฯเมืองท่าที่ติดต่อกับต่างชาติ มีชาวต่างชาติ มีชาวต่างชาติเรียนภาษาจีนกวางตุ้ง และใช้ภาษาจีนกวางตุ้งในการค้าขาย
           ตั้งแต่ พ.ศ. 2492 เป็นต้นมาผู้พูดภาษาจีนกวางตุ้งส่วนใหญ่พูดภาษาจีนกลางด้วย โดยใช้ภาษาจีนกลางเป็นภาษาราชการและใช้ภาษาจีนกวางตุ้งเป็นภาษาในชีวิตประจำวัน ในฮ่องกงใช้ภาาจีนกวางตุ้งเป็นภาษาในภาพยนตร์และใช้ในการติดต่อธุรกิจกับชาวจีนโพ้นทะเล ปัจจุบันภาษานี้บังใช้ในการศึกษาและใช้กันในฮ่องกงและในหมุ่ชาวจีนโพ้นทะเล การแพร่หลายของส่อที่ใช้ภาษาจีนกวางตุ้งจากฮ่องกง ทำให้มีคำยืมจากภาษาจีนกวางตุ้งแพร่ไปสู่ภาาาจีนสำนเียงอื่นๆ ด้วย
           สำเนียงที่สำคัญมี 4 สำเนียงคือ สำเนียง Yuehai ใช้พุดในกวางโจว ฮ่องกง และมาเก๊า สำเนีงไถ่ซอน ใช้พุดในไชน่าทาวน์ในสหัฐก่อน พ.ศ. 2513 สำเนียง Gaoyan ใช้พุดใน Yanjiang และสำเนียง Guinan ใช้พุดในกวางสี โดยทั่วไป สำเนียงที่สำคัญที่สุดคื อสำเนียง Yuehai
            แม้ว่าภษาจีนกลางจะเป็นภาษามาตรฐานและเป็นภาษากลางในจีนและไต้หวัน ภาษาจีนกวางตุ้งยังคงเป็นภาษาหลักของชาวจีนโพ้นทะเลรวมทั้งในฮ่องกง ซึ่งเป็ฯเพราะว่าผุ้อพยพเหล่านี้ออกจากกวางตุ้งไปก่อนที่ภาษาจีนกลางจะเข้ามามีอิทธิพลหรือมิฉะนั้นก็เป็นเพราะในฮ่องกงมิได้ใช้ภาาจีนกลางอยางสมบูรณ์
            ภาษาจีนกวางตุ้งเป้นภาษาที่มีลักษณะอนุรักษนิยมมากกว่าภาษาจีนกลาง เช่นมีเสียงตัวสะกดมากกว่า แต่ภาษาจีนกวางตุ้งก็ไม่มีวรรณยุกต์บางเสียง และรวมบางเสียงเข้าด้วยกัน
            สำเนียงไถ่ซานที่ใช้พูดในสหรัฐปัจจุบันถือเป็นสำเนียวที่มีลักษณะอนุรักษนิยมมากว่าสำเนียงที่ใช้พุดในกวางโจวและฮ่องกง โดยยังคงรักษาคำที่ขึ้นต้นด้วยเสียง /n-/ ซึ่งผู้พูดภาษาจีนกวางตุ้งที่เกิดในฮ่องกงหลังสงครามดลกครั้งที่ 2 เปลี่ยนเป็นเสียง /l-/ และไม่มีคำที่ขึ้นต้นด้วยเสียง /ŋ-/ ตัวอย่างเช่น ngàuh nām เป็น àuh lām 
            ระบบเสียงของภาษาจีนกวางตุ้งต่างจากภาษาจีนกลางที่ใช้พยางค์ต่างกันเป็นส่วนใหญ่ ชุดของเสียงวรรณยุกต์ก็ต่างกัน ภาาาจีนกวางตุ้งีวรรณยุกต์ 6-7 เสียง มีความต่างของเสียงวรรณยุกต์ระหว่างคำเป็นและคำตาย ในขณะที่ภาษาจีนกลางมีวรรณยุกต์ 5 เสียง ภาษาจีนกวางตุ้งยังคงมีเสียงตัวสะกดหลายเสียง เช่น เดียวกับ ภาษา ฮากกา และภาษาจีนฮกเกี้ยน คือ /-m/, /-n/, /-ŋ/, /-p/, /-t/, /-k/ ส่วนภาษาจีนกลางมีเพียงเสียง /-n/, /-ŋ/ อย่างไรก็ตามระบบเสียงสระของภาษาจีนกลางมีลักณะอนุรักานิยมมากว่าดดยยังคงมีเสียงสระประสมบางเสียงที่หายไปแล้วในภาาาจีกวางตุ้ง..th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต
         

           

วันพฤหัสบดีที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Shino-Tibet Languese

              ตระกุลภาษาจีน-ทิเบต เป็นตระกูลของภาษาที่รวมภาษาจีนและตระกุลภาษาย่อยทิเบต-พม่า มี
สมาชิกทั้งสิ้น 250 ภาษา ส่วนใหญ่เป็นภาษาในเอเชียตะวันออกมีจำนวนผู้พูดเป็นอันดับสองของโลกตองจากภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ภาษาในตระกูลนี้มีลักษณะร่วมกันคือมีเสียงวรรณยุกต์
             การจำแนกของ เจมส์ มอทิซอฟฟ์ กลุ่มภาษาจีน ประกอบด้วย ภาษาจีนกลาง ภาษาหวู่ ภาษาเซี่ยงไฮ้ ภาษาจีนกวางตุ้ง ภาษาผิง ภาษาหมิ่น ภาษาไต้หวัน ภาษาเซียง ภาษาฮากกา ภาษากั้น
             กลุ่มทิเบต-พม่า กลุ่มภามารูปัน ได้แก่ กลุ่มกูกี-ฉิ่น-นาดา กลุ่มอเบอร์-มิรี-ดาปลา กลุ่มโบโร-กาโร, กลุ่มหิมาลัย ได้แก่ กลุ่มมหา-กิรันตรี (รวมภาษาเนวารี ภาษามาคัร และภาษาไร) กลุ่มทิเบต-กิเนารี (รวมภาษาทิเบต ภาษาเลปชาป, กลุ่มเกวียง, กลุ่มจิงโป-นุง-ลุย ได้แก่ภาาาจิงโป ภาษานุง ภาษาลัย, กลุ่มพม่า-โลโล-นาซี,ฅ กลุ่มภาษากะเหรี่ยง, กลุ่มบาอีก และยังมีการจำแนกในแบบอื่นอีก..
              สมมติฐานจีน-ทิเบต เหตุผลที่จัดภาษาจีนเข้าเป็นกลุ่มย่อยของตระกุลภาาายอยทิเบต-พม่า เพราะมีความสัมพันธ์กันระหว่างภาษาจีนกบภาษาทิเบต เช่น ลักษณะคุ่ขนานระหว่างภาษาจีนโดบราณกับภาษาทิเชตสมัยใหม่ และมีรากศัพท์ที่คล้ายคลึงกันอย่างไรก็ตามสมมติฐานนี้มีข้อโต้แย้งคือ ความชัดเจนของรากศัพท์คล้ายคลึงกันระหว่างภาษาจีนกับภาษากลุ่มทิเบตยังไม่ชัดเจนพอ และจากการสร้างภาษาทิเบต-พม่าดั้งเดิมโดยใช้ข้อมูลจากวรรณคดีภาษาทิเบตและพม่า และข้อมูลจากภาษาจิ่งโปและภาษาไมโซ พบว่าภาาาจีนมีลักษณะที่จะเป็นภาษาลูกหลานของภาษาทิเบต-พม่าดั้งเดิมน้อย สมมติฐานนี้จึงยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย
              กลุ่มภาษาจีน เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่างๆ ว่าเป็นภาษาเดียวโดยทั่วไปแล้วภาาาพุดในกลุ่มภาษาจีนเปนภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่อง เสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เที่ยบได้กับ ควมแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 -12 กลุ่มขึ้นอยุ่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป้ฯที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพุดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง"
           
ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพุดเป็นภาาาแม่มากที่สุดสำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาาาฮั่น ซึ่งยุ่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดารินเป็นภาาาทางการของสาธารณรัฐ ประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางกาของประเทศสิงคโปร์ (ร่วกับ ภาาา อังกฤษ ภาษามาลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วกั ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนหลางตุ้งเป้ฯภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส)
              นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ข้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และอักษรจีนตัวย่อ
              ภาษาพูดของจีน ทั้งภาษาและสำเนียงภาษจีนต่างกันในประเทศจีน โดยพิ้นฐาน เราอาจแบ่งกลุ่มภาษาจีนออกเป็น 7 กลุ่มใหญ่ๆ ตามจำนวนประชากรที่พูดได้ ดังนี้
              จีนกลาง หรือภาษาฮั่น หรือแมนดาริน หรือสำเนียงทางเหนือ, ง่อ ในมณฑลเจียงซู, กว้างตุ้ง, ฮกเกี่ยน ในมณฑลผูเจี้ยน หรือฮกเกี่้ยน, เชียง, แคะ หรือ ฮักกา, กั้น นอกจากนี้ นักภาษาศาสตร์ยังได้แบ่งกลุ่มภาาาจีนออกมาจากกลุ่มใหญ่ข้าบนอีก 3 ประเภท ได้แก่ จิ้น แยกมาจาก แมนดาริน, ฮุยแยกมาจาก อู๋ และผิง แยกมาจาก กวางตุ้ง
              กลุ่มภาษาทิเบต เป็นกลุ่มของภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่พูดดยชาวทิเบตที่อยู่ในบริเวณเอเชียกลางติดต่อกบเอเชียใต้ ได้แก่ ที่ราบสุงทิเบต ภาคเหนือของอินเดียวในบัลติสถาน ลาตัก เนปาล สิกขิม และภูฎาน ส่วนใหญ่ใช้ในการเขียนงานทางศาสนาโดยฌแพาะศาสนาพุทธ
              ด้วยเหตุผลทางกรเมือง สำเนียงของภาษาทิเบตกลาง (รวมทั้งลาซา) คาม และอัมโดในจีน ถือเป็นภาษาทิเบตเพียงภาษาเดียว ในขณะที่ภาษาซองคา ภาษาสิกขิม ภาษา ภาษาเศรปา และภาษาลาดัก ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก แม้ว่าผู้พูดภาษาดังกล่าวจะถือตนว่าเป้นชาวทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงลาซามากกว่าสำเนียงคามและอัมโด
           
  มีผู้พูดกลุ่มภาษาทิเบตทั้งหมดราว 6 ล้านคน ภาษาทิเบตสำเนียงลาามีผุ้พูดประมาณ 150,000 คนที่เป็นผู้ลี้ภัยในอินเดียและประเทศอื่นๆ ภาษาทิเบตใช้พุดโยชนกลุ่มน้อยในทิเบตที่อยู่ใกล้เคียงกับชาวทิเบตมากกว่า ศตวรรษ แต่ไม่สามารถรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้ ชาวเกวียงในคามนั้น รัฐบาลจีนจัดให้เป็นชาวทิเบตแต่ภาษาเกวียงอิกไม่ใช้กลุ่มภาษาทิเบต แม้จะอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
              ภาษาทิเบตคลาสสิก ไม่ใช้ภาษาที่ีมีวรรณยุกต์ แต่บางสำเนียง เช่น ทิเบตกลางและคาม ได้พัฒนาเสียงวรรณยุกต์ขึ้น ส่วนสำเนียงอัมโดและลาดัก และภาษาลบัลติไ่มีวรรณยุกต์ ลักษณะของภาษาทิเบตในปัจจุบันเป็นแบบรูปดำติดต่อแม้ว่าจะไม่พบลักษณะนี้ในภาษาทิเบตคลาสสิก
               การแบ่งตามวิธีของ Bradly ภาษาในกลุ่มนี้ ได้แก่ ภาษาลาดัก หรือภาษาทิเชตตะวันตกโบราณ รวมทั้งภาษาบัลติและภาษาปูริก ไม่มีวรรณยุกต์, กลุ่มภาษาทิเบตกลาง มีวรรณยุกต์, ภาษาทิเบตตะวันตกสมัยใหม่ พบในลาดักและบริเวณใกล้เคียง, ภาษาดบุส-อู พบใน งารี อู-จั้ง และแนวชายแดนทางด้านเหนือของเนปาล, ภาษาทิเบตเหนือ พบทางใต้ของมณฑลชิงไห่, ภาษาคาม มีวรรณยุกต์ ใช้พูดในมณฑลชิงไห่ คามโด เสฉวนและยูนนาน, ภาษาอัมโด ไมมีวรรณยุกต์ ใช้พูดในชิงไห่ กันซู และเสฉวน..
              ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นตระกูลย่อยของตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ใช้พูดในเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งพม่า ทิเบต ภาคเหนือของไทย ภาคกลางของจีน ภาคเหนือของเนปาล ภูฎาน อินเดีย และปากีสถาน
              ภาษากลุ่มนี้มี 350 ภาษา ภาษาพม่ามีผู้พูดมากที่สุด (ประมาณ 32 ล้านคน) มีผุ้พูดภาษาทิเบตทุกสำเสียงอีกราว 8 ล้านคน นักภาษาศาสตร์บางคนเช่น จอร์จ แวน เดรียม เสนอให้จัดตระกูลทิเบต-พม่าขึ้นเป็นตระกูลใหญ่ และให้กลุ่มภาษาจีนมาเป็นกลุ่มย่อยแทนแต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง... th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
           
             
           

วันพุธที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Languages and Cultures

           ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์อย่างยากที่จะแยกออกจากกัน ทั้งภาษาและวัฒนธรรมต่างก็มีทั้งลักษณะที่เป็นสากลและลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ นักวิชาการมีความเห็นตรงกันว่าลักษณะที่เป็นสากลของภาษาจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ์ทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย ส่วนลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์จะเป็นเรื่องของทางวัฒนธรรม ปัญฐหาของสภาวะต่างภาษาในการเข้าใจข้ามภาษาที่มักพบนั้น จะมีมากเท่าใดก็ขึ้นอยู่กับการมีสากลลักษณ์และเอกลักษณ์มากหรือน้อยเท่านั้น และสิ่งที่เป็นอุปสรรคอย่างยิ่งในการเข้าใจข้ามภาษาก็คือการปราศจากความรู้ในเรื่องประบททางวัฒนธรรม
         
ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันอย่างยากที่จะกล่าวถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยไม่พาดพิงเกี่ยวข้องกับอีกอย่างหนึค่งได้ หลายท่านถึงกับมีความเชื่อว่า ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน เสมือนกับเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน จนสามารถนิยามได้ด้วยหลัการเดียวกัน มีการศึกษาที่ยืนยัถึงความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เสมือนกับเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน จนสามารถนิยามได้ด้วยหลักการเดียวกัน มีการศึกษาที่ยืนยันถึงความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรมในศาสตร์จำนวนหนึ่ง อาทิ ภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์ ซึ้งมีความเช่อว่าภาษาเป้นสิ่งที่สะท้อนความนึกคิดและการมองโลกของเจ้าของภาษา หากมีการพิจารณาควรามหมายของศัพท์หวมดต่างๆ ในภาษาหนึ่งๆ แล้ว จะทำให้เรารู้และเข้าใจความนึกคิดและการมองโลกของชนที่พูดภาษานั้นได้ อาทิ คำเรียกญาติในภาษาต่างๆ จะทำให้เราเห็นค่านิยมหรือแนวความคิดที่แตกต่างกัน... อีกทั้งในแวดวงมานุษยวิทยาภาษาศาสตร์ ก็มีความเชื่อว่ากิจกรรมต่างๆ  ทางวัฒนธรรมจะสะท้อนออกมาทางภาษา และภาษาก็สามารถแสดงให้เห็นถึงคามคิดและวัฒนธรรมของมนุษย์ จึงเป็นการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันของภาาาและวัฒนธรรมนักวิชาการเหล่านี้สนใจศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างโลกทัศน์และลักษณะไวยากรณ์วัฒนธรรมและอรรถศสตร์การเปลี่นแปลงของภาษาและวัฒนธรรม เป็นต้น
           จากความเชื่อว่าภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันในลักษณะที่วัฒนธรรมมีอิทธิพลต่อโครงสร้างและการใช้ภาษาและได้มีการศึกษาและพยายามแสดงให้เห็นถึงปรากฎการณ์ในด้านต่างๆ มีภาษาสามารถสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมหนึ่งๆ ซึ่งไม่ว่าจะเป้นการแสดงออกทางด้านไวยากรณ์ ความหาย หรือการใช้ภาาาก็ตามดังที่ได้กล่าวไปกล้วนั้น ยังมีอีกประเด็นหนึ่งในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมที่เป้นที่สนใจของนักภาษาศาสตร์ และนักมานุษยวิทยาคือ ประเด็นที่ว่าลักษณะที่ภาษาสัมพันธ์กับวัฒนธรรมในด้านโครงสร้างต่างๆ ดังกล่าวนั้นเป็นเช่นเดียวกันในทุกภาษาหรือไม่และอย่างไร และหากมีความแตกต่างกันก็เชื่อได้ว่าประเด็นที่แตกต่างกันเอาจจะทำให้ป็นปัญหาในการติดต่อสื่อสารข้ามภาษาและวัฒนธรรม เนื่องจากการที่ภาาาสัมพันธ์กับวัฒนธรรมอย่างใกล้ชิดนั้น ทำให้การที่จะเข้าใจภาษาอื่นๆ จะพิจารณาเอาแต่ตัวภาษาอย่างเดียวไม่ได้จำต้องอาศัยความรู้ความมเข้าใจในวัฒนธรรมของผุ้ที่พุดภาษานั้นๆ ด้วย  ดังจะได้กล่าวถึงภายใต้หัวข้อความเป็นสากลและเอกลัษณ์ของภาษาและวัฒนธรรม และการสัมผัสภาษาตามลำดับต่อไป
             ภาษาและวัฒนธรรมต่างๆ ในโลกนั้นมีความเป็นสัมพันธภาพ ต่อกัน และเมื่อกฃ่วถึงสัมพันธภาพของภาษาและวัฒนธรรมต่างๆ ในโลกนั้นนักภาษาศาสตร์ นักมานุษยวิทยาและนักวัฒนธรรมศึกษามีประเด็นปัญหาที่เป้นความสนใจร่วมกันอยู่สองประเด็นหลักคือ "อะไรคือสากลลักษณ์หรือประสบการณ์ร่วมของมนุษย์ไม่ว่าจะพุดภาษาใดหรืออยู่ในชุมชนวัฒนธรรมใดก็ตามไ และ "อะไรคือความเป็นเอกลักษณ์หรือประสบการณ์เฉพาะของมนุษย์แต่ละภาษาแต่ละวัฒนธรรม"...
             ธรรมชาติทางชีวภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมของถ่ินที่อยุ่อาศัยที่คลายคลคึงกันดังที่ได้กล่าวานั้นเป็นสาเหตุของปรากฎการณืหนึ่งที่นักวิชการทางด้านวัฒนธรมศึกษาเรียกว่าการเหลื่อมซ้อนทางวัฒนธรรม ซึ่งเกิดขึ้นไม่มากก็นอย อีกรณีหนึ่งที่เป็นสาเหตุของการเหลือมซ้อนทางวัฒนธรรมคือการแพร่กระจายทางวัฒนะรรม ซึ่งจะไปทำให้ความเป็นเอกลักษณ์ทางภาษาและวัฒนธรรมที่รับการแพร่กระจายเข้าไปจากภาษาและวัฒนธรรมอื่นลดลง เช่น การที่ภาาาและวัฒนธรรมของคนที่พุดภาษาอังกฤษได้แพร่กระจายเข้าแทรกวัฒนธรรมของชนชาติอื่นๆ อย่างต่อเนื่องมาตลอดตั้งแต่สมัยอาณานิบคมนั้น ทำให้เอกลักษณ์ของความเป็นชนชาตินั้นๆ ลดน้อยถอยลงไปเรื่อยๆ ในขณะที่ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมที่มีต่อชนชาติที่พูดภาษาอังกฤษมีมากขึ้นเรื่อยๆ ดังน้นความสามารถในการเข้าใจข้ามภาษาจึงอาศัยปัจจัยทางสากลลัษณ์และความเหลื่อมซ้อนทางวัฒนธรรม ส่วนปัญหาหรืออุปสรรคในการเข้าใจข้ามภาษาก็จะเป็นเรื่องของความเป็นเอกลักษณ์ของภาษาและวัฒนะรรมนั้นๆ ดังจะได้กล่วต่อไป
            ปัญหาของสภาวะต่างภาษาต่างวัฒนธรรมเกิดจาการสัมผัสภาษา หมายถึงการที่ภาษาหนึ่งๆ เปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากเจ้าของภาษารับเอาลักษณะบางอย่างในระบบขชองภาษาอื่นมาใช้ ซึ่งก็ย่อมต้องกรับเอาวัมนธรรมบางอย่างของภาษาอื่นมาใช้ด้วยเช่นกันการศึกษาเรื่องการสัมผัสภาษาอาจครอบคลุมเรื่องเกี่ยวกับ การแพร่กระจายภาษา, การแปลภาษา, การยืมภาษา, การพูดภาาาต่างประเทศ,การพูดสองภาษา, การแทรกแซงภาษา, การสับเปลี่ยนสัญญาณหรือภาษา, ตลอดจนการปลูกฝังภาษาใหม่
           
ปัญหาจการสัมผัสภาษาที่เรามักประสบอยู่บ่อยๆ ในการใช้ภาษาในสภานการ์ต่างๆ คือ การแปลและการเข้าใชข้ามภาษา การยืมภาษาและการพูดหรือใช้ภาษาต่าง ประเทศโดยทั่วไป ซึ่งปัญหาเหล่นนี้จะมีความสำคัญหรือเป็นปัญหาใหญ่ หรือไม่ขึ้นอยุ่กับความมากน้อยในการเหลื่อมซ้อนทางวัฒนธรรมและความแตกต่างทางด้านความหายของสองภาษา ดังนี้
              - การแปลและการเข้าใจข้ามภาษา นำมาซึ่งความจำเป็นในการที่จะต้องเข้าใจข้ามภาษาและการแปล หล่าวคือ เมื่อภาษาตั้งแต่สองภาษามีการติดต่อและรับเอาลัาระบางอย่างของอีกระบบภาษาหนึ่งเข้ามา จะมีการเปลี่ยนแปลงในภาษานั้นๆ เกิดขึ้น ในบางครั้งการรับเอาระบบบางอย่างของภาษาอื่นมาใช้ทำให้เกิดปัญหาในการสื่อสารเนื่องจากมีวัฒนธรรมต่างกัน การรับคำหรือไวยากรณ์ของภาษาอื่นมาใช้ไม่สามารถทำได้โดยการแปลจากความหายของคำและความสัมพันะ์ของคำในประโยคเท่านั้น ยังต้องมีความรู้ในเรื่องของปริบทเชิงวัมนธรรมอีกด้วย ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว...
             กรอบความคิดที่องวัฒนธรรม ในเรื่องของการแปลในระดับคำนั้น ความคิดหรือคำศัพท์ท่จัดว่าเป็นสากลหรืออยู่ในสวนที่เหลื่อมซ้อนกันทางวัฒนธรรมและเป็นรูปธรรม เช่น ในภาษาไทยคำว่า พ่อ แม่ ต้นไม่ ฯลฯ จะไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการแปลมากนักหรือไม่เป็นปัญหาต่อการแปลเลยในขณะที่คำที่บ่งวัฒนธรรม เช่น รำวง เกรงใจ ขันหมาก ฯลฯ ที่ไม่มีคำใช้ในวัฒนะรรมภาษาอื่น เช่น ภาษาอังกฤษ ก็จะเป็นต้องแปลเป็นข้อความที่ยาวจึงจะได้ความหมายที่ใกล้เคียงกับความหมายเดิม..
              ยิ่งไปกว่านั้นคำที่เป็นปัญหาในการแปลบางคำยังเป็นคำที่ยากสไรับเจ้าของภาษาที่จะอธิบาย และกำหนดความหมายที่แน่นอนได้ด้วยภาษาเพียงอย่างเดียว จะต้องอาศยมโนทัศน์และการลงมือปฏิบัติด้วย เช่นในการอธิบายคำว่า นิพพาน  จะต้องมีความเข้าใจความหมายของพทุชธศาสนาดดยตลอด ซึ่งก็ได้มีการตีควมของคำว่า นิพพาน ต่างๆ กันไปในแต่ละพุทธนิกายและนักปราชญ์ทางศาสนาพุทธแต่ละท่านและมีข้อถกเถียงที่มไม่สามารถยุติได้ ซึ่งได้มีผู้กล่าวถึงปัญหาในการตีความของคำว่า นิพพาน ว่าเป็ฯปัญหาเรื่องความสับสนระหว่างมดนทัศน์กับการให้คึำนิยามด้วยภาษา ซึ่งมดนทัศน์ไม่สามารถสื่อได้ด้วยคำอธิบายหรือนิยามทางภาษาอันจะเป็นการจำกัดความหมายของคำว่า นิพพานความหมายจะรวมถึงสิ่งที่อยู่นอกเหนือโลกแห่งประสบการณ์ของมนุษย์ "ถ้าเราพยายามจะใช้ถอ้ยคำเพื่ออธิบายสิ่งใดก็ตามที่อยู่นอกปรสบการณ์ เราก็จำต้องดัดแปลงสิ่งนั้ั้นให้เขามาอยู่ในขอบเขตที่มนุษย์จะเข้าใจได้เสียก่อน โดยไม่คำนึงถึงความที่แท้จริงของมัน"...
              บทความนี้ได้เน้นให้เห็นว่าภาษาต่างๆ มีความเกี่ยวพันกับวัฒนธรรมของผุ้พุดาษานั้นๆ อย่าง ใกล้ชิด ในลักาณของการอ้างอิงซึ่งกันและกัน ภาาาเป็นเสมือกุยแจไขสู่วัฒนธรรมและในขณะเดียวกันภาษาจะเป็นที่เข้าใจอย่างแท้จริงลึกซึ้งมิได้ถ้าปราศจากความรุ้ในเรื่องปริบททางวัฒนธรรมดังนั้นภาษาและวัฒนธรรมควรมีการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน  การสอนภาษาต่างประเทศในดรงเรียนจึงเป็นการสอนวันธรรมของภาษาต่างประเทศนั้นๆ ไปในตัวในรูปของการเป็น "ภาษาแห่งวัฒนธรรม" มากกว่าที่จะเป็นภาษาโดยเอกเทศ ยิ่งไปกว่านั้น ยังมีคำกล่าวที่ว่าภาษาเป็นตัวบ่งบอกถึงวัฒนธรรมของผุ้พูด ังที่ วิลเฮม วอน ฮัมโบลดท์ กล่าวไว้ว่า "A language veils the world for the its speakers" ในกรณีที่มีการสัมผัสภาษาเกิดขึ้นนั้น สภาวะต่างภาษาต่างวัฒนธรรมจะก่อให้เิดปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใจข้ามภาษา ซึ่งไม่ได้เกิดจากความรู้ในตัวของภาษาแต่เพียงอย่างเดียวต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมของผู้พุดภาษานั้นๆ ด้วย ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจะมีมากหรือน้อยนั้นขึ้นอยุ่กับสากลลักษณ์แฃละเอกลักษณ์ของภาษาและวัฒนะรรมนั้น ซึ่งหากภาษาและวัฒนธรรมมีความเป็นสากลลักษณ์มากหรือมีความเป็นเอกลักษณ์น้อยเพียงใด ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใจข้ามภาษาและวัฒนธรรมก็มีมากน้อยเพียงนั้น..( บางส่วนจากบทความ "สากลลักษณ์และเอกลักษณ์ของภาษาและวัฒนธรรมสิ่งอำนวยและอุปสรรคในการสัมผัสภาษา". อัญชลี สิงห์น้อย)
             หากคนทั้งโลกพูดภาษาเดียวกันสื่อสารกันได้ทั่วทุกมุมโลก มีวัฒนธรรมเดียวกันเหมือนกันทุกประเทศ โลกนี้คงไม่มีสีสัน เพราะไม่มีคึวามแปลกแตกต่างอันใดที่น่าค้นหา แต่เพราะคนในโลกพูดกันคนละภาษา มีขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีที่แตกต่างกัน จึงทำให้โลกนี้น่าศึกษาน่าค้นหา ความแปลกแตกต่างกันนี้เองคือเสน่ห์อย่างหนึ่งของโลก หากคนพูดภาษาเดียวกัน ภาษานั้นควรจะเป็นภาษาอะไรหากทุกประเทศจะมีวัฒนธรรมร่วมกันวัฒนธรรมนั้นควรจะเป็นวัฒนธรรมอะไร
             คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย ได้จัดโครงการ "ส่งเสริมการอยุ่ร่วมกันในประชาคมอาเซียนอย่างชาญฉลาด" โดยเชิญคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัยทั้งส่วนกลางและวิทยาเขต มาร่วมสมัมนา เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของบุคคลากรให้สามารถดำรงอยู่ได้ในเวทีอาเซียนอย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ โดยเพิ่มทักษะการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียน รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ยอ่งเหมาะสม สถานที่จัดงานอยู่ที่อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม
           ...การรวมตัวของประเทศที่มีขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีที่แตกต่างกันนั้น จะหาความเป็นเอกภาพหรือความเป็นหนึ่งนั้นมิใช่เรื่องง่าย มีเพียงวัฒนธรรมประเพณีบางอย่างเท่านั้นที่เหมือนกันเช่นวันเปลี่ยนศักราชใหม่ซึ่งเปลี่ยนพร้อมกันทั่วโลก พอจะยึดถือวันขึ้นปีใหม่เป็นประเพณีประจำปีของอาเซียนได้ แต่บางประเพณีมีเพียงไม่กี่ประเทศเท่านั้นที่ยังถือปฏิบัติเช่นในเดือนเมษายน ประเทศไทยและลาวมีประเพณีวันสงกรานต์ แต่ชาติอื่นในอาเซียนอาจจะไม่เน้นในประเพณีนี้ จะหลอมรวมความเป้นหนึ่งได้อย่างไร
       
  ภาษาและวัฒนธรรม ในประเทศกลุ่มประชาคมอาเซียนมีวัฒนธรรมหลายกลุ่ม วิทยากรท่านหนึ่งได้จำแนกออกเป็นหกกกลุ่มคือ วัฒนธรรมพื้นบ้าน, วัฒนธรรมพราหมณ์-ฮินดู, วัฒนธรรมพุทธ, วัฒนธรรมอิสลาม, วัฒนธรรมคริสต์, วัฒนธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
           วัฒนธรรมที่เป้นสากลในอาเซียนส่วนหนึ่งมาจากศาสนา แต่ละศาสนาต่างก็มีอัตลักษณของตนเอง การที่จะให้คนทั้งสิบประเทศเหลี่ยนมนับถือศาสนาเดียวกันหมดคงเป็นไปได้ยาก เรื่องของความเชื่อนั้นบังคับกันไม่ได้ ... ทางออกที่ดีที่สุดคือต้องยอมรับในวัฒนธรรมของแต่ละประเทส ยอมรับในความแตกต่าง ใครมีความเชื่ออย่างไรก็ปฏิบัติตามหลักการที่ตนเคยปฏิบัติ เหมือนป่าไม้ใหญ่ ไม่ได้มีต้นไม้ชนิดเดียว แต่มีต้นไม้ หลายพันธุ์อยู่ด้วยกัน จึงเรียกว่าป่า หากใครคิดที่จะนำต้นไม้มาผูกรวมกันให้เป็นไม้ต้นเดียวกัน ไม่นานต้นไม้ก็จะงอกงามตามธรรมชาติไม่ได้.. ปรียบดังภาษาและวัฒนธรรม อาเซียนก็มีหลายภาษาหลายวัฒนธรรม แต่ละประเทสไม่รุกล้ำล่วงเกินวัฒฯธรรมของแต่ละชาติพันธุ์ ก็สามารถอยู่ร่วมกันได้ มีวัฒนธรรมอย่างหนึ่งที่เป้นวัฒนธรรมร่วมกันได้คือวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งทุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่งเท่าเียมกัน เป็นวัฒนธรรมร่วมของคนทั้งโลก
             ด้านภาาาในประชาคมอาเซียนก็มีภาษาหลายตระกูลเช่นภาษาตระกูลออสโตรเอเซียติก ภาษาตระกูลไท-กะได ภาษาตระกูลจีน-ทิเบตรวมถึง พม่า ภาษาตระกูลม้งเย้า ภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน ภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปี้น เป้ฯต้นแต่ละประเทศก็มีภาษาของตนเอง บางประเทศยังมีภาษาท้องถ่ินแยกย่อยออกไปอีกหลายสิบภาษา ดังนั้น ในการเข้าร่วมกลุ่มประชาคมอาเซียนจึงกำหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการสื่อสาร แต่ปัญหาก็เกิดขึ้นอีกว่าแล้วคนประเภทไหนที่จะใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารกันได้บ้าง
           ในส่วนของนักธุรกิจตอ้องสือสารกันได้อยู่แล้ว นักวิชากการพอจะอนุมานได้ว่าคงพอคุยกันรู้เรื่อง แต่สำหรับชาวบ้านจะติดต่อสื่อสารกันอย่างไร คในชนบทจะสื่อสารกับคนในประเทศอื่นรู้เรีองหรือไม่ ปัญหาด้านภาษาคงพอจะปรับเปลี่ยนแก้ไขกันได้เพียงบางส่วน แต่จะให้คนไทยพูดภาษาอังกฤษได้คล่องเหมือนกับคนในประเทศฟิลิปปินส์และสิงคโปร์คงต้องใช้เวลาอีกหลายปี
            แต่ทว่าภาษามิใช่สิ่งที่ปิดกั้นพรมแดนแห่งการติดต่อ เพราะภาษาเป็ฯส่วนหนึ่งของการสื่อสาร ผุ้ที่เรียนรู้ภาษาของอีกคนกลุ่มได้อาจจะได้เปรียบบ้าง แต่คงไม่มากนัก หากจะเรียนทุกภาษาในอาเซียนคงยาก ดังนั้นเรียนภาษาอังกฤษไว้บ้าง พอติดต่อสื่อสารกันได้บ้างก็น่าจะเพียงพอ
           เป็นที่น่าสังเกตว่าปัจุบัแม้ว่าประชาคมอาเซียนจะไม่เปิดอย่างเป็นทางการ แต่ในทางปฏิบัติบางพื้นที่ในประเทศไทย มีประชาคมอาเซียนอยางไม่เป้ฯทางการมานานแล้ว มีการอยุ่ร่วมกัน ทำงานร่วมกันมานานหลายปีแล้วเช่นที่มหาชัย สถานที่บางแห่งถึงกับต้องมีภาษาของหลายประเทศไว้เพื่อความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร
           หากใครผ่านไปที่มหาชัยเห้นภาษาเมียนมาร์ ภาษาลาว ภาษากัมพุชาติดประกาศตามสถานที่บางแห่งก็ไม่ต้องแปลกใจ เพราะที่เมืองนี้มีคนจากประเทศเพื่อนบ้านมาทำงานจำนวนมาก ดูเหมือนว่าเศราฐกิจของเมืองนี้ส่วนหนึ่งอยู่ที่คนงานจากต่างประเทศ หากคนงานเหล่านี้ประกาศอยุดงานพร้อมกัน เมื่องนี้ก็จะกลายเป้ฯอัมพาตไปทันที่ มหาชัยจึงน่าจะเป็นเมืองต้นแบบของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้...
            วันแรกของการสัมนาได้ฟังวิทยากรบรรยายสามเรื่องว่าด้วยภาษาและวัฒนธรมอาเซียน พระพุทธศาสนาในประชาคมอาเซียนกระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 11 การสัมมนายังมีอีกหลายวัน วันนี้เป็นเหมือนการเตรียมความพร้อมในการเพ่ิมทักษะภาษาอังกฤษไปพลางก่อน
          cybervanaram.net/2009-12-17-14-44-23-14/1230-2015-12-17-14-13-57
   วัฒนธรรมและภาษาในอาเซียนเพียงสองเรื่องก็น่าจะทำงานวิจัยได้หลายเล่ม เพียงแค่ภาษาในตระกูฃไท-กะไดอย่างเดียวก็ยากที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจได้หมด แ้ชนเผ่าไทอย่งอเดียวก็มีไทหลายเผ่าเช่น ไทดำ ไทขาว ไทแดง เป็นต้นกระจายกันอยู่ในแต่ภูมิภาคของโลกบางกลุ่มพอคุยกันรู้เรื่องบ้างเช่นไทยในสิบสองปันนา จีน ไทในอัสสัม อินเดียว ไทในรัฐฉาน เมียนมาร์ เป็นต้น หากจะเรียนรู้ทุกภาษาแลุวัฒนธรรมในอาเว๊ยนอย่างจริงจัง คงต้องใช้เวลาอีกนาน ถึงแม้จะไม่เข้าใจภาษาและวัฒนธรรมของชาติอื่นก็ไม่เป็นไรนัก แต่หากไม่เข้าใจวัฒนธรรมของชาติตนแล้วก็ยากจะอยุ่ร่วมกับคนในประชาคมอาเซียนอย่างชาญฉลาด...
            ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางภาษาและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งในยุคสมัยต่างๆ ที่ผ่านมาได้ก่อให้เกิดกระแสโลกาภิวัตน์ขึ้นในภาษาและวัฒนธรรมอาเซียนตามกรอบแนคิดของอัปปาดูไร ที่ว่า "ความสลับซับซ้อนของโลกาภิวัตน์ในปัจจุบันจึงจำเป็นต้องพิจารณาถึงหลักการพื้นฐาน ี่สำคัญของการแตกหักขาดตอน ในระหว่างเรื่องของเศราฐกิจ วัฒนธรรม และการเมือง ในลัษณะของการไหลเวียน ใน 5 มิติ ซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันและมีผลกระทบต่อโลกอันได้แก่
           - การไหลเวียนในมิติของมนุษย์หรือชาติพันธุ์นรูปของนักท่องเที่ยว ผู้อพบพลี้ภัย คนพลัดถิ่นและแรงงานข้ามชาติ
            - การไหลเวียนในมิติของเทคโนโลยีที่ตัดข้ามเส้นแบ่งต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเส้นเเบ่ง รัฐ-ชาติ
            - การไหลเวียนในมิติของเวินผ่านตลาดทุน ตลาดหุ้น ตลาดสินค้าในระดับโลก
            - การไหลเวียนในมิติของสื่อซึ่งกลายเป็นรากฐานสำคัญของการจินตนาการเกี่ยวกับตัวตนของคนในโลกปัจจุบัน
            - การไหลเวียนนมิติของอุดมการณื เช่น อุดมการณืประชาธิปไตย
              กระแสโลกาภิวัตน์ทั้ง 5 มิตินี้ได้ไหลเวียนข้ามพรมแดนรัฐ-ชาติในระดับต่างๆ อย่างทั่วถึง เป็นการไหลเคลื่อนย้ายต่างระดับความเร็ว ต่างแกน ต่างจุดเริ่มต้น และปลายทาง ดลกาภิวัตน์จึงไม่ใช่ดลกของความเป็นหนึ่งเดียวและกลมกลืน แต่ผนึกด้วยภาซะไม่เท่าเทียม สับสนวุนวายและสบลับซับซ้อนที่ทำให้เกตุการณ์ความร่วมมือ ความขัดแย้ง การสู้รบระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ระหว่างประเทศต่างๆ ที่เกิดขึ้นแล้วในประวัติศาสตร์ ส่งกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหรือทำให้เกดกระแสชาตินิยม ดดยเฉพาะประเทศที่มีพรมแดนติดกัน ขณะเดียวกันไ้นำไปสู่การไหลเวียนของผุ้คนที่เข้ามาพร้อมกับมิติอื่นๆ อีก 4 มิติ ที่อัปปาดูไรได้ให้คำนิยามไว้ ดดยในยุคแรกผุ้คนจากภุิภาคื่อนเคลื่อนย้าาย
เข้ามาสุ่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้ หรือผู้คนจากประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเดียวกันอพยยพพข้ามประเทศไปมา ไม่ว่าจะในฐานะนักท่องเที่ยว คนพลัดถิ่น ผุ้อพยพลี้ภัย หรือแรงงานชข้ามชาติก็ตามถือเป็นปรากฎการณืของกระแสโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นเป็นระยะๆ ในภุมิภาคนี้ ดังกรณีตัวอย่่างต่อไปนี้
            -แรงงานข้ามชาติในประเทศไทย โดยหลักการแรงงาน  เกิดจากปัจจัยผลักดันและปัจจัยดึงดูดในบริบทของพื้นที่นั้นๆ ปัจจัยผลักดันจากประเทศต้นทางมีสาเหตุจาก อัตราว่างงานสูง ระดับค่าจ้างที่ต่ำกว่าเมื่อเทียบกับต่างงประเทศ ขาดสิ่งจูงใจสำหรับความก้าวหน้าใอาชีพ นโยบายการพัฒนากำลังคนที่ไม่เหมาะสมค่านิยมทางสังคม นดยบายทางเศราฐกิจของประเทศ ความไม่มั่นคงในชีวิตและทรัพย์สิน ่วนปัจจัยดึงดูดสุ่ประเทศปลายทาง มีสาเหตุจากระดับค่าจ้างและเงนิเดือนที่สูงกว่ามาก การขาดแคลนแรงงานในบางสาขา โอาสและความก้าวหน้าในอาชีพ การให้นักศึกษาต่างประเทศมีโอกาสเข้ารับการศึกษาอบรมได้ในประเทศปลายทาง และปัจจัยทางสังคมและการเมือง
            ประเทศเมียนมาร์ ในฐานะประเทศหนึ่งในสมาชิกของประชาคมอาเซียเกิดปัจจัยผลักดันประการต่างๆ ขึ้นในประเทศ และประเทศไทยซึ่งเป้นหนึ่งในประเทศปลายทวที่มีปัจจัยดึงดูด เช่น มีความมั่นคงทางด้านเสณาฐิจสังคมมากกว่า มีอัตราค่าจ้างและเงินเดือนที่สูงกว่ามาก และการขาดแคลนแรงงานตามแนวคิดการเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศตามเหตุปัจจัยที่ผลักดัน และดึงดูด ให้เกิดการอพบยยแรงงานข้ามชาติขึค้น ซึ่งนำไปสู่ความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมที่หากปล่อยปละละเลยจะส่งผลกระทบด้านเสียหายต่อสังตสในประทเศจ้างงานเป็นอย่างยิ่งดังที่กำลัีงเกิดขึค้นในบางพื้นที่ของประเทศไทยในปัจจุบัน
             - คนพลัดถิ่นในประเทศไทย คนพลัดถืิ่นตามนิยามที่โรบิน โคเฮ็น ให้ไว้หมายถึงกลุ่มคนหรือชุมชนข้ามพรมแดรรัฐ -ชาติ ที่มีคุณลักษะร่วมที่สำคัญเก้าประการคือ เป็นกลุ่มคนที่กระจายอยู่นอกมาตุภูิมต้งแต่สองแห่งหรือสองประเทศขึ้นไป, สาเหตุการกระจายในข้อแรกอาจมาจากการบังคับ การแสวงหางานทำ การค้าหรือนโยบายของเจ้าอาณานิคม, กลุ่มคนเหล่านั้นมีความทรงจำร่วมเกี่ยวกัีบถิ่นกำเนิด, กลุ่มคนเหล่านั้นมีอุดมคติและพันธร่วมในการรักษา ฟื้นฟูสร้างความปลอดภัย ความมั่นคงแก่มาตุภูมิ, กลุ่มคนเหล่านั้นมีสำนึกร่วมและกระบวนการเคลื่อนไหวเพื่อกลับมาตุภูมิ, กลุ่มคนเหล่านั้นมีสำนึกความเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่เข้มข้น และสำนึกดังกล่าวได้รับการธำรงไว้ข้ามกาลเวลา, กลุ่มคนเหล่านั้นมีความสัมพันธ์ุไม่ราบรื่นกับสังคมของประเทศที่ตนอาศัยอยุ่ในปัจจุบัน, กลุ่มคนเหล่านั้นมีควาเห้ฯอกเห็นใจและมีความเป็นปึกแผ่นหรือความสมานฉันท์กับคนพลัดถิ่นชาติพันู์เดียวกันในอีกประเทศฅ กลุ่มคนเหล่านั้นอาจจะมีชีวิตที่เฉพาะสร้างสรรค์ และมั่งคั่งในประเทศพักพิงที่มีขันติธรรมต่อความแตกต่างทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม
           คุณลักษระร่วมตามนิยามดังกล่าวนี้โคเฮ็นเสนอว่าไม่จำเป้นต้องพบครบทุกประการในชุมชนคนพลัดถิ่นหนึ่งๆ คำว่า คนพลัพถิ่น จึงเป็นคำกลางๆ ที่ใช้เรียกกับคนที่อยุ่ข้ามพรมแดนประเทศแม่ของตน โดยนิยามดังกลาวนี้ทำให้เห็นกลุ่มคนพลัดถิ่นในประเทศไทยที่สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
           - ชุมชนคนพลัดถืิ่นที่เกดจกการบีบบังคับหรือตกเป็นเหบยื่อ เช่น ชาวเขมรลี้ภัยสงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในประเทศ กลุ่มกะเหรี่ยง ที่อยู่ในค่ายตมแนวชายแดนไทย- พท่ามากกว่า 30 ปี เป็นต้น
            ชุมชนพลัดถ่ินที่เกิดจากกิจกรรมการต้า เช่น ชาวอินเดีย ชาวจีนในสมัยรัชกาลที่ 5 ที่เดินทางมาหนีร้อนมาเพื่อแสวงหาดอกาสทางการต้าในดินแดนใหม่ๆ
            - นักท่องเที่ยวในประเทศไทย สถิติสำนักงานตรวจคนเชข้าเมืองและกรมการท่องเทียวรายงานว่า ในปี 2555 มีนักท่องเที่ยวมาเที่ยวในประทเศไทยมากว่า 22 ล้านคน จำนวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเที่ยวในไทย 10 อันดับแรกในต้นปี 2556 ได้แก่ จีน มาเลเซีย รัสเซีย ญี่ปุ่น เกาหบลี อินเดีย สหราชอาณาจักร อเมริกา ออสเตรเลียปละเยอรมนี ได้จำนวนนี้มีนัำท่องเที่ยวจาภูมิภาคอาเซียนมาเที่ยวประเทศไทยคิดเป็นร้อยละ 24 จัดเป็น 1 ใน 4 ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด โดยมีมาเลเซย ลาว และสิงคโปร์มาเที่ยวมากที่สุดตามลำดับ จะเห็นว่านักท่องเที่ยวที่เข้ามาประเทศไทยมิใช้แต่ชาตอที่พูดภาษาอังกฤษอย่างเดียวเท่านั้น หากแต่มีความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมมากขึ้นนอกจากนี้ ยังมีผุ้ที่เกี่ยวข้องกับภาคบริการนักท่องเที่ยว เช่น ร้านขายของที่ระลึก ร้านตัดเสื้อ ร้านอาหาร ดรงแรม ที่พัก เป็นต้น ที่มีพนักงานต้อนรับเป็นชาวต่างชาติที่หน้าตาดูเหมือนมาจากเอเชียใต้ แต่เมื่อสอบถามไปจะได้คำตอบว่าส่วนใหญ่เป็นชาวพม่าเชื่อสายเนปาลีที่พูดภาษาอังกฤษได้คล่อง ซึ่งพบได้ทั่วไปตามสถานที่ท่องเทียวชายทะเลที่มีช่อเสียงของไทย จึงเกิดคำถามว่าแล้วคนไทยทำอะไรบ้างในภาคการท่องเที่ยว...
             กระสแโลกาภิวัตน์ในภาษาและวัฒนธรรม กรณีต่างๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยดังกล่าวข้างต้นได้แสดงให้เห็นถึงความสลับซับซ้อนที่จำเป็นต้องพิจารณาถึงหลักการพื้นฐานที่สำคัญของการแตกหักขาดตอน ระหว่างเรื่องของเศรษบกิจ ภาษา วัฒนธรรม และการเมืองการปกครองในลักษณะของการไหลเวียน ในมิติชาติพันธุ์ในรูปของนักท่องเทียว ผุ้อพยพ คนพลัดถิ่น และแรงงานข้ามชาติ ในมิติของมนุษย์ ในมิติของเทคโนโลยี ในมิติของเงินผ่านตลาดทุน ตลาดหุ้น ตลาดสินค้า ในมิติตของสื่อ และในมิติตของอุดมการณ์ เช่น ประชาธิปไตย ที่ซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันทุกมิติ และมีผลกระทบต่ออาเซียนตามกรอบแนวคิดของอัปปาดูโร(1990) ดังกล่าว..(บทความ  "ภาษาและวัฒนธรรมอาเซียนในยุคโลกาภิวัตน์ : ความท้าทายของประเทศไทย, โสภนา ศรีจำปา)
         

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...