Shino-Tibet Languese : Tibean languages

            กลุ่มภาษาทิเบต เป็นกลุ่มย่อยของภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจกันไ้ ของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่พุดโดยชาวทิเบตที่อยู่ในบริเวณเอเชียกลางติดต่อกับเอเชียใต้ ได้แก่ ที่ราบสูงทิเบต ภาคเหนือของอินเดีย ในบัลติสถาน ลาดัก เนปาล สิกขิม และภูฎาน ส่วนใหญ่ใช้ในการเขียนงานทางศาสนาโดยเฉพาะศาสนาพุทธ
           ด้วยเหตุผลทางการเมือง สำเนียงของภาษาทิเบตกลาง (รวมท้้งลาซา) คามและอันโดนในจีน ถือเป็นภาษาทิเบตเพียงภาษาเดียว ในขณะที่ภาษาซองคา ภาษสิกขอม ภาษาเศราปาและภาษาลาตัก ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก แม้ว่าผุ้พูดภาษาดังกล่าวจะถือตนว่าเป้นชาวทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงลาซามากกว่าสำเนียงคามและอัมโด
            มีผู้พูดกลุ่มภาษาทิเบตทั้งหมดราว 6 ล้านคน ภาษาทิเบตสำเนียงลซามีผุ้พุดประมาณ 150,000 คนที่เป็นผู้ลี้ภัยในอินเดียและประเทศอื่นๆ ภาษาทิเบตใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยในทิเบตที่อยู่ใกล้เคียงกับชาวทิเบตมากกว่าศตวรรษ แต่ไม่สามารถรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้ ชาวเกวียงในคามนั้น รัฐบาลจีนจัดให้เป็นชาวทิเบตแต่ภาษาเกวียงอิกไม่ใช่กลุ่มภาษาทิเบต แม้จะอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
         
 - กลุ่มภาษาทิเบต-การเนารี หรือกลุ่มภาษาโบดิช-หิมาลัย เป็นการจัดจำแนกในระดับกลางของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มภาษาทิเบตและภาษากาเนารี แตกต่างกันไปตามความเห็นของนักภาษาศาสตร์แต่ละคน
             เบเนดิคช์ เป้ฯคนแรกที่เสนอการจัดตั้งกลุ่มภาษานี้ แต่ได้ขยายขอบเขตของกลุ่มภาษาหิมาลัยให้รวมไปถึง ภาษาเกวียงอิก ภาษามาการิก และภาษาเลปชา
             แวน เดรียม เสนอว่า กลุ่มภาษาหิมาลัยตะวันออก กลุ่มภาษาโบดิชและกลุ่มภาาตามังอิก มีจุดกำเนิดร่วมกัน แสดงให้เห็นความแตกต่างในด้านของคำและจัดให้เกลุ่มภาษาหิมาลัยตะวันตกและกลุ่มภาษาตามังอิกอยู่ในกลุ่มภาษาโบิช ทำให้เกิดกลุ่มภาษาทิเบต-กาเนารีขึ้น มาทิซอฟฟ์ รวมกลุ่มภาษาโบด กลุ่มภาษาหิมาลัยตะวันตกและภาษาเลปชา เป็นอีกกลุ่มหนึ่ง
            - ภาษาซันเดียล มีผู้พูด 2,000 คน จากชาวซันเดียลทั้งหมด 10,000 คน ชาวซันเดตียลอาศัยในต. ปักลุงและเมียกดีในเนปาล เป็นภาษาในกลุ่มตามันคิก เช่นเดียวกับภาษาคูรุง ภาษาทากาลี ภาษามานังบา ภาษานรพูและภาษาตามัง ที่เป็นกลุ่มย่อยของในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า มีรากศัพท์และไวยากรณ์ใกล้เคียงกับภาษาทากลี
            - ภาษาทิเบตกลาง เป็นสำเนียงของภาษาทิเบต โดยเป็นกลุ่มของสำเนียงมีวรรณยุกต์ของภาษากลุ่มทิเบต ที่ไม่ใช่สำเนียงคาม การแบ่งแยกของภาษากลุ่มนี้ตาม Bradley(1997) ได้แก่ กลุ่มตะวันตก ได้แก่สำเนียงของลาดัก และแซนการ์ตอนบน ซึ่งอยุ่ตามแนวชายแดนด้านตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย และโธลิงซึ่งอยู่ทางตะวันตกสุดของทิเบต, ดบุส-อู พบในบริเวณงานีทางทิเบตตะวันตก ชายแดนด้านเหนือของเนปาล จังหวัดจั้ง และจังหวัดดอ เป็นพื้นฐานของภาษาทิเบตมาตรฐาน, กลุ่มเหนือพบทางตอนกลางค่อนไปทางเหนือของทิเบต และทางใต้ของมณฑลชิงไห่, กลุ่มใต้ ได้แก่สำเนียงทางใตของจังหวัดจัง สำเนียงที่พบในิกขอมและภูฎาน
              ภาษาทิเบตกลางตอนใต้ บางครั้งแยกเป้นสาขาใต้ของภาษากลุ่มทิเบต หรือเปนภาษาโบดชใต้ เนื่องจากภาษาในกลุ่มนี้มัพบตามแนวชายแดน จึงมักจะถูกกำนดให้ป็นภาษาใหม่ ในขณะที่สำเนียงอื่นไม่ถูกกำหนด เช่น ภาษาซองคา ของภูฎาน ภาษาเศรปา ในเนปาล และภาษาสิกขอมในอินเดีย
           
 - ภาษาซองคา เป็นภาษาประจำชาติของภูฎาน อยุ่ในตระกูลจีน-ทิเบต สาขาทิเบต-พม่า ใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสมัยใหม่เที่ยงได้กับความแตกต่างระหว่างภาษาสเปนกับภาษาอิตาลี พระในทิเบตและภูฎาน เรียนภาษาทิเบตโบราณเพื่อการอ่านคัมภีร์พุทธศาสรา คำว่าซองคาหมายถึง ภาษา (คา) ที่พูดในวัดที่มีลักษณะเป็นป้อมปราการ (ซอง) ภาษานี้แพร่เข้ามาในภูำานเมือราว พ.ศ. 2200 โดย ซับดรุง งาวัง นัมกเยล
               ภาษาซองคาและภาษาถิ่นอื่นๆ เป็นภาษาแม่ของภูฎานตะวันตก มีผู้พูดภาษานี้ในเมืองกาลิมปงของอินเดียที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของภูฎาน แต่ปัจจุบันอยุ่ในรัฐเบงกอลตะวันตก ภาษาซองคาเป้ฯภาษาที่ใช้ในดรงเรียน เป้นภาษากลางในภูฎานตอนใต้และตะวันออกที่ไม่ได้ใช้ภาษนี้เป็นภาษาแม่ เชียนด้วยอักษรทิเบต หนังสือพิมพ์ด้วยอักษรทิเบตแบบอุคันซึ่งเป็นแบบเดียวที่ใช้พิมพ์ภาษาทิเบต
              - ภาษานัรพู เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ใช้พุดในหมุ่บ้านนัรและหมู่บ้านพูในหุบเขานัรโพลา ตำบลมานัง ประเทศเนปาล
              - ภาษาเศรปา หรือภาษาเศรปา ภาษาชาร์ปา ภาษาชาร์ปา โภเตีย ภาษาเว๊ยเออร์บา ภาษาเซอร์วา เป็นภาษาที่ใช้พูดในบางส่วนของเนปาล โดยเฉพาะในชุมชนชาวเศรปา อยุ่ในเนปาล 130,000 คน ( ปี 2544) อยุ่ในอินเดีย 20,000 คน ( ปี 2540) อยู่ในทิเบต 800 คน (ปี 2537)
               ไวยากรณ์ ลักษณะทางไวยากรณ์ของภาษาเศรปา ได้แก่ ไม่มีการผันคำนาม คำขยายตามหลังคำนาม มีลักษณนามที่ตามหลังนาม คำขยายกริยาตามหลังกริยา ใช้ปรบทซึ่งจะมาก่อนนามวลี เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา

                    - http://th.unionpedia.org ค้นหา "กลุ่มภาษาทิเบต"
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)