Languaese & Ethnic (Myenmar)

           พม่า หรือ เมียนมา มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ตั้งออยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้ ในส่วนของดินแดภาคเพื้นทวีป มีอาณาเขตติดกับไทย ลาว จีน อินเดีย และบังคลาเทศ มีจำนวนประชากร 53 ล้านคน ประกอบไปด้วยกลุ่มาติพันธุ์ต่างๆ ถึง 13 กลุ่ม ที่รู้จักำกันทั่วไป ได้แก่ พม่า มอญ ฉาน กะเหรี่ยง คะฉิ่นฉิ่น คะยา ยะไข่ กลุ่มชาติพันู์ทั้ง 8 กลุ่มเป็นกลุ่มชาติพันู์ที่ได้รับความสำคัญต่อประวัติศาสตร์ชาติ ดดยมีการกำหนดชื่อกลุ่มชาติพันู์ให้เป็นชื่อรัฐ 7 รัฐ  ยกเว้นกลุ่มชาติพันธ์ุพม่าที่ระบุให้เป็นหลุ่มชาติพันู์หลักของ 7 เขต คื อสะกาย มัณฑะเลย์ พะโค ย่างกุ้ง เอยาวดี มะเกว และตะนาวศรี
         นอกจากกลุ่มชาติพันธ์ุหลักดังกล่า พม่ายังมีกลุมชาิตพันู์ย่อยๆ อีกมากมาย เช่น ธนุ ตองโย แต้ะ มรมาจี คายนา อึงตา ระวางลีซู ลาหู่ กอ ขขุ ลาซี ขมี นาคะ แม้ว ว้า ปะหล่อง ปะเล ยิง ปะโอ ซะโหล่ง ซะเหย่ง ยิ่งบ่อ บะแระ ปะต่อง ยิ่งตะแล คำดี โย หล่ำ ขมุ ลุ และขืน กลุ่มชาติพันธ์ุเหล่านี้ส่วนมากอาศัยกระจายอยุ่บนพื้นที่สูงและเขตภูเขาทางภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคตะวันออก มีบ้างเล็กน้อยที่อาศัยอยุ่ทางภาคใต้ สวนใหญ่ไม่เป้นที่คุ้นเคยแม้ในหมู่ชาวพม่าทั่วไป กลุ่มชาติพันธ์ุส่วนใหญ่มีความเป็นอาศัยกระจายอยู่บนท้พนที่สุและเขตภูเขาทางภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคตะวันออก มีบ้างเล็กน้อยที่อาสัยอยู่ทางภาคใต้ ส่วนใหญ่ไม่เป็นที่คุ้นเคยแม้ในหมู่ชาวพม่าทั่วไป กลุ่มชาติพันธุ์ส่วนใหญ่มีความเป็นอยุ่ที่ใกล้ชิดกับธรรมชาติ กลุ่มที่ได้รับความสนใจจากรัฐบาลเนื่องเพราะปัญหาค้ายาเสพติด คือ กลุ่มโกกั้งและกลุ่ม้า อาศัยอยู่ในรัฐแานใกล้ชายแดนจีน ภายหลังกลุ่มว้าได้ขยายพื้นที่มาใกล้ไทย ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งที่รัฐให้ความสนใจมากขึ้นคื อนาคะ ซึ่งอยุ่ใกล้ชายแดนจรดกับอินเดียเพราะมีรูปแบบในการดำรงชีวิตที่ใกล้ชิดกับธรรมชาติและมีการล่าหัวมนุษย์ ส่วนอีกกลุ่มที่ได้รับความสนใจจากรัฐเพราะวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของพวกเขาสามารถดึงดุดนักท่องเที่ยวได้ คือ ปะด่อง หรือกะเหรี่ยงคอยาว และชาวอิงตา ซึ่งอาศัยในทะเลสาบอิงเลในรัฐฉาน 
          ภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ได้แกบ่งพม่าออกจากกันเป็นสองสวน คื อส่วนที่อยุ่ใจกลางของประเทศได้แก่พื้นที่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำ เช่น ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิระวดีตอนล่าง แม่น้ำสะโตง และแม่น้ำชินวินและส่วนเทือกเขาสูงกินอาณาเขตจรดชายแดนของพม่าทั้งด้านตะวันตก ตะวันออกและภาคเหนือ พื้นที่บริเวณเทือกเขาสูงนี้จะกินอาณาเขตประมาณ 2 ใน 3 ของเนื้อที่ทั้งประเทศ
         
 กลุ่มชาติพันธ์พม่า.ึซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ จะอาศัยอยุ่บริเวณที่ราบริมแม่น้ำ เช่น แม่น้ำอิระวดี แม่น้ำสะโตง และแม่น้ำชินวิน เป็นต้น นอกจากชาวพม่าแล้วยังมีชาวมอญและกะเหรี่ยงซึ่งอพยพลงมาจากภูเขาสูง ในขณะที่กลุ่มชาิตพันธุ์อื่นจะอาศัยอยู่ในบริเวณที่ราบสุงหรือเทือกเขาสูงบริเวณชายแดน ดังนั้นด้วยปัญหาสภาพทางภูมิประเทศที่เป็นอุปสรรค ทให้กลุ่มชาิตพันธ์ุที่เป็นชนกลุ่มน้อยในบริเวณชายแดนและชาวพม่าในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำ ไม่ได้ติดต่อสัมพันธ์กันมากเท่าใดนัก การสัญจรไปมาในบริเวณเทือกเขาุงและป่าทึบทำได้ไม่สะดวก ส่วนใหญ่เป็นทางเดินเล็กๆ เหมาะกับการสัฐจรด้วยเท้าหรือกองคาราวานที่อาศัยสัตว์เป็นพาหนะ เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย และลา เป้นต้น เทือกเขาและที่ราบสุง จุึงเป้ฯเสมือนเสนแบ่งแดนที่แยดชนกลุ่มน้อยออกาจากชาวพม่ารวมทั้งศูนย์อำนาจรัฐพม่าจากส่วนกลาง
          พม่าใช้คำว่า "รัฐ" กับบริเวณพื้นที่ที่มีประชากรของชนกลุ่มน้อยอาศัยอยุ่ ได้แก่ รัฐคะฉิ่น รัฐฉาน รัฐคะยาห์ รัฐกะเหรี่ยง รัฐมอญ รัฐอะรากัน และรัฐฉิ่น ในขณะเดียวกันจะใช้คำว่า "เขต" กับบริเวณท้พนที่ที่มีประชากรพม่าอาศัยอยุ่อย่างหนาแน่น ได้แก่ เขตสะแกง เขตแมกเว้ เขตพะโค เขตมัณฑะเลย์ เขตอิระวอี เขตตะนาวศรี และเขตย่างกุ้ง..sac.or.th/databases/southeastasia/subject.php?c_id=6&sj_id=53
              "เราไม่ใช่คนพม่า แต่เราเป็นคน..." อาจเป็นคำพูดที่ได้ยินจากคนพม่าการไม่ประกาศตนว่าเป้นชาวพม่าทั้งที่มีพื้นเพในประเทศพม่า พูดภาษาพม่าได้ หรืออาจถือหนังสือเดินทางพม่าด้วยนั้น อาจเป็นเรื่องน่าฉงนสำหรับชาวต่างชาติ ที่เห็น "ความเป็ฯพม่า" ถูกปฏิเสธอย่างหน้าตาเฉย กรณีดังกล่าวอาจสะท้อนได้ว่า การเอาเรื่องกฎหมายว่าด้วยความเป็นพลเมืองของประเทศมาตัดสินว่าเป็นคนพม่าหรือไม่นั้น แม้เป็นเรื่องปกติที่ทำได้ แต่กลับไม่ง่ายที่จะให้เกิดการยอมรับในความเป็นพม่าไปได้ด้วย ส่วนการจะสรุปเอาว่าคนที่พุดภาษาพม่าได้คล่องแคล่วถือเป็นการยอมรับความเป็ฯพม่านั้น ก็อาจไม่ใช่ข้อสรุปที่ดี เพราะภาษากับเชื้อชาติไม่ได้ไปด้วยกันเสมอไป สำหรับบางคนในบางสถานการณ์ ภาษาก็ส่วนของภาษา และเชื่อชาติก็ส่วนของเชื้อชาติ หาใช่หนึ่งเดียวในความเป้ฯพม่าไม่
              อย่างไรก็ตาม ภาษาอาจมีอิทธิพลต่อการยอมรับความเป็นพม่าได้เช่นกัน จากการที่ภาษาพม่านั้นถูกกำหนดให้เป็นภาษาประจำชาติสำหรับชนทุกเผ่าพันธุ์ ดังนั้นผุ้พูดภาษาพม่าจึงไม่จำเป็นจ้องเป็นคนเชื่อสายพม่าเสมอไป อาจเป็นคนมอญ กะเหรี่ยง ไทยใหญ่ กะฉ่น ฉิ่น ตองสู จีน แขก ฯลฯ พอนานเข้าคนต่างเชื้อสายเหล่านี้ก็อาจมองตนว่าเป็นคนพม่าเพราะตนไม่พูดภาษาเดิมแล้ว นอกจากภาษาพม่า ดังตัวอย่างคนมอญในพม่าส่วนมาก ที่ลืมว่าตนสืบเชื้อสายมาจากมอญ ดังนั้น ภาษาจึงอาจบงชี้ความเป็นเชื้อชาติได้เพียงช่วงเวลาหนึ่ง ดดยมิได้สืบสายถาวรติดอยู่กับเชื้อชาติตลอดไป
              ในทางภาษาศสตร์ มักยอมรับในเรื่องการโยงใยทางภาษาของกลุ่มชนต่างๆ และวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างภาษาที่มีเสียง ศัพท และไวยากรณ์คล้ายคลึคงกัน แล้วจำแนกภาาต่างๆ เป็นกลุ่มภาษาหรือตระกูลภาษา การวิเคราะห์ดังกล่าวช่วยให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างภาษาของกลุ่มชติพันธุ์ แต่หากนำมาอ้างอิงอย่งไม่ระวัง ก็อาจหลงคิดไปว่าภาษาเป็นตัวกำหนดเชื้อชาติไปด้วย
              ในสมัยอาณานิคมนั้น ได้เคยมีการศึกษาทั้งในเชิงมานุษยวิทยาและภาษาศาสตร์เพือจำแนกกลุ่มประชากรในประเทศพม่า ดังความเห้ฯว่า "..หากจะจัดจำแนกประชากรในพม่าเราไม่อาจอาศัยพงศาวดาร ประเพณี คติชน หรือความคล้ายคลึงทางพื้นที่ (เช่น พม่าและมอญอยู่ที่ลุ่ม ฉิ่นและกะเหรี่ยงอยูตามดอย) หากต้องอาศัยภาาาพูดเป็นหลัก เรื่องอื่นๆ อาจใช้เพื่อตรวจสอบเกณฑ์ภาษเท่านั้น และมีความเห้ฯว่าประเพณีหรือตนานนั้นชนชาติต่างๆ อาจมีร่วมกันได้ ภาาาพูดจึงเป็นข้อพิสูจน์สายพันธุ์ของกลุ่มชนชาติ ความเห้นเช่นนี้ยอมรับกันมานานจนมีการนำมาใช้คาดคะเนถิ่นกำเนิดและเส้นทางอพยพของชนชาติต่างๆ ในประเทศพม่า เพราะเข้าใจไปว่าภาษาเป็นเครื่องบ่งชี้ชนชาติได้ดีกว่าเกณฑ์ด้านอื่นๆ ที่ผ่านมานั้น ภาษาพท่าและภาษาของชนชาติต่างๆ ในประเทศพม่าได้รับการศึกษาเพื่อจัดจำแนกสายพันธุ์และชี้ให้เห็นเครือข่ายและเชื้อสายทางภาษาในระดับต่างๆ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ซึ่งเป็นข้อสรุปที่ได้จากองค์ความรู้ทางภาษาศาสตร์ว่าด้วยภาษาพม่าและภาษาที่เกี่ยวข้องกับพม่าในพื้นที่ประเทศพม่าและประเทศไทย
               จากการเปรียบเทียบภาษาตามแนวภาษาศาสตร์เปรียบเที่ยบเชิงประวัติ นักภาษาศาสตร์ได้ข้อสรุปว่า ภาษาพม่าเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาเบอร์มิส ของสายโลโล-พม่า ภายใต้สาขาทิเบต-พม่า ที่แยกเชื้อสายมาจากตระกูลภาษาจีน-ทิเบต อีกที ภาษาพม่าจึงมีคามเล้ายคลึงกับภาษาทิเบตมากว่า ภาษาจีน และแตกต่างกับภาษาไทย ภาษามอญ ภาษาเขมร และภาษามาเลย์โดยสิ้นเชิงขณะเดียวกันก็มีความใกล้ชิดกับกลุ่มภาษาโลโล ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นชาวเขาอยุ่ใประเทศไทย อาทิ มูเซอ ลีซอ และอีก้อ สวนภาษาพม่าจะมีความใกล้ิดกับภาษากะเหรี่ยงมากน้อยเพียงใดนั้น พบว่าภาษากะเหรียงมีโครงสร้างประโยคที่ต่างไปจากภาษากะเหรี่ยงอยู่นอกสาขาทิเบต-พม่า แต่ต่อมามีการจัดภาษากะเหรี่ยงไว้ในกลุ่มสาขาทิเบต-พม่าด้วย เพราะเห้นว่าภาษากะเหรี่ยงมีความคล้ายคลึงกับภาษาอื่นๆ ของกลุ่มทิเบต-พม่าในด้านศัพท์ แต่ใกล้ชิดกับภาษาพม่าน้อยกว่าภาษาในกลุ่ม โลโล เช่น มูเซอ ลีซอ และอีก้อ สำหรับภาษาที่อยุ่ในกลุ่มเบอร?มิสและความใกล้ชิดกับภาษาพม่ามากย่ิงกว่าภาษาในกลุ่มโลโลได้แก ภาษามะยู หรือมารู และภาษาอะซี ซึ่งพูดอยู่ในรัฐกะฉิ่น บริเวณพรมแดรพม่า-จีน
             
ในประเทศพท่ามีชนร่วมเชื้อสายภาษาพม่าอยู่หลายกลุ่ม ทั้งที่ร่วมเชื้อสายอย่างใกล้ชิดและที่ห่างออกไปจนส่งภาษากันไม่รู้เรื่อง กลุ่มที่ใกล้ชิดกับพม่าได้แก่ชนชาติพม่าที่พุดภาษาสำเนีงท้องถ่ินต่างๆ ตามชนลทและพื้นที่รอบนอก ในกลุ่มนี้ที่รุ้จักกันดีเพราะเคยสร้างบ้านแปลงเมืองเป็นของตนเอง คือชาวพม่าในรัฐยะไข่ หรือรัฐอาระกัน นอกจากพม่าที่ยะไข่แล้ว ชนที่มีเชื้อสายภาษาร่วมใกับพม่าและยังคงหลงเหลือจนถึงปัจจุบัน เป็นเพียงชาวพม่าท้องถิ่นที่ไม่ค่อยมีบทบาททางการเมืองอยางเด่นชัด ได้แก่ อิงตา ทวาย ธนู ยอ พูน และต่องโย เป็นต้นสำหรับชนที่มีเชื้อสายห่างจากชนเผ่าพม่าออกมาหน่อยนั้น ได้แก่ มูเซอ ลีซอ อีก้อ ฮิ่น กะฏิ่น นาคา กะเหรี่ยง ปะโอหรือตองสู คะยา และปะด่อง เป็นอาทิ ชนส่วนน้อยที่ร่วมเชื้อสายกับพม่าเหล่านีั ต่างก็มีกองกำลังอิสระต่อสู้กับรัฐบาลกลางของพม่ามาเป็นเวลานานหลายสิบปีนับแต่ได้รัเอกราช ในประเทศไทยมีชนเผ่าที่ร่วมเชื้อสายทางภาษาใกล้ชิดกับพม่าอยู่หลายเผ่าน ได้แก่ อีก้อ มูเซอ ลีซอ อูก๋อง บิซู อึมปี รวมถึงกะเหรี่ยงหรือยางเผ่าต่างๆ โดยเฉพาะ กะเหรี่ยงสะกอ และกะเหรี่ยง กลุ่มชนร่วมเชื้อสายกับพม่าที่กล่าวมานี้ส่วนใหญ่เป้ฯชาวเขาหรือเป็นเพียงกลุ่มชนเล็กๆ ที่อาศัยอยุ่ทางภาคเหนือ และตลอดแนวภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทย สำหรับในประเทศพม่าพบชนกลุ่มดังกล่าวกระจายอยู่ทั่วไปต่อจากชายแดนไทยด้านตะวันตกจนถึงลุ่มแม่น้ำสาละวิน
              อันที่จริง กลุ่มชนร่วมเชื้อสายกับพม่าในประเทศพม่านั้น มีเป็นจำนวนมากที่ยังคงมีวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม แต่ส่วนที่ผสมกลมกลืนอยู่ในสังคมเมืองจนแกไม่ออกจากชาวพม่านั้นก็มีอยุ่แทบทุกกลุ่ม โดยเฉพาะมอญและกะเหรี่ยงในชุมชนเมืองในพื้นที่ปากแม่น้ำอระวดี สะโตงและสาละวิน บ้างยังใช้ภาษาเดิมได้และมีเป็นจำนวนมากที่พุดภาษาพม่าได้เพียงภาษาเดียว มีทั้งที่รุ้และไม่รู้เชื้อสายเดิมของตน นอกจากนี้ ยังพบว่าบางภาษาในประเทศพม่าเป็นภาษาที่มีลักษณะ "ลูกผสม" อย่างภาษากะเหรี่ยง จนยากที่จะกำหนดชัดว่าเป็นภาษากลุ่มใดดังนั้นภาษาจึงมิอาจนำมาพิสูจน์เชื่อสายของกลุ่มชนเหรือบุคคลได้ นั่นคือภาษาหาได้ผูกติดกับเชื้อชาติไม่
             จะเห็นได้ว่าแม้ภาษาจะเป็นระบบสื่อสัญลักษณ์อันซับซ้อนที่อยุ่คู่กับมนุษย์ก็ตาม แต่ภาาก็มิได้ผูกติดอยู่กับสายเลือด การหลงเข้าใจไปว่าภาษาบ่งบอกถึงเชื้อชาติได้นั้น ย่อมผิดจากข้อเท็จจริง เพราะไม่มีชนชาติใดอยุ่อยางโดดเดี่ยว และภาษาของกลุ่มชนหนึ่งๆ ก็ย่อมผันแปรไปตามสภาวะแวดล้อม ไม่หยุดนิ่งดุจแช่เเข็ง  ดังนั้นชนชาติต่างๆ ที่ร่วมเชื้อสายทางภาาากับพม่าดังกล่าวมา จึงย่อมมีข้อแตกต่างทางภาษามากหรือน้อยขึ้นอยูกับระดับความสัมพันธ์ระหว่งชสชาติ หาได้สืบทอดทางพันธุกรรม ข้อมูลทงภาษาจึงมิอาจสนับสนุนเรื่องเชื้อชาติให้เป็นจริงขึ้นมาได้
            ความรู้เกี่ยวกับเชื้อสายภาาาพม่าในทางภาษาศาตร์ข้างต้นนั้น ึงเพียงช่วยให้ทราบเครือข่ายภาษาพม่าอย่างเป็นระบบ และให้มองเห้นภาษาในฐานะเครื่องบ่งชี้ทางวัฒนธรรม (วิถีชีวิต) อย่างกนึ่ง ่วนเชื้อชาตินันอาจเป้นเพียงคำที่ถูกหยิบขึ้นมาเพื่อกำหนด สิ่งที่ไม่มีอยู่จริง และยากที่จะพิสูจน์ให้เห็น..www.gotoknow.org/posts/15542
            ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในประเทศพม่าปัจจุบัน ซึ่งมีตั้งแต่ได้รับเอกรชจากอังกฤษใน พ.ศ. 2491รัฐบาลกลางหลายชุดต่อกันมาได้สุ้รบกับกบฎเชื้อชาตและการเมืองไม่จบสิ้น หนึ่งนการก่อการกำเริบช่วงแรกๆ เป็นพวกนิยมซ้าย "หลายสี" ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวพม่า และโดยสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง กบฎเชื้อชาติอื่นปะทุขึ้นเฉพาะช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 หลังรัฐบาลกลาุงปฏิเสธรัฐบาลแบบสหพันธ์ อย่างไรก็ดี นับแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา การก่อการกำเริบด้วยอาวุธที่มีวัตถุประงค์ทางการเมืองค่อยๆ หมดไปเป็นส่วนใหญ่ แต่การก่อการกำเริบด้านเชื้อชาติยังคงอยุ่ และอยู่อย่างดี
            การก่อการกำเริบเหล่านี้ได้รับการสนับสนุนหรือถูกใช้โดยต่างชาติ ทำให้การปิดประเทสทรุดหนัก ความสงสัยและความกังวลในหมู่ชาวพม่าทั้งชนกลุ่มน้อยในประเทศและต่างประเทศ อังกฤษบ้างกลุ่มสนับสนุนกะเหรี่ยง ปากีสถานตะวันออก (บังกลาเทศปัจจุบัน) หนุนหลังมุสลิม โรฮีนจาตามแนวชายแดนกับการหนุนหลังของตะวันออกกลางอินเดียกล่าวกันว่าข้องเกี่ยวกับกะฉิ่นและกะเหรี่ยงจีนสนับสนุนพรรคคอมมิวนิสต์พม่า (ภายหลังคือพวกว้าป กบฎนากและกะฉิ่น สหรัฐอเมริกาสนับสนุนก๊กมินตั๋ง อลัำทยสนับสนุนกลุ่มกบฎหลายกลุ่ม โดยเป็นการสร้างรัฐหรือพ้นี่กันชนก่อนการหยุดยิง กองทัพที่มีชาวพม่าเป็นส่วนใหญ่ได้ดำเนินการทัพในฤดูแลงทุกปีแต่คว้าน้ำเหลวพวกกบฎจะกลับมาทุกครั้งเมื่อกองทัพถอนกำลังกลับไป
         
 รัฐบาลกลางที่พม่าครอบงำ (พลเรือนหรือคล้ายทหาร) ไม่สามารถบรลุความตกลงทางการเมืองได้แม้เป้าหมายของการก่อการกำเริบทางเชื้อชาติสำคัญส่วนมาก คื อการปกครองตนเองมิใช่การแยกตัวเอกเป็นเอกราช ปัจจุบัน รัฐบาลได้นามความตกลงหยุดยิงอย่างอึดอัดกับกลุ่มก่อการกำเริบส่วนใหญ่ แต่กองทัพยังไม่ได้รับความเชื่อใจจากประชากรท้องถิ่น กองทัพถูกกล่าวหาอย่างกว้งขวางว่าปฏิบัติต่อประชกรท้องถ่ินอย่างเลวร้ายแต่ไม่ถูกลงโทษ และถูกมองว่าเป็นกองกำลังยึดครองในภูมิภาคเชื้อชาติต่างๆ
          สมัยปัจจุบัน ความขัดแย้งนั้นเป็นไปเพื่อต่อต้านรัฐบาลทหารซึ่งปกครองประเทศตั้งแต่ พ.ศ. 2505 ถึง 2554 ความขัดแย้งนี้เป้นสงครามที่กำลังดำเนินอยู่เก่าแก่ที่สุดในโลก และได้รับความสนใจจากนานาชาติอันเป็นผลจากการก่อการกำเริบ 8888 ใน พ.ศ. 2531  งานของนักเคลื่อนไหว ออง ซาน ซุจี การประท้องต่อต้านรัฐบาลในปลาย พ.ศ. 2550 และความเสียหายอันเกิดขึ้นจากพายุไซโคลนนาร์กิส ซึ่งทำให้ผุ้เสียชีวิตกว่า 80,000 คน และสูญหายอี 50,000 คนในกลาง พ.ศ. 2551
            ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2555 รัฐบาลพม่าประกาศความตกลงหยุดยิงกับกบฎกะเหรียง การหยุดยิงรวมถึงคตวามตกลงซึ่งกำหนดการสื่อสารเปิดเผยระหว่างรัฐบาลกับกบฎกะเหรี่ยง เช่นเดียวกับเปิดช่องทางปลอดภัยแก่กบฎกะเหรี่ยงในประทเศ รัฐบาลพม่าไ้นิรโทษกรรมนักโทษ KNU กว่า 6,000 คน และลดโทษนักโทษอีก 38,964 คน
            ความตกลงสันติภาพระหว่าง KNU กับรัฐบาลพม่าเป็นหนึ่งในข้อเรีกร้องหลักโดยประเทศตะวันตกก่อนจะมีการยกเลิกการลงโทษทางเศราฐกิจ..th.wikipedia.org/wiki/ความขัดแย้งภายในพม่า
           
   

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)