Shino-Tibet Languese : Hànyǔ II

           ภาษาหมิ่น เป็นหนึ่งในภาาาของตระกูลภาษาจีน พูดทางตะวันออกเฉียงใต้ ของมณฑลผู่เจี้นย และผู้ที่อพยพไปมณฑลกวางตุ้ง หูหนาน และไต้หวัน แบ่งย่อยได้เป็น ภาษาหมิ่นเหนือ (Min Bei) ภาษาหมิ่นใต้หรือภาษาฮกเกี้ยน (Min nan) และสำเนียงอื่นๆ เป็นภาษาหลักของชาวจีน ในฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย
            ภาษาจีนหมิ่นมีความหลากหลายของสำเนียงมากกว่าสำเนียงอื่นๆ ของภาษาจีน ซึ่งเปบ่งตามความสามารถในการเข้าใจกันได้เป็น 5-9 ภาษา เช่นภาษาหมิ่นต้ง (หมิ่นตะวันออก) ภาษาหมิ่นบนแผ่นดินใหญ่ เช่น ภาษาหมิ่นเชาเจียง ภาษาหมิ่นเป่ย ภาาาหมิ่นจ้ง และกลุ่มภาษาหมิ่รตามแนวชายฝั่ง ได้แก่ ภาษาหมิ่นต้ง ภาษาหมิ่นผูเซียน ภาษาหมิ่นหนาน และภาษาซยงเหวิน ภาษาหมิ่นเชาเจียงอาจแยกเป็นหลุ่มย่อยต่างหากภายในภาษาจีนหม่ิน เพราะเป็นภาษาที่แตกออกไปเป็นภาษาแรก
           ภาษาหมิ่นต้งเป็นภาษาที่มีศูนย์กลางที่เมืองฝูเจี้นน และทางตะวันออกของมณฑลกวางตุ้ง ภาษาหมิ่นผูเซียนแต่เดิมเป็นสำเนียงของภาษาหมิ่นหนาน แต่ได้รับอิทธิพลจากภาษาหม่ินตั้งนำเนียงฝูโจว สำเนียงซยงเหวินที่ใช้พูดในเกาะไหหลำซึ่งบางครั้งจะแยกเป็นภาษาต่างหากแต่เดิมเป็นสำเนียงของภาษาหมิ่นหนาน แต่ต่อมามีลักษณะทางสัทวิทยาเปลี่ยไปมากขึ้น
          ภาษาหมิ่นนานยังเรียกตามสถานที่ที่ภาษานั้นใช้พูด เช่น ภาษาไต้หวัน สำเนียงงอมมอยแห่งเซี่ยเหมินเป็นสำเนียงของภาษาหมิ่นหนานที่ใช้พูดทั้งในจีนแผ่นดินใหญ่และไต้หวันสำเนียงแต้จิ้วกลายเป็นสำเนียงที่สำคัญอีกสำเนียงหนึ่ง
          Glossika ได้แบ่งภาษาจีนเหมิ่นออกเป็น 8 สำเนียง คือ ภาษาหมิ่นเหนือหรือหม่ินเปยในเขตหนานผิงของผูเจี้ยนแต่สำเนียงเจียนโอวเป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาหมิ่นเป่ย ภาาาหมิ่นเชาเจียงในบริวเณหนานผิงตะวันออกและใกล้เคียง ถ้าเปบ่งอย่างกว้างจะนับเป้นสำเนียงของภาษาหมิ่นเป่ย ภาษาหมิ่นตะวันออก หรือหมิ่นต้งในฝูโจวและนิงเต ภาษหมิ่นกลางหรือหมิ่นจ้งในเขตซานมิง ภาษาหมิ่นผูเชซียนในเขนผูเซียน ภาษาหมิ่นใต้หรือหมิ่นหนานในจ้างโจว ชวานโจวและเซี่ยนเหมิน รวมทั้งบนเกาะไต้หวัน (สำเนียงฮกเกี้ยน) และทางตะวันออกของกวางตุ้ง (สำเนียงแต้จิ๋วป บางครั้งจัดให้สำเนียงฮกเกี้ยนและแต้จิ๋วเป็นภาษาต่างกาห ภาษาเหล่ยบดจวบนคาบสมุทรเหล่ยดจตงวมณฑลกว่างตุ้ง และภาษาไหหลำบนเกาะไหหลำ ถ้าแบ่งอย่างกวางจะรวมภาษาเหล่ยโจวกับภาาาไหหลำเป็นภาาาเดียวกัน หรือเป็นสำเนียงของภาษาหมิ่นใต้ ภาษาหมิ่นใต้ในกวางตุ้งเรียกฮกโล ในไหหลำเรียกซยกเหวินหรือซยงโจว ฮวา ภาษาหม่ินใต้เป้นสำเนียงที่โดดเด่นของชาวจีนในฟิลิปปินส์ที่รู้จักกันในชื่อภาษาลันนัง ในไต้ไวัน ภาษาหิม่ินได้เรียกกว่าเฮอเล่อโดย ซึ่งใช้พุดเป็นภาษาของประชากรส่วนใหญ่ ภาษาหมิ่นหนานจะถูกเรียกว่า ภาษาจีนฮกเกี้ยนในสิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และประเทอื่นๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะสำเนียงแต้จิ๋ว
            ยังเป็นที่โต้แย้งนบรรดานักประวัติศาสตร์ว่าภาษาจีนหมิ่นเกิดขึ้นเมื่อใด แต่ได้มีการอธิบายการอพยพหลายครั้งที่ส่งผลต่อภาษาจีนหม่ิน ได้แก่
            ใน พ.ศ. 851 มีการอพยพครั้งใหญ่จากเหนือสู่ใต้เนื่องจากการลุกฮือวูฮู และเป้นการนำภาษาจีนที่ใช้พุดในสมัยราชวงศ์ฉินสู่ผูเจี้ยน
            ใน พ.ศ. 1212 เฉินเจิงและบุตรชายคือ เฉิ่น ยวังอวังจากเขตกูวชือในเหอหนานได้สร้างเขตปกครองในฝูเจี้ยนและได้ปกครองพื้นที่ชวานโจและจ้างโจวเป็นเวลาสี่ชั่วคน และำด้นำภาษาจีนที่พูในสมัยต้นราชวงศ์ถังเข้า 
            ในสมัยราชวงศ์ถังได้มีการนำระบบสระเบบเชียยุนเข้ามาใช้ในภาษาจีนหมิ่น
             เมื่อสิ้นุดราชวงศ์ถังใน พ.ศ. 1435 วังเชาได้ก่อตั้งอาณาจักรหมิ่นใน พ.ศ. 1452 ในฝูเจี้ยน อาณาจักรหมิ่นนี้เป็นหนึ่งในสิบอาณาจักรในสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร วังเขาและวัง เชินจือมาจากกูชื่อในเหอหนานและได้นำภาษาจีนยุคปลายราชวงศ์ถังเข้ามาในฝูเจี้ยน
            ระบบการเขียน เมื่อมีการใช้อักษรจีนเขียนภาษาที่ไม่ใช่ภาษาจีนกลางจะใช้ตัวอักษรที่มีความเกี่ยวข้องกับภาษาที่ใช้และประดิษฐือักษรใหม่สำหรับคำที่ไม่มีในภาษาดั้งเดิม ในางกรณีมีการออกเสียงต่างไป หรืออาจจะมีความหมายต่างไป ซึ่งการเขียนภาษาจีนกวางตุ้ง ได้ใช้การเขียนในลักษณะนี้ ในที่สุด การเขียนแบบนี้จะไม่เป็นที่เข้าใจสำหรับผู้พุดภาษาจีนกลาง เพราะมีการเปลี่ยนแปลงของไวยกรณ์ คำศัพท์ และใช้ตัวอักษรที่ไม่มีในภาษาจีนกลางจำนวนมาก
           ภาษหมิ่นได้พัฒนาด้วยระบบนี้เช่นกัน แต่ไม่มีระบบมาตฐานสำหรับภาษาหมิ่น แม้จะมีการออกแบบอักษณเฉพาะ ซึ่งจะมีคำยืมจากภาษาอื่นๆ ที่ไม่ใช้ภาษาจีน เช่น คำในภาษาท้องถ่ินของในเหาะไต้หวัน ที่มีในภาษาไต้หวันรวมทั้งคำขืมจากภาษาญี่ปุ่น ในสิงคโปร์ มาเลเซีย ภาษาจ่ินหม่ินจะมีคำยืมจากภาษามลายู ภาษาอังกฤษ และอื่นๆ การเขียนภาษาหม่ินด้วยอักษรจีนล้วนๆ จึงไม่แสดงการพุดภาษาหมิ่นจริงๆ แต่จะป็นรูปแบบของภาษาจีนกลางอยู่มาก 
ภาษาเซียง
         มีความพยายามใช้อักษรสะตินในการเขียนภาษาหมิ่น บางกลุ่มใช้อักษรละตินแบบที่ใช้ดดยมิชชันนารีหรือเจียวฮุย ลัวมาจือ สำหรับภาษาหมิ่นใต้ จะใช้ระบบการเขียนด้วยอักษรละตินที่เรียก เปะอั่วจี และระบบสำหรับภาษาหมิ่นตะวันออกที่เรียก ปั้งอั๋วเส ทั้งสองระบบคิดค้นดดยมิชชันนารีชาวต่างชาติในพุทธศตวรรษที่ 24 มีการเขียนแบบไม่เป็นทางการที่ใช้อักษรจีนควบคู่กับอักษรละตินสำหรับคำที่ไม่มีอักษรจีนกำกับ
ภาษาแคะ
           ภาษาไต้หวัน มักหมายถึง ภาาฮกเกี้ยน ภาษาซึ่งใช้่โดยราว ๆ ร้อยละเจ็ดสิบของประชากรในสาธารรัฐจีน และอาจหมายถึง ภาษาจีน ภาาทีใช้ทั่วไปในชีิวิตประจำวันของเกาะไต้หวัน, ภาษาหนึ่งภาษาใดในกลุ่มภาษาของเกาะไต้หวัน, ภาษาหนึงภาาาใดในกลุ่มภาาาฟอร์โมซา ซึ่งเป็นภาษาถ่ินในเกาะไต้หวัน
           ภาษาเซียง คือหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน มีผู้พุด 36 ล้านคนในมณฑลหูหนาน เสฉวน กวางสี และกว่างตุ้ง แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มคือภาาาเซียงโบราณ และภาาาเซียงสมัยใหม่ที่มีอิทธิพลในภาาจีนกลางมาก
ภาษากั้น
           การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ มีผู้พูดมากว่า 36 ล้านคนในจีน โดยเฉพาะทาตงตอนกลางและตะวันตกเฉียงใต้ของมณฑลหวางตุ้ง ส่วนใหญ่ถูกฮอบล้อมโดยผุ้พุดภาาาจีนกาง และติดต่อกับผู้พุดภาาาม้งทางตะวันตกเฉียงเหนือ สำเนียงแบ่ง เป็น 2 กลุ่มคือภาษาเซียงดบราณแฃละภาาาเซียงสมัียใหม่ ภาษาเซียงโบราณเป็นภาษาที่คงลักษณะของภาษาจีนยุคกล่างมีุ้พุดทางใต้สวนภาษาเซียงสมัยใหมใ่ ที่รับอิทธิพลจากภาษาจีนกลางมีผุ้พุดทางเหนือ
              ภาษาแคะ ภาษาขักกา หรือเค่อเจียฮว่า คือหนึ่งในภาาาของตระกูลกลุ่มภาษาจีนมีผู้พูด 34 ล้านคน เป้นภาษาของชาวฮั่น ที่มีพรรบพุรุษอยู่ในมณพลเหอหนานและศส่านซี ทางเหนือของจีนเมือหว่า 2,700 ปีที่แล้วต่อมาชาวแคะอพยพไปทางใต้เข้าสู่มลฑลกว่างตุ้งและฝูเจี้ยนและไปเป็นชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก
              กั้น คือหนึ่งในภษาของตระกูลกลุ่มภาษาจีน มีผุ้พุด 31 ล้านคนในมณฑลหูหนาน เสฉวน มณฑลหูหนาน และมณฑลเจียงซี แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ ภาษาเซียงโบราณ และภาษาเซียงสมัยใหม่ที่มีอิทธิพลในภาษาจีนกลางมาก

                  - th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)