วันพฤหัสบดีที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Local

               ภาษาราชาการของประเทศสมาชิกอเซียน แต่ละชาตินั้น มีทั้งความแตกต่างกันและความเหใื่อนสำหรับประเทศอินโดนีเซีย มีภาษาราชาการคือ  บาฮาซา อินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซียน ภาาาราชการคือ ภาษามาเลย์ หรือภาษามลายู, ประเทศฟิลิปปินส์ ภาษาราชการตือ ภาษาฟิลิปปินส์ ประเทศบรูไน ภาาราชการตือ ภาษามาเลย์ ประเทศเวียดนาม ภาษาราชการคือ ภาษาเวียดนาม ประเทศลาว ภาษาราชการคือ ภาษาลาว ประเทศพม่า ภาษาราชการคือ ภาษาพม่า ประเทศกัมพุชา ภษาราชการคือ ภาษาเขมร และประเทศไทยภาษาราชการคือ ภาษาไทย
             ทั้งนี้ เพื่อให้การติดต่อสื่อสารให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ประชาคมอาเวยได้กำหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการทำงานของอาเซียน ตามกฎบัตรอาเซียน ข้อ 34 โดยภาษาอังกฤษจะเป็นภาษาที่ใช้ในระหว่างการประชุม การโต้ตอบทางจดหมาย การจัดทำรายงานการประชุม ผลการพิจารณาและมติที่ประชุมตลอดจนการจัดทำคำแถลงการณ์ และการปฏิสัมพันธ์ต่างๆ ของอาเซียน ซึ่งในประเทศสมาชิกที่กล่าวมาในข้างต้นมีเพียงประเทศสิงคฮโปร์ประเทศเดียวที่ใช้ภาษารชการ เป็นภาษาอังกฤษ และเป็นภาษาอาเซียน
            นอกจากภาษาราชการ และภาษาอังกฤษ ในกลุ่มประเทศอาเวียน ทั้ง 10 ชาติยังมีภาษาถิ่นที่ประชาชนแต่ละพื้นที่ใสช้ติดต่อสื่อสารกันยกตัวอย่าง ภาษาในประเทศไทย มีผู้พูดหลายภาษาด้วยกัน โดยมีภาษาหลักคือภาษาไทยมาตรฐาน นอกจากนั้นยังมีภาษาถิ่น่ย่อย และภาษาอื่นๆ อีกหลายตระกูลภา โดยรวมมีผู้ใช้ภาษาราว 74 ภาษาในประเทศไทยได้แก่ ภาษาไทยภาคกลาง ภาษาไทยถินใต้ ภาษาไทยโคราช ไทยอีสาน การอู้กำเมือง เป้นต้น ขณะเดียวกันก็มีภาษาจีนอีกหลายถิ่นย่อย เช่น จีนแต้จิ๋ว จีนกลาง จีนแคะ ภาษาจีนกวางตุ้ง และชนเชื้อสายอื่นในประเทไทย เช่น ตระกูลภาาาไทดำ/โซ่ง มอญ เขมร อ่าข่า กุย/กวย พม่า ไทยใหญ่ ปกาเกะญอ และภาษามลายูถิ่น เป็นต้น
            ภาษาถิ่นแต่ละภาษาสะทอนถึงระบบคิด ระบบความรู้ของมนุษย์ในเรื่องของภูมิปัญญาท้องถิ่น อันเ็นอัตลักษณ์ที่โดดเด่น ทั้งในทางวัฒนธรรมของชาติ และวิถีชีวิต ซึ่งล้วนแต่ควรค่าแก่การอนุรกษ์ให้คงอยู่คู่ชุมชนท้องถ่ิน ที่สำคัญการรักษาทุกภาษาให้คงอยู่ เปรีบได้กับการรักษามรดกของมนุษยชาติ ปละภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั้นี้หากศัพท์บางศัพท์หายไป ก็อาจเป็นการสูญเสยภูมิปัญญาท้องถ่ินนั้นๆ ไปด้วย เพื่อเป็นการรักษามรดกของมนุษย์ชาติ และสร้างความเสมอภาคทางสังคม ด้านการศึกษา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ร่วมกับ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล และองค์การยูนิเซฟประเทศไทย ให้การสนับสนุน "โครงการจัดการเรียนการสอนแบบทวิ-พนุภาษาไทย-มลายูปาตานี ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย" หรือ "ทวิภาษา" โดยมี ศาสสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สุวิไล เปรมศรีรัตน์ เป็นหัวหน้าโครงการฯ ซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาถิ่นของอาเซียน โดยบมีโรงเรียนที่เข้าโครงการจำนวน 16 โรงเรียน ใน 4 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ ได้แก่ ปัตตานี ยะลา นรธิวาส และสตูล
             สำหรับโครงการทวิภาษามีจุดมุ่งหมายที่จะเสริมสร้างความเข้มแข็งและความปรองดองด้วยการเรียนการสอนแบบทวิภาาาที่จัดขึ้นเพื่อกลุ่คนมลายูถิ่นปัตตานี ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หสึ่งที่อาศยอยุ่ทางภาคใต้ของประเทศไทยตั้งแต่ชั้นอนุบาลจนถึงประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการศึกษาวิจัยตลอด 9 ปี ที่ผ่านมมีผลวิจัยว่าเด็กมีผลการเรียนที่ดีขึ้น และมีพื้นฐานที่ดีในการอ่านเขียนภาษาไทย ควบคู่กับการอ่านและสื่อสารมลายูถิ่น เชื่อมโยงจากสื่อเก่าไปสื่อใหม่ ที่เป็นภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถือเป็นการลงทุนด้านการวิจัยที่มี "แอคชั่น" คือ สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้จริง
           
เจาะตลาดอาเซียนโดยใช้ภาษาท้องถิ่น
ที่สำคัญโครงการทวิภาษาฯ ใช้พลังของภาษาแม่เพื่อช่วยแก้ปัญหาเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่ต่ำกว่ามาตรฐาน ที่เป้ฯปัญหาเรื้อรังมาเป็นเวลานาน ซึ่งจะช่วยสังคมและภาษาดีขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยให้เด็ก ๆ รู้สึกภูมิใจในภาษาถ่ินของตน ได้เรียนรู้ที่จะยอุ่ร่วมกับกลุ่มคนอื่นๆ ที่ใช้ภาษาที่แตกต่างจากตนเอง คนไทยและคนมลายูจะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างมประสิทธิภาพเนื่องจากพวกเขาต้องอาศัยอยู่ในประเทศเดียวกัน และวังเป็อย่างยิ่งว่าโครงกาทวิภาษา จะถูกผลักดันให้มีการนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป โดยเฉพาะในระดับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
            แม้ที่ผ่านมาการดำเนินงานของทีมวิจัย จะมีเสียงต่อต้าน ด้วยข้อกังวลยางประการ แต่เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง ทั้งจากสภานการณ์ และวัน เวลา สังคมควรเรียนรุ้การเปลี่ยนแปลง และยอมรับทั้งนี้หากมองในแง่ลบโครงการนี้อาจมีผลต่อภาษาถ่ิที่มีกรใชมาอย่างยาวนาน แต่ถ้ามองในทางวก เป้ฯการเก็บภาษามลายูเอาไว้ในรูปแบบของภษาไทย ในขณะเดียวกัย โครงการดังกล่าวเป็นการช่วยให้เด็กจังหวัดชายแดนใต้ในบางพื้ที่ ให้ได้มีโอกาสทางด้านการศึกษาอย่างเท่าเทียม และเสมอภาค
            ปัจจุบัการจัดการเรียนการสอนแบบทวิภาษา (ภาษาไทย-มลายูถิ่น) ถูกนำไปประยุกต์ใช้กับเยาชนในพื้นที่อื่นๆ ที่มีภาษาและวัฒนธรรมท้องถิ่นต่างไปจากภาษาและวัฒนธรรมสส่วนกลาง ได้แก่ หลุ่มเขมรถิ่นไทย จ.สุรินทร์ กลุ่มชมุ จ. น่านกลุ่มละเวือะ จ. แม่ฮ่องสอน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้รับการเสนอให้เป็นต้นแบบ สำหรับการจัดศึกษาของประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซย ลาวและประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆ ซึ่งถือเป็นความร่วมมือในระดับอาเซียน
            ทั้งนี้ ความสำเร็จในการอนุรักษ์ภาษาถิ่น และการแก้ปัญหาทางด้านการศึกษา โดยโครงการทวิภาษา ได้รับการยกย่อง และมอบรางวัล เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปี "วันรู้หนังสือโลก" 8 กันยายน 2559 จากองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก ...http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/639409
              สรุปความจากสัมนาวิชาการรัฐประศาสนสาตร์ (นโยบายสาธารณะ) "ประชาคมอาเซียน..จุดเปลี่ยนท้องถิ่นไทย คณะสังคมศาสตร์ ม.นเรศวร
              ผศ.ดร. อัชกรณ์ วงศ์ปรีดี กล่าวสรุปใน 6 ประเด็นดังนี้
              - การเตรียมโครงสร้างพั้นฐาน หมายถึงการเตรียมโครงสร้างพื้นที่ อปท.ต้องเรียวมรับกับโครงสร้างใหญ่ของประเทศ
              - การเตรียมการสร้างมุลค่าเพิ่มของสินค้า เช่นเรื่อง แพกเกจ การบรรจุหีบห่อ การไม่มีแบรนด์เป็นของตัวเอกในระดับอุตสาหกรรม จึงทำให้อุตสาหกรรมในบ้านเราเป็นเพียงการรับจ้างผลิต การเตรียมคนพัฒนาฝีเมือด้านทักษะอาจเป็นส่วนหนึ่งในการเตรียมความพร้อมได้ ควบคู่ไปกับการพัฒนา  ภาคบริการซึ่งเป็นภาคที่ทำรายได้ให้ประเทศมาก ดร. ปรีชา เรื่องจันทร์ ผู้ว่าราชการพิษณุโลกพุดหลายๆครั้งว่า "ผู้ว่าฯ มีหน้าที่นำนักท่องเที่ยวมากองในจังหวัด ผุ้ประกอบการ อปท.ทุกอย่างมีหน้าที่เอาเงินออกจากกระเป๋านักท่องเที่ยว" เป็นความคิดที่ดีและเป็นสิ่งที่เป็นจริง...
             - แผนรับมือภัยพิบัติ สาธารณะภัย เช่นปัญหาน้ำท่วมที่ผ่านมา มีโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม นวนคร 200-300 โรงงานกลับมาเป็นประมาณ 180 โรงงานที่เหลือยังคงลังเลอยู่ หากเกิดการต่อสู้แข่งขันในสถานะกาณณ์แบบนี้ เราเป็นผู้รับจ้างการผลิตเราต้องเตรียม มาตรการป้องกัน ระดับท้องถ่ิน ตัวอย่างเช่น เทศบาลนครปากเกร็ด "ปากเกร็ดโมเดล"เป็นการป้องกันน้ำท่วม มีทัเ้งหมด 400,000 ครัวเรือน น้ำท่วมไป 2,000 ครัวเรือน นายกเทศมนตรีใช้เงินสะสมสำรองจ่าง 150 ล้านบาท โดยไม่ต้องใช้เงินของประเทศ ถ้าเกิดน้ำท่วมทั้งหมด 400,000 ครัวเรือน รัฐบาลจะต้องเข้ามาช่วยเหลือทั้งหมด..
            - เรื่องภาษา เครื่องมือทางภาษ ไม่เฉพาะแค่ภาาาอังกฤษเท่านั้น อปท. ที่อยุ่ใกล้พม่าก็ควรจะสื่อสารกับพวกเค้าได้ หนังสือพิมพ์ออนไลน์ภาษาไทยคนประเทศลาวสามารถอ่านหนังสือพิมพ์ของประเทศไทยไ้ แต่คนไทยอ่านหนังสือของประเทศลาวไม่ออก นี้ความเสียงเปรียบของคนไทยแล้ว เป็นต้น
            - แผนกลยุทธ์ขององค์กรปกครองท้องถิ่น นอกจากจะมีแผน 3 ปี 5 ปี 10 ปี ข้าหน้าเราอยากเห็น อปท.ของเราเป้นอย่างไร ต้องมีกลยุทธ์ เป็นต้น
            - การเปิดใจรับความแปลกแยก แตกต่าง ทั้งทาการเมือง เศราฐกิจทางสังคมทั้งระดับภูมิภาค และระดับประเทศ...http://oknation.nationtv.tv/blog/dhiwakorn/2013/06/07/entry-1
             สรุปความจากการสัมมนา "มุมมองจากชุมชนท้องถ่ินเรื่องการเปิดเสรีอาเซียน" หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (วัฒนธรรมศึกษา) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สวก.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น ศุนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น จังหวัดนครศรีธรรมราช ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น อ่าวปัตตานีและสหภาพยุโรป ทำให้รู้ว่าคนจำนวนไม่น้อยยังมองภาพของ้องถ่ินกับอาเวียนแยกขาดจากกัน เพราะมองไม่เห็นจุดเชื่อโยงและสิ่งที่จะตามเข้ามาหลังเปิดประชาคมอาเซียนจึงทำให้หลายพื้นที่ยังไม่ตื่นตัว
         
 รศ.ดร. อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม แสดงปาฐกถาเรื่อง "การเปิดเสรีอาเซียนคืออะไร ส่งผลกระทบต่อชุมชนท้องถิ่นอย่างไร" ที่เปิดประเด็นว่าการเปิดเสรีอาเซียนเป็นโอกาศของใคร "กลุ่มรัฐและนายทุน" คือคำตอบที่ชัดเจน แต่ในทางกลับกันมิติของคนเล็กคนน้อยกลับขาดหายไป
           ที่ผ่านมาการนำเสนอภาพ "อาเซียน"ถูกนำเสนอแต่ในแง่มุมที่ดี เป้นมายาคติที่ว่าจะทำให้ก้าวข้ามพ้นกรอบรัฐชาติ เป้นการสร้างพื้นที่ทางการต้าการลงทุนให้ใหญ่ และเกิดตลาดใหญ่อาเวียนโผล่ขึ้นมา..ซึ่งจะเกิดประเด็น "ปลาใหญ่กินปลาเล็ก" นายทุนใหญ่ทุกประเทศจะมีโอกาสขยายตัว ข้ามออกเขตพื้นที่ของรัฐชาติไปแสวงหาประโยชน์ในประเทศเพื่อนบ้าน แต่เมื่อสำรวจแล้วคนที่ได้รับประโยชน์หลัก ได้แก่ "กลุ่มมยอดบนภูเขา" สำหรับประเทศไทยแล้วมีจำนวนอยู่ไม่เกิน  หกพันคน และแรงงานมีฝีมืออักประมาณ หนึ่งล้านห้าแสนคน ซึ่งคนเหล่านี้จะได้รับโอกาสที่จะเคลื่อนยายแรงงานไปได้หลายที่ แต่ในความเป็นตริงประเทศไทยมประชการ ประมาณ67 ล้านคน เป้นวัยทำงาน 30 ล้านคน จึงถือได้ว่าคนกลุ่มนอยเท่านั้นที่ได้รับประโยชน์ไ่เป็นทางการ ซึ่งเป็นอาชีพของคนเล็กคนน้อย ที่ถือเป็น "แรงงานอาเซียน" ในประเทศไทยมีอยุ่ถึงร้อยละ 65
          เมื่อทรัพยากรถุกป้อนเข้าสูระบบของรัฐและตลาดทุน "หลังพิง" ของคนเหล่านี้จะหายไป ไม่ว่าจะเป้นทะเล ภูเขา ในที่สุดก็จะถูกบีบให้เลือกและเป็นบุคคลผุ้เลื่อนฐานะในสังคมไม่ได้ ซึ่ง รศ.ดร.อรรถจักร์ได้เสนอทางออกไว้ "อาเซียนภาคประชาชน" คือหนทางที่จะสามารถสร้างอำนาจต่อรองของคนตัวเล็กตัวน้อยได้ เช่น ชาวประมงพื้นบ้านไทย-มาเลเซีย-อินโดนีเซีย ต้องจับกลุ่มกัน ชาวสวนยางต้องไม่วางขาไว้บนสวนยางเท่านั้น แต่ต้องมองไปถึงการแปรรูปด้วย เช่น ทำทั้งยางน้ำ ยางแผ่น และยางแกว เพื่อยกระดับสินค้า..
           "การไหลเวียนของแรงงานเป้นทางเลือกที่ถุกบีบบังคับและเสียสละในนามความสมานฉันท์ของอาเวียนเพื่อให้กลุ่ททุนร่ำรวย เราจะทำอย่างไรให้เกิดอาเซียนภาคประชาชนเพื่อสร้างดุลอำนาจในการต่อรอง จึงจะเพ่ิมพลังให้แก่ขาของเราได้ รวมทังการสร้างเครือข่ายที่หลากหลาย มีการพูดคุยกันในกลุ่มอาเซียนหรือเกิดสมาคมที่เข้มแข็งมากขึ้น เพื่อเป้ฯเงื่อนไขที่จะสามารถต่อรองกับกลุ่ทุนได้มากขึ้น มิฉะนั้นชาวบ้านจะตกทุกข์ได้ยากมากขึ้น และอาจเกิดสลัมในชนบทมากขึ้น.. "เมื่อรัฐคู่กับทุน ชุมชนต้องคู่กับความรู้" http://www.thaipoet.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538796648&
             

วันพุธที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Tone

          ภาษาเป็นสิ่งมหัสจรรย์ มันทำหน้าที่เป็นเครื่องมือให้มนุษย์ใช้สื่อสารระหว่างกันและกันภาษาทุกภาษามีโครงสร้าง โครงสร้างของภาษาประกอบขึ้นจาก เสียง คำวลี ประโยค และความหมาย โดยมีเสียงเป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดเสีีงในแต่ละภาาามีทั้งความเหมือนและความแตกต่างกัน เช่น ทุกภาษามีเสียงสระ บางภาษาในประเทศแอฟริกาใช้เสียงเดาะลิ้นสื่อความหมายถึงกัน ในขณะที่บางภาษาไ่ใช้เสียงเดียวกันนี้สื่อความหมาย เป็นต้น
         เสียงวรรณยุกต์เป็นองค์ประกอบหนึ่งในโครงสร้างทางเสียง ซึงไม่ได้พบในทุกภาษา แต่พบมากในภาษาแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นับได้ว่า เสียววรรณยุกต์เป็นเอกลักษณ์ทางภาษาอัโดเด่นของภูมิภาคนี้ นักภาษาศสตร์ที่มีชื่อเสียงท่านหนึ่งยอมรับว่าดินแดนแถบนี้เป้นดินแดนี่มี่เสียงวรรณยุกต์เจริญงอกงามได้ดี..
               หลายภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใช้เสียงวรรณยุกต์ในการจำแนกความหมายของคำ เช่น ภาาาไทย ภาษในตระกูลไท-กะได คำว่า "มา" มีระดับเสียงเป้ฯเสียงกลาว-ระดับ ส่วนคำว่า "หมา" มีระดับเสียงเป้นเสียงกลาง-ขึ้น ทั้งสองคำมีเสียงพยัญชนะ (m-) และเสียงสระ (-aa) ซึ่งไม่มีนัยสำคัต่อการจำแนกความหมายของคำทั้งสอง เนื่องจากทั้งสองคำมีเสียงพยัญชนะและเสียงสระเหมือนกันทุกประการ ตแ่เป็นเสียงกลาง-ระดับและเสียงกลาง-ขึ้น ที่ทำให้ความหมายของคำว่า "มา"  และ "หมา" แตกต่างกันเสียงวรรณยุกต์จึงมีความสำคัญต่อภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
            แนวคิดเรื่องกำเนิดและพัฒนาการของเสียงวรรณยกต์กล่าวถึงการเกิด เพื่ม หรือลดของเสียงวรรณยุกต์ด้วยอิทธิพลจากปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอก ซึ่งนักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ที่สนใจเรื่องกำเนิดและพัฒนาการองเสียงวรรณยุกต์ให้ความสำคัญกับการศึกษาปัจจัยภายในโดยมีส่วนน้อยที่ให้ความสนใจกับปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายในคือการเปลี่ยนแปลงภายในของตัวของภาษา และปัจจัยกระบวนการกร่อนของพยางค์จากคำหลายพยางค์สู่การป็นคำพบางค์เดียว การเปลี่ยนแปลงเสียงพยัญชนะต้น การเปลี่ยนแปลงเสียงพยัญชนะท้าย และคุณสมบัติของสระ เป็นต้น
            การศึกษาเสียงวรรณยุกต์ากอดีตจนถึงปัจจุบันช่วยบอกความสัมพันธ์ทางเชื้อชาติของคนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต การสร้างแผนที่ภาษา เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับการศึกษาภาษาวัฒน
ธรรม และการท่องเที่ยว การศึกษาเรื่องเสียงวรรณยุกต์และที่มรที่ไปของเสียงวรรณยุกต์ยังมีประธยชน์ต่อการศึกษาวิวัฒนาการของมนุษย์ในสาขาวิทยาศาสตร์ รวมถึงการศึกษาการรู้จำเสียงในสาขาวิศวกรรมศาสตร์
             โครงสร้างทางเสียงในภาษาประกอบขึ้นจากเสียงเรยง และเสียงซ้อน เสียงเรียง ได้แก่ เสียงพยัญชนะ และเสียงสระ ส่วนเสียงซ้อน ได้แก่ การลงเสียงหนกเบา ทำนองเสียง เสียงวรรณยุกต์
              นักภาษาศาสตร์ พบวา ทุกภาษาในโลกนี้มีเสียงสระ ภาษาบางภาษามีเสียงพยัญชนะและการลงเสียงหนักเบา ส่วนทำนองเสียงและเสียงวรรณยุกต์ก็เช่นกัน จะพบไ้ในบางภาษเท่านั้นนักภาษาศาสตร์นิยมใช้เสียงในภาษาเหล่านี้เป้ฯเกณฑ์ใการจัดกลุมภาษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเสียงวรรญุกต์ ซึ่งเป้นลักษณะโดดเด่นของภาษาที่มีทำนองเสียง ส่วนภาษามีวรรณยุกต์พบมาในเอเชียตะวันออกเแียงใต้ เช่น ภาษาไทย ภาษาเวียดนาม ภาษาลาว ฯลฯ การใช้เสียงวรรณยุกต์จำแนกความหมายของคำจึงเป็นลักษณะเด่นประการหนึ่ง ยกตัวอย่าง ภาษาไทย ซึ่งเสียงวรรณยุกต์มีนัยสำคัญทางภาษาศาสตร์ในระดับคำ กล่าวคือ ภาษาไทยใช้ระดับเสียง สูง-ต่ำ และขึ้น-ลง เพื่อทำให้ความหมายของคำแตกต่างกัน
               ภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การศึกษาแนวคิดเรื่องกำเนิดและพัฒนาการของเสียงวรรณยุกต์ส่วนมากเกิดขึ้นในภาษาแถบเอเชียตะวันออกเแียงใต้ ดดยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นดินแดนส่วนหนึ่งของทวีปเอเชีย มีอาณาบริเวณตั้งแต่อินเียตะวันออก ไปถึงทางใต้ของประเทศจีน และบริเวณระหว่งมหาสุทรอินเดียและมหาสุทรแปซิฟิก ดินแดนนี้มีความหลากหลายทาเชื้อชาติ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม รวมถึงภาษา ความหลกหลายทางภาษาในเอเชียตะวันออกเแียงใต้จึงเป้ฯที่สนใจของนักภาษาและภาษาศาสตร์ทั้งในอดีตและปัจจุบัอย่างมาก
            นักภาษาศาสตร์แบ่งภาษาในเอเชียตะวัอกเฉยงใต้ด้วยหลักเกณฑ์ทางภาาาศาสรตร์ได้เป็น 5 ตระกูลได้แก่
             1. ตระกูลไท-กะได ใช้พูดกันในประเทศไทย ประเทศลาว ประเทศพม่า ประเทศจีนตอนใต้ บางส่วนของประเทศอินเดีย เช่น ภาษาไทย  ภาษาลาว ภาษาัม
              2. ตระกูลจีน-ทิเบต ใช้พูดกันในเขตปกครองตนเองทิเบตสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ประเทศเวียดนาม ประเทศปากีสภาน เชนภาษาจีน ภาษาพม่า
           
  3. ตระกูลแม้ว-เย้า หรือ ม้ง-เมี่ยน ใช้พุดกันในประเทศจีนตอนใต ประเทศเวียดนามตอนเหนือ ประเทศไทยตอนเหนือ เชนภาษาแม้ว ภาษาเย้าหรือภาษาเมี่ยน
              4. ตระกูลออสโตรเอเชียติก หรือ มอญ-เขมร ใช้พูดกันในประเทศไทย ประเทศเวียดนาม ประเทศกัมพูชา ประเทศมาเลเซีย เช่น ภาษาเวียดนาม ภาษาขมุ ภาษาในสาขาอัสเลียน
              5. ตระกุลออสโตรนีเซียน ใช้พูดกันมากในประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย ประเทศกัมพูชา ประเทศฟิลิปินส์ และหมู่เกาะในมหาสทุรแปซิฟิก เช่นภาษาอินโดนีเซีย ภาษามาเลเซีย
              เมื่ใช้เกณฑ์สัทศาสตร์และสัทวิทยา หรือ เกณฑ์ทางเสียงภาษาใน 5 ตระกูลนี้มีฃักาณะ 3 แบบ คือ
             1ภาษามีวรรณยุกต์ หมายถึง ภาษาที่ใช้ระดับเสียงจำแนกความหมายของคำ
             2 ภาษามีลักาณน้ำเสียง หมายถึง ภาษาที่ใชลักาณะน้ำเสียงจำแนกความหมายของคำ ได้แก่ เสียงก้องธรรมดา เสียงก้องต่ำทุ้ม สัญลักษณ์ เสียงก้องเครียด ฯลฯ เช่น ภาษาว้า คำว่า "กีตาร์" กับ "ใหญ่"
             3. ภาษาไม่มีวรรณยุกต์และไม่มีลักาณะน้ำเสียง หมยถึง ภาษาที่มไ่ไ้ใช้ทังเสียงวรรณยุกต์หรือลักษระน้ำเสียงในการจำแนกควาหายของคำ
             ภาษาในตระกุลไท-กะได ตระกูลจีน-ทิเบต และตระกุลแม้ว-เย้า มีลักาณเด่น คื อเป้นภาษามีวรรณยุกต์ ภาาาในตระกุลออสโตรเอเชียติก หรือ มอญ - เขมร มีลักษณะเด่น คือ เ้นภาาามีลักษณะ น้ำเสียง ส่วนภาษาในตระกุลออสโตรนีเวียนมลกาณะเด่น คือ เป้นภาษาไม่มีวรรณยุกต์และไม่ลักษระน้ำเสียง
              ความหลากหลายของการม หรือ ไมีมีเสียงวรรณยุต์ภายในตระกุลเดียวกัน ทำให้นักภาษาสาสตร์เอเชียตะวันออกฌียงใต้จำนวนมากค้นคว้าและวิจัย เพื่อหาคำตอบเกี่ยวกับกำเนิและพัฒนาการ ของเสียงวรรณยุกต์
               นอกากลักษณะทางเสียง 3 แบบหลักที่กล่าวมาแล้ว ได้แก่ การเป็นภาษาที่วรรณยุกต์ การเป็นภาษามีลักษณน้ำเสียง และการเป็นภาษาไม่มีวรรณยุกต์และไม่มีลักษณะน้ำเสียง ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยังมีภาษาอีกแบบหนึ่ง ซึ่งนักภาษาศาตร์จัดเป้นลักษระทางเนียงแบบบ่อยในภาษามีัวรรณยุกต์ นั่นคือ ภาษาที่มีรูปแบบการลงเสียงหนักเบา เช่น ภาษามลายูถิ่นปัตตานี โดยลักษะของภาษาที่มีรูปแบบการลงเสียงหนักเบา หมายถึง พยางค์ที่ได้รับการลงเสียงหนักในภาษานั้นจะมีระดับเสียงสูง ส่วนพยางค์ที่ได้รับการลงเสียงเบาจะมีระดับเสียงต่ำ และรูปแบบการลงวเสียงหนักเบาที่แตกต่างกันนั้นจะมีนัยสำคัญทงภาษาศาสตร์ในการจำแนกความหายของคำสองคำ เช่น ตัวอย่งจากภษมลายูถิ่นปัตตานี
           ภาษามลายูถ่ินปัตตานี เป็นภาษาที่ใช้พูดกันมากในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย เช่น จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส และยังมีภาษามลายูถิ่นที่ใช้พุดกันในอภเภอท่าอิฐ จังหวัดนนทบุรี ด้วยทีมีลักษณะภาาแบบนี้
            การกำเนิแนวคิเรื่องกำเนิและพัฒนาการของเสียงวรรณยุกต์ไปใช้ นักภาษาสษสตร์ได้ใช้ระเบยบวิธีวิจัยทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์ เชิงประวัติและเปรียบเทียบ และระเบียบวิธีวิจัยทางสัทศาสตร์ คือ กลสัทศาสตร์และโสตสัทศาสตร์ มาพิสูจน์แนวคิดนี้ อย่งไรก็ตาม แม้จะมีนักภาษาศาสตร์ทั่วโลกจำนวนมากสนใจศึกาาแนวคิดดังกล่าว กลับมีนักภาษาศาสตร์ในประเทศไทยจำนวนไม่มากนักที่ศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจัง ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากยังไม่เห็นประโยชน์ของการนำแนวคิดนี้ไปใช้
            ปัจจุบันเป็นที่ชัดเจนว่าแนวคิดนี้สามรถนำไปใช้ในการสร้างแผนที่ภาษาซึ่งเป็นฐายข้อมุลสำคัญในการศึกษาภาษา วัฒนธรรม การท่องเที่ยว การอพยพย้ายถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ และประวัติศาสตร์

                    - บางส่วนจาก "หนังสือภาษาศาสตร์เสียงวรรณยุกต์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : กำเนิดและพัฒนาการ.
             

วันอังคารที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Tai–Kadai : The Central Tai - East Langauges III

         ภาษาจีนที่อยู่ในกลุ่มตระกูลไทล์กรุ๊ป
         - ภาษาลาวเป็นภาษาของประเทศลาวเป็นภาษาที่มีวรรณในกลุ่มภาษาไทเปและภาษาอื่น ๆ ที่คล้ายคลึงกับภาษาของประเทศ ประกอบไปด้วยพยัญชนะและความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอักษรไทย
          ห้องชุดขนาดใหญ่ 6 ห้องนอน
          ภาษาเวียงจันทน์ (เวียงจันทน์บอลิ์ไซไซ)
          ลาวเหนือ (หลวงพระบางไชยบุรีอุดมไซหลนทา)
          ภาษาลาว (คำม่วนสุวรรณเขต)
          ภาษาไทย (จำปาศักดิ์สาละวันเซรคุณกองอัตตะปือ)
       
ภาษาลาว (ไม่มีในประเทศลาวร้อยเอ็ด)
          แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจสำหรับผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา ได้ทั่วประเทศการเรียนรู้ภาษาลาวในประเทศฃฃฃฃ </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> ภาษาไทยเป็นพลเมืองของประเทศจีน สามารถฟังได้ทุกที่ทั่วโลก
           ส่วนในประเทศลาวนอกจากสำเนียงถิ่นใหญ่แล้วยังมีสำเนียงแตกออกไปอีกหลายสำเนียงย่อยเชนภาษาลาวใต้ถิ่นสาละวันภาษาลาวกลางถิ่นสุวรรณเขตสำเนียงย่อยถ่ินเมืองอาดสะพังทองถิ่นเมืองจำพอนภาษาเวียงจันทน์ถิ่นเมืองปาก งึม ฯลฯ นอกจจากนี้ยังมีผู้พูดภาาาลาวใจ้ถิ่นจำปาศักดิ์ในจังหวัดพระวิหารสตึงแตรงและรัตนคีรีของประเทศกัมพูชาด้วย
          - ภาษาญ้อหรือภษาไทญ้อเป็นภาษากลุ่มไท - ลาวที่พุดกันในหมู่ชาวไทญ้อซึ่งมีอยู่ในประทเศไทยราว 50,000 คน ( พ.ศ. 2533) ในจังหวัดสกลนครหนองคายนครพนมมหาสารคามปราจีนบุรี และสระบุรีสวนใหญ่อพยพมาจากประเทศลาวเป้นชาวไทญ้อส่วนใหญ่พุดภาาาลาวอีสานได้ด้วย
           ภาษาญ้อจัดอยุ่ในตระกุลภาษาไท - กะไดภาษากลุ่มคำ - ไทสาขาเบ - ไทสาขาย่อยไต - แสกมีลัำกาณะคล้ายคลึงกับภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาลาวสำเนียงหลวงพระบางมีพยัญชนะ 19 เสียงสระ เดี่ยว 18 เสียงสระประสม 3 เสียงวรรณยุกต์ 4 เสียงพยัญชนะควบกล้ำ 6 เสียง
การฟ้อนรำของชาวไทญ้อ
         - ภาษาผู้ไทเป็นภาษาในตระกูลภาษาไท - กะไดมีผู้พูดจำนวนไม่น้อยกระจัดกระจายในภูมิภาคต่างๆของไทยและลาวเข้าใจวาผู้พูดภาษาผู้ไทมีถิ่นที่อยุ่ตั้งเดิมอยู่นเมืองนาน้อยอ้อยหนูยังเป็นที่ ถกเถียงกันว่าเมืองนาน้อยอ้อยหนูอันเป็นถิ่นฐานด้งเดิมของผุ้ไทอยู่ที่ไหนเพราะปัจจุบันมีเมืองนาน้อยอ้อยหนูอยู่ถึงสามแห่งตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองแถงหรือปัจจุบันคื จังหวัดเตียนเบียนฟูแห่งที่สองอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองแถงและแห่งที่สามอยู่ห่างจากเมืองลอของเวยดนามประมาณ 10 กิโลเมตร
          ชาวไทดำกับผุ้ไทเป็นคนที่มีเชื้อสายน้อยกว่า 1.500 ปีมาแล้วในปัจจุบันมีการจัดให้ภาาา อยู่ห่างจากจังหวัดนนทบุรีเป็นเมืองที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในประเทศไทย มีแนวโน้มว่าจะเป็นไปในทิศทางที่ถูกต้องและเป็นที่นิยมมากในหมู่ผู้คน ไทสองฝังโขง"
         
 ผู้พูดภาาาผู้ไทในประเทศไทยส่วนใหญ่อยุ่ในบริเวณจังหวัดภาคอีสานตอนบน ได้แก่ จังหวัดกาฒสินธุ์, นครพม, มุกดาหาร, ร้อยเอ็ดและสกลนครนอกจากนี้ยังมีอีกเล็กน้อยในจงวหัดอุบราชธารนี, อุดรธานี และจังหวัดบึงกาฬโดยในแต่ละท้องถ่เนจะมีสำเนียงและคำศัพท์ที่แตกต่างกันไป
          เป็นที่น่าสนใจว่าเป็นภาษาที่มีการกระจายอยู่ในแถบอีสาน แต่สำนึกแล้วและคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีอยู่ในภาษาไท พูดง่าย ๆ แต่ก็ไม่ค่อยมีคนพูดภาษาไทยได้มากเท่าไหร่เพราะคนพูดภาษาไทยไม่เข้าใจหรือพูดภาษาไทยได้เลย
          ภาษาไทยในภาษาอังกฤษภาษาไทยภาษาอังกฤษภาษาไทยภาษาอังกฤษภาษาไทยภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษภาษาจีน กรรม "ไม่ใช้รูปแบบโครงร่าง
           "ผาเหล้านีหน่า" แปลจาก http://en.wikipedia.org/wiki/Outi_New_America_Photo_Photo_Photo_Photo_Photo_Photo.jpg "ผาเหล้าห้วย" แปลว่า "ผาเหลานีหน่า" แปลจากภาษาอังกฤษว่า เป็นเรื่องที่น่าสนใจมากยิ่งขึ้นไปอีกเช่นเดียวกับที่เราได้รับการรับรองจากกระทรวงสาธารณสุขว่าเป็นประเทศที่มีการระบาดของโรคเอดส์ในประเทศพม่า เป็นห้าตัวอย่างประโยค นัมเบอร์ฮูป้าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่า ต้น
            - ภาษาไทยภาษาอังกฤษเป็นภาษาเดียวกับภาษาอื่นที่ใช้ในการแปลภาษาไทย
            1. ภาษาลาวเวียงจันทน์ใช้ในประเทศลาวท้องถที่นครหลวงเวียงจันทน์เเขวงบอลิคำไซและในประเทศไทยท้องถที่จังหวัดชัยภูมิหนองบังลำภูหนองคาย (อำเภอเมืองหนองคายศรีเชียงใหม่ท่าบ่อโพนพิสัยโพธิ์ตากสังคม (บางหมู่บ้าน) ยโสธร ( อำเภอเมืองยโสธรทรายมูลกุดชุมบางหมู่บ้าน) อุดรธานี (อำเภอบ้าผือเพ็ยบางหมู่ย้านศรีสะเกษ (ในบางหมู่บ้นของอภเภอเมืองศรีสะเกษอำเภอขุขัน ์และอภเภอขุนหาญ)
            2. ภาษาลาวเหนือใช้ในประเทศลาวท้องถที่แขวงหลวงพระบางไชยบุรีอุดไซในประเทไทยท้องถที่จังหวัดเลยอุตรดิตถ์ (อำเภอบ้าดคกน้ำปากฟากท่า) เพชรบูรณ์ (อำเภอหล่มสักหล่มเก่าน้ำหนาว) ขอนแก่น (อำเภอภูผา ม่านและบางปมู่บ้านของอำเภอสีชมพูชุมแพ) ชัยภูมฺ (อำเภอดอนสาร) พิษณุโลก (อำเภอชาติตระการและนครไทยบางหมุ่ย้า) หนองคาย (อำเภอสังคม) อุดรธานี (อำเภอน้โสมนายุงบางหมู่บ้าน )
         
 3. จังหวัดอุบลราชธานีเขตหนองแขมเขตหนองแขมจังหวัดอุบลราชธานีเขตหนองแขมนครราชสีมาเขตหนองแขมกทม. อำเภอโพธิ์ตาก) และบังเกิดชุมชนลาวพวนในบางแสนในจังหวัดสุโขทัยอุตรดิตถ์แพร่หลายไม่ว่าจะเป็นหมู่บ้านหนองคาย
          4. ภาษาลาวกลางแยกออกเป็นสำเนียง 2 ชั้นคือภาามาลาวกลางถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยเช่นนครพนมสกลนครบังกาฬ (อำเภอศรีเมืองบึงโขงหลงบางหมุ่บ้าน) สุวรรณเขตในประเทศไทยจังหวัดมุกดาหาร
           5. ภาษาลาวในแขวงจำปาศักดิ์สาละวันเขตประเวศจังหวัดพังงาจังหวัดอุบลราชธานีอำนาจเจริญศรีสะเกษยโสธร
             6. ภาษาลาว (ภาาลาลาวร้อยเอ็ด) ไม่มีในประเทศลาวเปโดฯ ใช้ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยท้องฟ้าถลางขอนแก่นกาฬสินธุ์มหาสารคามหนองค (บางใหญ่) และบรแมนด์ใกล้เคียง ร้อยเอ็ดของสยาม
             ส่วนภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษสำหรับการอ่านหนังสือเกี่ยวกับธรรมะหรือพระพุทธศาสนา (เสียงเรียกเข้า) มีเสียงพยุหะ 20 เสียงเสียงเดียว 18 เสียงเสียงประสม 2-3 เสียงบางท้องถิ นอ้าวในปัจจุบันนิยมใช้อักษรไทยตรวจดูบันทึกเรื่องราวต่างๆในทางโลกและทางธรรมผุ้คนส่วนใหญ่ไม่สามารถอ่านตัวอักษรและเสรีภาพในการเขียนบันทึกเป้นภาษา ไม่ได้รับความนิยมในหมู่นักลงทุนโดยส่วนใหญ่ภาษาที่ใช้ในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยใช้สัญลักษณ์ไทยและยันทึกเป็นภาษาไทยเป็นหลักแทนth.wikiped ia.org/wiki/ ตระกูลภาษาไท - กะได
            จากกลุ่มภาษาไทยแล้วในตระกูลภาษาไทกะไดยังมีสาขาอีกเช่นกัน
             กลุ่มญิฮามาวาย (ไหหลำ)
             กลุ่มภาษาขร้า ภาษาเยอรองจีนแผ่นดินใหญ่, ภาษาลาติ ในเวียดนาม, ภาษาลาติขาวพบในเวียดนามเช่นกัน ภาาาปู้ยัง ในจีนแผ่นดินใหญ่ ภาษาจุน บนเกาะไหกลำ ภาษาเอน ที่เวียดนาม, ภาษากาเบียว หรือภาษาละกัว ภาษาปูเปียว หรือภาษาเปน ติ โลโล อยบู่ในตระกูลไท-กะได มีผุ้พูดทั้งหมด 310 คน ในเวียดนาม 307 ทางภาคเหนือพูดโดยชาวกวาเบียวในจังหวัดฮาเกี่ยว ประเทศเวียดนามที่เหลือพบในเขตปกครองตนเองชนชาติจ้วงและม้ง เหวินซาน ในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ซึ่งอยู่ใกล้ๆ กัน ผู้พุดในจีนสวนใหญ่มีอายุมาก และมักจะพูดภาษาจีนกลางได้ จัดอยุ่ในตระกูลภาษา ไท -กะได กลุ่มภาษากะได สาขายางเบียว รากศัพท์มีความคล้ายคลึงกับภาษาเกเลา  38% ภาษาลาชิ33% ภาษาจ้วง  30%  ภาษาฮลาย 26%ภาษาลากา  23% ภาษาม้ง 10%  ภาษาลาตัว ในเวียดนาม ภาษาลาฮา ในเวียดนาม
            กุ่มภาษากัม-สุย ประกอบด้วย กลุ่มภาษาลักเกีย-เบียว พบในจีนแผ่นดินใหญ่ อาทิ ภาษาลักเกีย ภาษาเบียว, ภาษากัม-สัย ในจีนแผ่นดินใหญ่ อาทิ ภาษาอ้ายจาม ภาษา เคา เมียว,  ภาษาต้งเหนือ, ภาษาต้งใต้, ภาษาคัง, ภาษาแมก, ภาษามู่หลาน, ภาษาเมาหนาน, ภาษาสุย, เป็นต้น

วันจันทร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Tai–Kadai : The Central Tai - East Langauges II

            กลุ่มภาษาไทกลาง-ตะวันออก กลุ่มภาษาเชียงแสนที่พบในประเทศไทยประกอบด้วย
            - ภาษาไทยถิ่นเหนือ (ภาษาล้านนา, ภาษาไทยวน) พบในประทเศไทยและลาว
              คำเมือง หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นภาษาถิ่นของชาวไทยวนทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ซึ่งเป็นอาณาจักรล้านนาเดิม ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน แม่ฮองสอน ลำพูน ลำปาง พะเยา กละยังมีการพูดและการผสมภาาากันในบางพื้นที่ของจังหวัดตาก สุโขทัย และเพชรบูรณื ปัจจุบันกลุ่มคนไทยวนได้กระจัดกระจายและมีถิ่นที่อยู่ในจังหวัดสระบุรี จังหวัดราชบุรีแลอำเภอของจังหวัดอื่นที่ใกล้เียงกับราชบุรีอีกด้วย
               คำเมืองยังสมารถแบ่งออกเป็นสำเนียงล้านนาตะวันตก (ในจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูด แม่ฮ่องสอน) และสำเนียงล้านนาตะวันออก (ในจังหงัดเชียงราย พะเยา ลำปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน) ึ
จะมีความแตกต่างกันบ้าง คือ สำเนียงล้านนาตะวันออกส่วนใหญ่จะไม่พบสรเอือะ เอือ แต่จะใช้สระเอียะ เอียแทน(มีเสียงเอือะและเอือเพียงแต่คนต่างถิ่นฟังไม่ออก เนื่องจากเสียงที่ออกมาจะเป็นเสียงนาสิกใหล้เคียงกับเอียะ เอีย)
              ส่วนคนในจังหวัดลำพูนมักจะพูดสำเนียงเมืองยอง เพราะชาวลำพูนจำนวนมากสืบเชื้อสายมาจากชาวยองในรัฐฉาน จึงมีสำเนียงที่เป็นเอกลักษณ์
              คำเมืองมีไวยากรณืคล้ายกับภาษาไทยกลางแต่ใช้คำศัพท์ไม่เหมือนกันและไวยากรณ์ที่แตกต่างกันอยุ่บ้าง แต่เดิมใช้คู่กับ อักษรธรรมล้านนาเป็นตัวอักษรของอาณาจักรล้านนาที่ใช้อักษรมอบเป็นต้นแบบ
              ภาษาถิ่นภาคพายัพมีชื่อเรียกหลายชื่อ โดยภาษาจากตระกูลภาษาไทต่างๆ มีชื่เรียกซึ่งคล้ายคลึงหรืไม่เหมือนกัน ภาษาถิ่นพายัพเอง มักเรียกว่ ไกำเมือง" (รูปปริวรรต : คำเมือง) อันแปลว่า "ภาาาของเมือง" หรืออีกชื่อหนึ่งว่่า "ภาษาล้านนา" ส่วนชาวยวนในจังหวัดราชบุรี เรียกภาษาของตนวา "ภาษาลาว" ภาษาไทยมาตรฐาน เรียกวา "ภาษาถิ่นพายัพ", "ภาษาไทยถิ่นเหนือ" หรือเรียกสั้นๆ ว่า "ภาษาเหนือ" หรือ "ภาษายวน" ในอดีตเรียก "ลาวเฉียง" หรือ "คำเฉียง ภาษาลาว เรียกว่า "ภาษายวน"  หรือ "ภาษาโยน"  ภาษาไทลื้อ เรียกว่า "ก๋าโย่น" ภาษาไทใหญ่ เรียกว่า "กว๊ามโย๊น" นอกจากภาษากลุ่มไทดังกล่าวแล้ว ภาษาอังกฤษ เรียกภาษาถิ่นพายัพว่า "North Thai"
         
อ.กาญจนา เงารังษี
 สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับงานวิจัยผุ้ใช้ภาษาไทยถิ่นเหนือไว้ว่า ภาคเหนือตอนบนประกอบด้วย 8 จังหวัดได้แก่ เชียงใหม่, เชียงราย, แม่ฮ่องสอน, ลำพูน, ลำปาง, พะเยา, แพร่และน่าน ประชากรส่วนใหญ่ใช้ภาษาเหนือเป็นภาษากลาง และภาคเหนือตอนล่างประชากรส่วนใหญ่ใช้ภาษาไทยกลาง แต่มีเขตที่พุดภาาาไทยถิ่นเหนือด้วย เช่น ตาก, สุโขทัย, กำแพงเพชร, อุตรดิตถ์, พิจิตร และพิษณุโลก
             สมทรง บุรุษพัฒน์ ได้ระบุว่าภาษไทยถิ่นเหนือเป็นภาษาที่พูดกันทางตอนเหนือของไทย ได้แก่ เชี่ยงใหม่, เชียงราย, แม่ฮ่องสน, ลำพูด, ลำปาง, พะเยา, แพร่, น่าน, ตาก, สุโขทัย, อุตรดิตถ์และบางอำเภอของจังหวัดสระบุรี
             กาญจนา เงารังษีและคณะ ได้สรุปผลการศึกษาภาษาถิ่นเนือที่ใช้บริเวณภาคเหนือตอนล่าง โดยระบุว่า ภาษาเหนือเป็นภาษาถิ่นทีใช้ในพื้นที่ 9 จังหวัด คือ กำแพงเพชร, ตาก, นครสวรรค์, พิจิตร, พิษณุโลก, เพชรบูรณ์, สุโขทัย, อุตรดิตถ์และอุทัยธานี
             การพูดคำเมืองที่เป็นประโยคแบบดั้งเดิมนั้นหายาแล้วเนื่องจากมีการรับอิทธิพลภาษาไทยภาคกลาง ทั้งในสำเนียงและคำศัพท์ สวนนี้จะเป้นส่วนรวบรวมประโยค กำเมือง ดั้งเดิม
             กึ๋นข้าวแล้วกา กินข้าวแล้วหรือยัง
             ยะอะหยั๋งกิ๋นกา ทำอะไรทานหรือ
             ไปตังใดมา ไปไหนมา
              การพูดคำเมืองผสมกับภาษาไทยนั้น คำเมืองจะเรียกว่าแปล๊ด (ปะ-แล๊ด ไทยแปล๊ดเมือง) ซึ่งโดยมากแล้วมักจะพบในคนที่พูดคำเมืองมานานแล้วพยายามจะพูดไทย หรือ คนพูดภาษาไทยพยายามจะพูดคำเมือง เผลอพูดคำทั้ง 2 ภาษามาประสมกัน อนึ่งการพุดคำเมืองที่การแยกระดับของความสุภาพอยุ่หลายระดับ ผุ้พุดต้องเข้าใจในบริบทการพุดว่าในสถานการณ์นั้นๆ ต้องพูดระดับภาษาอย่างไรให้เหมาะสมและมีความสุภาพเพราะมีระบบการนับถือผุ้ใหญ่ คนสูงวัยกว่า อาทิ ลำ (อร่อย) ลำแต๊ๆ (สุภาพที่สุด, ลำขนาด (สุำาพรองลงมา) ลำแมะฮาก (เริ่มไม่สุภาพ ใช้ในหมู่คนที่สนิทกัน) ลำบ๊อยลำง่าว (เริ่มไม่สุภาพ ใช้ในหมู่คนที่สนิทกัน) ลำง่าวลำเซอะ (เริ่มไม่สุภาพ ใช้ในหมุ่คนที่สนิทกัมากๆ) เป็นต้น
           ภาษาไทยถิ่นเหนือนอกเขตภาคเหนือ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ปี พ.ศ. 2347 ได้มีการเทครัวชาวยวนลงมาในเขตภาคกลาง อาทิ จังหวัดสระบุรี (โดยเฉพาะอำเภอเสาไห้) จังหวัดราชบุรี (มีมากที่อำเภอเมือง, อำเภอบ้านโป่ง และอำเภอจอมบึง) จังหวัดนครปฐม (โดยเฉพาะอำเภอกำแพงแสน), จังหวัดกาญจนบุรี (โดยเฉพาะอำเภอไทรโยค) , จังหวัดลพบุรี (ที่อำเภอชัยบาดาล)และจังหวัดนครราชสีมา(เฉพาะอำเภอสีคิ้ว) โดยเฉพาะในจังหวัดราชบุรีมีชาวยวนราวเจ็ดถึงแปดหมื่นคน และมีชาวยวนแทบทุกอำเภอ ยกเว้นเพียงแต่อำเภอดำเนินสะดวกับวัดเพลงเท่านั้น
            ซึ่งภาษาไทยยวนทุกจังหวัดมีหน่วยเสียง พยัญชนะและพน่วยเสียงสระเหมือนกัน รายละเอียดในวรรณยุกต์แทบไม่แตกต่างกัน ยกเว้นภาษายวนลพบุรีที่มีหน่วยเสียงแตกต่างจากอีก 4 จังหวัเพียงหน่วยเสียงเดียวทั้งนี้อาจเป็นเพราะชาวยวนลพบุรีได้อาศัยปะปนอยู่กับหมู่บ้านชาวลา อาจทำให้หน่วยเสียงเปลี่ยนแปลงก็เป็นได้...
            ภาษาพวน หรือภาษาลาพวน เป็นภาษาในตระกุลไท-กะได เป็นภาษาของชาวไทพวนหรือลาวพวน คำศัพท์ใกล้เคียงกับภาษาลาวและภาษาไทยถิ่นอีสานมากว่าภาษาไทยภาคกลางและเป็นภาษาที่ใกช้เคียงกันกับภาษาผู้ไทมาก มีเสียงพยัญชนะ 20 เสียง เป็นตัวสะกดได้ 9 เสียง มีเสียงควบกลุ้เฉพาะ/คฺว/เท่านั้น สระมี 21 เสียง เป้นสระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 3 เสียง วรรณยุกต์มี 6 เสียง
             ลักษณะเด่นของคำพวนเช่น ถ้าใช้ ก เป็นตัวสะกดจะไม่ออกเสียงตัวสะกด ดังเช่น หูก พวนออกเสียงเป้น หุ ปาก พวน ออกเสียงเป็น ปะ แบก พวนออกเสียง แบะ
           
ส่วนคำที่ใช้สระไม้ม้วน (สระ-ใ-) จะออกเสียงตามรูป เช่น ผัดไทยใส่ไข่ พวนออกเสียงเป็นผัดไทยเส่ยไข่ จะไม่พุดว่า ผัดเทอเส่อเข่อ พวนใช้เสียง ร ซึ่งมักจะออกเป็น ฮ แทน เช่น เรื่อน เป็น เฮือน ร่ำเรียน เป็น ฮ่ำเฮียน ไร่นา เป็นไฮ่นา การออกเสียง ย และญ ลักษระการออกเสียงของภาษาไทยนั้น ลิ้นจะอยู่กลางปาก แต่การออกเสียงของคนพวน ลิ้นจะแตะเพดานปากด้านหน้า
                - ภาษาไทโซ่ง หรือภาษาลาวโซ่ง ภาษาลาวโซ่งดำ ภาษาโซ่ง เป้นภาษาที่มีผู้พูดในประเทศไทยราวสามหมื่นสองพันคน พบในจังหวัดกาญจนบุรี เพชรบุรี พิษณุโลก นครสวรรค์ นครปฐม สุพรรณบุรี มีความใกล้ชิดกับภาษาไทดำ อยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษากลุ่มคำ-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไท-แสก
               - ภาษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย และภาาาแม่ของชาวไทย ภาษาไทยเป้นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป้นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกุลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต
                ภาษาไทยเป้นภาษาที่มีระดับเสียงของคำน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาาาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ
                คำว่าไทย หมายถึง อิสรภาพ เสรีภาพ หรือออีความหมายหนึ่งคือ ใหญ่ ยิ่งหใญ่ เพราะการจะเป็นอิสระได้จะต้องมีกำลังที่มากกว่า แช็งแกร่งกว่า เพื่อป้องกันการรุกรานจากข้าศึก คำนี้เป้ฯคำไทยแท้ที่เกิดจากการสร้างคำที่เรียก "การลากคำเข้าวัด" ซึ่งเป็นการลากความวิธีหนึ่ง ตามหลักคติชน วิทยา คนไทยเป็นชนชาติที่นับถือกันว่า ภาษาบาลี ซึ่งเป้ฯภาษารที่บันทักพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าเป้นภาษาอันศักดิ์สิทธิ์และเป็นมงคล เมือคนไทยต้องการตั้งชื่อระเทศว่าไท ซึ่งเป้นคำไทยแท้ จึงเติมตัว ย เข้าไปข้างท้าย เพื่อให้มีลักษณะคล้ายคำในภาษาบาลี-สันสกฤต เพื่อความเป็นมงคล ตามความเชื่อของตน ภาษาไทยจึงหมายถึงภาษาของชนชาติไทยผู้เป็นไทนั่นเอง
                 พ่อขุนรามคำแหงได้ทรงประดิษฐือักษรไทยขึ้นเมื่อปี พงศ. 1826  มี พยัญชนะ 44 ตัว (21 เสียง) สระ 21 รูป (32 เสียง), วรรณยุกต์ 5 เสียง คือ เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ภาษาไทยดัดแปลงมาจากบาลี-สันสกฤต และ เขมร
               ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป้นนายกรัฐมนตรี มีการปฏิรูปภาษาไทยโดยสภาวัฒนธรรมแห่งชาติเมื่อ พ.ศง 2485 มีการเปลี่ยนแปลงหลักฟ ที่สังเกตได้มีดังนี้
               - ตัดพยัญชนะ ข ขวด ค คน ฆ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ศ ษ ฬ แล้วใช้ ข ค ด ด ต ถ ท ธ น ส ส ล ตามลำดับ
               - พยัญชนะสะกดของคำที่ไม่ได้มีรากมาจากคำบาลีสันสกฤต เปลี่ยนเป็นพยัญชนะสะกดตามแม่โดยตรง เช่น อาจเปลี่ยนเป็น อาด, สมควร เปลี่ยนเป็น สมควน
             
 - เปลี่ยน อย เป็นหย เช่น อยาก เป็น หยาก เลิกใช้คำควบไม่แม้ เช่น จริง ก็เขียนเป็น จิง, ทรง ก็เขียนเป็น ซง
               - ร หัน ที่มิได้ออกเสียง/อัน/ ส่วนใหญ่ถูกเปลี่ยนเป็นสระอะตามด้วยตัวสะกด เช่น อุปปสรรค เปลี่ยนเป็น อุปสัค, ธรรม เปลี่ยนเป็น ธัม
               เลิกใช้สระใอไม้ม้วน เปลี่ยนเป็นสระไอไม้มลายทังหมด
               - เลิกใช้ ฤ ฤา ฦ ฦา เปลี่ยนไปใช้การสะกดตามเสียง เช่น พฤกษ์ ก็เปลี่ยนเป็น พรึกส์, ทฤษฝำี ก็เปลี่ยนเป็น พรึกส์, ทฤษฎี ก็เปลี่ยนเป้น ทริสดี
               - ใช้เครื่องหมายวรรคตอนอย่างภาษาต่างประเทศ เช่น มหัพภาคเมื่อจบประดยค จุลภาคเมือจบประโยคย่อยหรือวลี อัตภาคเชื่อมประโยค และจะไม่เว้นวรรคถ้ายังไม่จบประโยคโดยไม่จำเป็น
               หลังจากจอมพล ป. พิบูลสงคราม หลุ่ดจากอำนาจหลังสงครามดลกครั้งที่สองยุติ รัฐนิยมก็ถูกยกเลิกไปโดยปริยายอักขรวิธีภาษาไทยได้กลับไปใช้แบบเดิมอีกครั้งหนึ่งกูลภาษาไท-กะได  th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาไท-กะได

วันอาทิตย์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Tai–Kadai : The Central Tai - East Langauges

           กลุ่มภาษาไท - กะไดแบ่งย่อยออกเป็น 5 สาขา ได้แก่ ภลุ่มภาษาขร้า, กลุ่มภาษากัม - สุย, กลุ่มภาษาไหล, กลุ่มภาษาไทและกลุ่มภาษาอังเบโดยสาขากัม - สุย, สาขาเบและ ไทมักถูกจัดให้อยู่รวมกันเนื่องจากมีคำศัพท์ที่ใช้ร่วมกันจำนวนมากอย่างไรก็ตามการจัดแบ่งเช่นนี้มีความเห็นที่โต้แย้งซึ่งอสตเป็นเพราะมีการแทนที่ศัพท์เข้าไปในสาขาอื่นความคล้ายกันของระบบหน่วยคำทำ ใหมีนักภ ษาศาสตร์จัดสาขาขร้ากับคำสุยเป้ฯ กลุ่มกะไดเหนือทางหสึ่งและสาขาไหลกับไทเป็นกลุ่มกะไดใต้อีกทางหนึ่งแทนดังภาพตำแหน่งของภาษาอังเบในข้อเสนอดังกล่าวไม่ได้ถูกพิจารณา ไปด้วย
          กลุ่มภาษาไทยกลาง, ตะวันออกเฉียงใต้, กลุ่มประเทศไทกลาง - ตะวันออก
           ภาษาที่ใช้ในกลุ่มภาษาไทยกลาง - ตะวันออกประกอบด้วยกลุ่มภาษาเชียงแสน, กลุ่มภาษาลาว - ​​ภูไทและกลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงเหนือ
             ภาษาไทกลาง-ตะวันออก กลุ่มภาษาเชียงแสนที่พบในประเทศเวียดนามประกอบด้วย
             - ภาษาไทดำ มีผู้พูดทั้งหมด เจ็ดแสนหกหมื่นคน อาศัยอยู่ระหว่างแม่น้ำแดงกับแม่น้ำดำ ทางภาคเหนือของประเทศ เวียดนาม หกแสนเก้าหมื่นคน อยู่ในแขวงคำม้วน ประเทศลาว ห้าหมื่นคน อยู่ในจังหวัดเลย ประเทศไทย เจ็ดร้อยคน อพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2428 ลาวโซ่งก็คือคนไทดำกลุ่มแรกที่เข้ามาสูประเทศไทยในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีนอกจากนี้ยังมีผู้พูดภาษานี้ใน ออสเตรเลีย จีน ฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา

            ภาษาไทดำอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษากลุ่มกัม-ไท สาชาเบ-ไท สาขาย่อยไท-แสก อัตราการรู้หนังสือภาษาแม่ราวร้อยละ 1-5 เป็นภาษาของชนกลุ่มน้อยที่สำคัญในเวียดนาม
            - ภาษาไทฮ่างตง เป็นภาษาหนึ่งในตระกุลภาษาไท-กะไดชาวไทฮ่างตงใช้พุดในภาคเหนือของประเทศเวียดนาม มีผู้พูด 10,000 คน (พ.ศ. 2545) ใกล้เคียงกับภาษาไทขาวและภาษาไทดำ
            ชาวไทฮ่างตั้งเป็นชาวไทกลุ่มหนึ่งที่มีประชากรประมาณ 11,000 คนประชากรกลุ่มนี้พูดภาษาไทฮ่างตุงและยังนับถือลัทธิปู่ย่าย่อยพระยาแถลงความเชื่อผีสางนางไม้ และเคล็ดต่างๆ
             - ภาษาไทขาว หรือ าษาไทค่อน มีผู้พูดทั้งหมด สี่แสนเก้าหมื่นคน พบในประเทศเวียดนาม สองแสนแปดหมื่นคน  ทางตอนเนหือของแนวแม่น้ำแดงและแม่น้ำดำ พบในประทเศลาวสองแสนคน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่สามารถเข้าใจกันได้กับภาษาไทดำ ได้รับอิทธิพลจตากภาษาลาว จัดอยุ่ในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มภาษา กัม-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไท-แสก
            ชาวไทขาวหรือชาวไทขาวคนที่พบในพม่าคนที่มีอาการป่วยเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ไชน่าเบย์เบรค - สาขาย่อยไท - แสควอน
            - ภาษาไทแดง หรือภาษาไทโด มีผุ้พูดทั้งหมด 165,000 คน พบในประเทศเวียดนาม หนึ่งสแนสี่หมื่นคน ในบริเวณภาคกลางตอนเหนือในเขตจังหวัดทัญฮว้า พบในประเทศลาว สองหมื่นห้าพันคน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของลาว ใกล้ชายแดนเวียดนาม เป็นสวนหนึ่งของภาษาของชนกลุ่มไทในเวียดนามที่ต่างจากภาษาไทดำ จัดอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษากลุ่มกัม-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไท-แสก

              ชาวไทแดง เป็นพวกเดียวกับชาวไทดำ คือไทเดิมนั้นเอง ผิดกันแต่ประเพณีการแต่างกาย คือชาวไทแดงทั่วไปแต่งกายด้วยเสื้อผ้า สีน้ำเงินแก่ (สีน้ำเงินเป็นสีประจำชาติ ของไทมาแต่อดีต การแต่างกายด้วยสีน้ำเงินแก่ ทำให้ทราบทันที่ว่าเป็๋นคนไท เพราะจีนตามปกติแต่งดำ ญวนแต่างน้ำตาลป ไทแดงมีเครื่องประดับเสื้อผ้า เป็นลูกไม้หรือเป็นลวดลายสีแดง จึงถูกเรียกว่าไทแดง
             - ภาษาไตเติก จำนวนผุ้พุดทั้งหมดไม่แน่นอน ใช้ในเมืองเติ็ก ตอนนี้จัดเป้นส่วนหนึ่งของจังหวัดเซินลาทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม จัดอยู่ในตระกูลภาาาไท-กะได กลุ่มภาษากัม-ไท ใกล้เคียงกับ ภาษาไทแดง และภาษาไทขาว คนไตเติ๊กมีระบบอักษรส่วนตัว มีเสียงพยัญชนะ 22 เสียง สระ 13 เสียง วรรณยุกต์มี 6 เสียง สำหรับพยางค์เปิด และ 3 เสียง สำหรับพยางค์ปิดth.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาไท
           
         

วันเสาร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Tai–Kadai : Southwestern Tai languages

            ตระกูลภาษาไท-กะได พบว่าใช้พุดกันทางตอนใต้ของจีน ทางตอนเหนือของสาธารณรัฐประชาชนเวียดนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ประเทศไทย เปนต้น
            ภาษาในตระกูลไท-กะไดประกอบด้วย กลุ่มภาษาขร้า, กลุ่มภาษากัม-สุย, กลุ่มภาษาไหล, กลุ่มภาษาไทและกลุ่มภาษาอังเบ 
             กลุ่มภาษาไทแยกย่อยออกเป็น กลุ่มภาษาไทเหนือ, กลุ่มภาษาไทกลาง, กลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ และกลุ่มภาษาไทกลาง-ตะวันออก
             กลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ เป็นกลุ่มภาษาไทในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กลุ่มภาษานี้มี ภาษาไทย ภาษาลาว ภาษาไทยถิ่นเหนือ  และภาษาไทใหญ่ เป็นต้น กลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ เป็นกลุ่มย่อยในตระกูลภาษาไท ซึ่งตระกูลภาษาไทเป็นหนึ่งในสาขาของตระกูลภาษาไท-กะได 
             ภาษาไททัญ หรือภาษาไทมันทัญ มีผุ้พุดในประเทศเวียดนาม 20,000 คน ทางภาคเหนือ จัดอยุ่ในตระกูลภาษากัม-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไท-แสก ใกล้เคียงกับภาษาไทขาว ภาษาไทดำ และภาษาไทฮ่องกง
             ภาษาตั่ยซาปา หรือภาษาซาปา มีผุ้พุดประมาณ 300 คน ในเมืองซาปา จังหวัดหล่าวกายทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเวียดนาม จัดอยุ่ในตระกูลภาษา ไท-กะได กลุ่มภาษากัม-ไท เป้นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และมีความใกล้ชิดกับภาษาไทยในกลุ่มไทตะวันตกเฉียงใต้
            ภาษายอง มีผู้พูดในประเทศไทย 12,000 กว่าคนส่วนใหญ่อาศัยอยุ่ในจังหวัดลำพูน และบางพื้นที่ของจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเชียงราย ผู้พูดพูดภาษาไทยถ่ินเหนือได้ด้วยนับถือศาสนาพุทธอาจมีผุ้พุดภาษานี้ในเมืองยอง รัฐฉานประเทศพม่า ใกล้เคียงกับภาษาไทลื้อ จัดอยุ่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษากลุ่มคำ-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไต-แสกth.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาไท-กะได
            ชาวไทยอง หรือ ชาวเมืองยอง ใช้เรียกกลุ่มคนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณเมืองยอง และกระจายอยู่ในด้านตะวันออกของรัฐฉาน ประเทศพม่า  เขตสิบสองพันนา ในมณฑลยูนนานของจีน ภายหลังได้อพยพเข้ามตั้งบ้านเรือนใน จังหวัดละพูน เชียงใหม่ เชียงราย และน่าน ในสมัยรัชกาลที่ 1 ภายใต้กุศโลบาย "เก็บผักใสซ้าเก็บข้าใส่เมือง" ของ พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ แห่งราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ เพื่อรื้อฟื้นอาณาจักรล้านนาภายหลังการยึดครองของพม่าสิ้นสุดลง 
            จากตำนานชาวเมืองยองได้อพยพมาจากเมืองเชียงรุ้งและเมืองอื่นๆ ในสิบสองปันนา ซึ่งเป็นคนไทลื้อ และได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานครั้งใหย่ในเมืองลำพูน และเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2348 ด้วยสาเหตุของสงคราม เจ้าเมืองยองพร้อมด้วยบุตรภรรยา น้องทั้ง 4 ญาติพี่น้อง ขนุนนาง พระสงฆ์และไพร่พลจากเมืองยองจำนวน 20,000 คนเข้ามาแผ้วถางเมืองลำพูนที่ร้างอยู่ ตั้งบ้านเรือนตามลุ่มน้ำแม่ทา น้ำแม่ปิง ผู้คนทั่วไปในแถบนั้นจึงเรียกคนที่มาจากเมืองยองวา ชาวไทยอง ..th.wikipedia.org/wiki/ไทยอง
            ภาษาถิ่นใต้ หรือ ภาษาตามโพร เป็นภาษาถิ่นที่ใช้ในภาคใต้ของประเทศไทย นับแต่จังหวัดชุมพรลงไปถึงชายแดนประเทศมาเลเซียรวม 14 จังหวัด และบางส่วนจองจังหวัดประจวบคีรีขันธุ์ อีทั้งบางหมู่บ้านในรัฐกลันตัน รัฐปะลิส รัฐเกอดะฮ์(ไทรบุรี) รัฐเประก์ และรัฐตรังการนู ประเทศมาเลเซีย รวมถึงบางหมู่่บ้าน ในเขตตะนาวศรี ทางตอนใต้ของประเทศพม่าด้วย ภาษาไทยถ่ินใต้ มีเพียงภาษาพูดเท่านั้น ไม่มีตัวอักษรเขียนเฉพาะ
            ระบบเสียงสระ ระบบเสียงสระ สระเดี่ยว อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ สระประสม เอียะ เอีย เอือะ เอือ อัวะ อัว
           
 ระบบเสียงวรรณยุกต์ มีถึง 7 หน่วยเสียง ได้แก่
             สุง-ขึ้น-ตก [453] และสูง-ขึ้น [45]
                    - สูง-ขึ้น-ตก [453] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์เป็นที่มีเสียงพยัฐชนะต้นเป็นพวกอักษรสูง หรืออักษรต่ำสูงนำ
                     - สูง-ขึ้น [45] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ตายที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรสูง หืออักษรต่ำที่มีอักษรสูงนำ และมีพยัญชนะเสียงกัก (ก,ด, บ) เป็นเสียงสะกด
              สูง-ระดับ (ตกตอนท้าย) [44] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ตายที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรสูง หรืออักษรต่ำที่มีอักษรสูงนำ
              กลาง-ขึ้น-ตก [343] และกลาง-ขึ้น [34]
              กลาง-ขึ้น-ตก [343] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์เป็นที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพกอักษรกลาง
               กลาง-ขึ้น [34] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ตายที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรกลาง และมีพยัญชนะเสียงกัก ( ก, ด, บ) เป็นเสียงสะกด
              กลาง-ระดับ [33] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์เป็นและพยางค์ตายเสียงยาวที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรกลาง
              ต่ำ-ขึ้น-ตก[232] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรต่ำ
              ต่ำ-ขึ้น [24] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์เป้ฯและพยางค์ตายเสียงยาวที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็พวกอักษรต่ำ
              ต่ำ-ตก [21] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์เป็นและพยางค์ตายเสียงสั้นที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรต่ำ
              คำควบกล้ำ ในภาษาไทยถิ่นใต้นั้น มี 15 เสียง ได้แก่ กร, กล, กว, ดร, คล, คว, ตร, บร, บ (ซึค่งออกเป็นเสียงธนิตควบกล้ำด้วย ร), ปร, ปล, พร, พล, มร, มล
              เพิ่มเติมครับ มีคำควบกล้ำ ที่ไม่ได้อยู่ในหลักภาษาไทยด้วย ได้แก่
              พมฺรฺ เช่น คำว่า :  หมฺรับ (อ่านว่า "หมฺรับ" ห เป็นอักษรนำ ตามด้วย ม ควบกล้ำด้วย ร) แปลว่า สำรับ ไม่ได้ อ่านว่า หม-รับ หรือ หมับ ให้ออกเสียง "หมฺ" ควบ "ร") เช่น การจักหมฺรบ ประเพณีสารทเดือนสิบ
               ทร เช่น : เทริด (อ่านว่า เซิด แปลว่า เครื่องสวมศรีษะของกษัตริย์ รูปร่างลักษณะคล้ายชฎา)
                สำเนียงย่อย ภาษาไทยถิ่นได้ แยกออกเป็น 3 กลุ่มหลัก คือ ภาษาไทยถิ่นไใต้ตะวันออก(ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงนครศรีธรรมราช ถือเป็นกลุ่มย่อยในภาษาไทยถิ่นไดต้ระวันออก), ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตก และ ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตากใบ (จ๊ะเห)
           
 ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก (สำเนียงนครศรีธรรมราช) ได้แก่ ภาาไทยถ่ินใต้ที่พูดกันมากทางฝั่งตะวันออกของภาคใต้ บริเวณจังหวัดนครศณีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตสนี โคกโพธิ์, อำเภอแม่ลาน, อำเภอหนองจิก และ อำเภอเมือง) ตรัง สตูล (และในรัฐปะลิส-หมู่บ้นควนขนุนบ้านหนองจิก และอกภอเมือง) ตรัง สตูล (และในรัฐปะลิส-หมู่บ้านควนขนุน บ้านตาน้ำ, ในรัฐเคดาห์-บ้านบางควมย บ้านบาลิ่ง) ภาษาไทยถิ่นใต้ที่ใช้ในกลุ่มนี้ จะมีลักษณะของภาษาที่ค้ายคลึงกั (ตรัง และสตูล แม้จะตั้งอยู่ฝั่งทะเลตะวันตก แต่สำนเียงภาษาถือเป็นกลุ่มเดียวกับพัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช คือ ออกเสียงตัวสะกอ ก. ไก่ ได้ชัดเจน)
              ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตก ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นใต้ ที่พูดอยู่บรเวณพท้นที่จังหวัดกระบี่ จังหวัดเหล่านี้ จะมมีลักษณะเด่นที่คล้ายคลึงกัน เช่นออกเสียงคำว่า แตก เป็นแตะ, อกไม้ เป็นเดะไม้, สามแยกเป็นสามแยะ ฯลฯ รวมถึงภาษาไทยถิ่นใต้ในเขตอำเภอขนอม นครศรีธรรมราช ซึ่งอยุ่ทางทิศตะวันออกของเทือกเขา นครศรีธรรมราช (เขาหลวง) และในกลุ่มอำเภอฉวาง พิปูน ถ้ิพรรณเรา และทุ่งสงซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกของเทือกเขานครศรีธรรมราช (เขาหลวง) ก็จัดอยู่ในกลุ่มนี้ส่วนจังหวัดชุมพร และจังหวัดชุมพร และจังหวัดสุราษฎร์ธานี แม้จะต้ังอยู่ฝั่งทะเลตะวันออก แต่สำเนียงภาษา ก็ถือเป็นหลุ่มเดียวกับจังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต คือ ออกเสียงตัวสะกด ก.ไก่ ไม่ได้
         การแบ่งเขตระหว่างพื้นที่ ที่ใช้ภาษาถิ่นใต้ตะวันออก (คำที่มีเสียงสระยาวสามารถออกเสียง ก. สะกดได้ชัด) สามารถกำหนดแนวแบ่งเขตคร่าวๆ ได้โดยลากเส้นแนวแบ่งเขต ระหว่งอำเภอขนอม และอำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราชลากขึ้นเขาหลวง แล้ววกลงไปทงใต้ ดยใช้แนวเขาหลวง เป็นแนวแบ่งเขต ผ่านลงไปถึงจุดระหวางอำเภอทุ่งสง และอำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช จากนั้นวกไปทางทิศตะวันตก ไปยังอำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ตรดทะเลอันดามัน
           ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงสงขลา ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นใต้ที่พุดอยู่บริเวณพื้นที่จังหวัดสงขลา บางส่วนของจังหวัดปัตตานี และจังหวัดยะลา ถือเป็นกลุ่มย่อยในกลุมภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก มีลักษณะที่เด่นคือ หากเสียงจะไม่ขาดห้วย แต่จะ่อยๆ เบาเสียงลง ซึ่งลักษณะดังกล่าว ช่วยให้ภาษาสงขลาฟังแล้วไม่หยาบกระด้าง อยางสำเนียงใต้ถ่ินอื่น นอกจากนี้ยังมีคำที่ใช้บ่อยในสำเนียงนี้ คื อคำว่า เบอะ หรอ กะเบอะ ซึ่งมีความหมายภาษาไทยมาตฐานว่า เพราะว่า.., ก็เพราะว่า.., ..นีนา เรียกเงินว่า เบี้ย ในขณะที่ถิ่นอื่นนิยมเรียกว่า ตางค์ และคำที่นิยมใช้อีกคำหนึ่ง คือ ไม่หอน ซึ่งมีความหมายวา ไม่เคย เช่น ฉานไม่หอนไป เป็นต้น
              ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตากใบ หรือ ภษาไทยถิ่นใต้สำเนีงเจ็ะเห ได้แก ภาษาไทยถิ่นใต้ทีพุดอยู่บริเวณพื้นที่จังหวัดนรธิวาส จังหวัดปัตตานี (เฉพาะ อำเภอยะหริ่ง อำเภอปะนาเระ และอำเภอสายบุรี) รวมทั้งในเขตรัฐกลันตันของประเทศมาเลเซีย ในหมู่บ้านที่พูดภาษาไทย จะใช้ภาษาไทยถิ่นใต้สำนเียงเจ๊ะเหนอกจากนี้ยังสมารถแบ่งย่อยได้อีกหนึ่งภาษา คือ ภาษาถิ่นพิเทม ซึ่งพูดกันในตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง และตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี เท่านั้น
             ในเขตจังหวัดนราธิวาส เนื่องด้วยมีคนในจังหวัดอื่นๆ มาอาศยหรือทำงานในจังหวัดนราธิวาส จึงนำภาษาไทยถิ่นใต้ของแต่ละจังหวัดมาพูดกันในจังหวัด นราธิวาส ส่วนใหญ่จะเป็นชาวใต้จากจังหวัด พัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช คนนราธิวาส จึงมีภาษาไทย 2 สำเนียง คือ ภาษาไทยถิ่นใต้ สำเนียง เจ๊ะเห และสำเนียงภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันอก ภาษไทยถิ่นใต้สำเนียง เจะเห มักพูดกันในกลุ่มเครือญาติ หรือตามชนบทของนราธิวาส แต่ในเมืองมักจะพุดสำเนียงภาษาไทยถิ่นใต้ระวันออก
           

วิวัฒนาการภาษาไทยถิ่นใต้
ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงพิเทน เป้นภาษาถิ่นย่อยของภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตากใบ ที่ใช้อยู่ในตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดงและตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี ปัจจุบันคนในตำบลพิเทนพูดภาษาไทยถิ่นพิเทนน้อยลง ส่วนมากจะใช้ภาษามลายูปัตตานีในชีวิตประจำวัน ตามความนิยมของผุ้ใช้ภาษาสวนใหญ่ ผู้ทีสามารถใขช้สำเนียงพิเทนได้ดีคือผุ้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป อายุน้อยกว่านี้บางคนไม่ยอมพุดภาษาของตน หรือพุดได้ก็ยังไม่ดีเท่าที่ควร โดยภาษาพิเทนมีการใช้คำยือมและคำที่ใช้ร่วมกันกับภาษามลายูปัตตานีถึงร้อยละ 97
            ภาษาทองแดง เดิมเป็นอีกชื่อของภาษไทยถิ่นใต้ เป็นชื่อที่แปลมจากชื่อเดิมคือ "ภาษาตามโพร" สันนิษฐานว่า การตั้งชื่อนี้มาจากชื่อของอาณาจักรตามพรลิงก์ ซึ่งคำว่าตามพร (ะ) แปลว่าทองแดงแต่ในปัจจุบัน คำว่าภาษาทองแดง จะหมายถึง ผุ้ที่มีภษาแม่เป็นภาษาไทยถิ่นใต้ เมื่อพุดภาษาไทยมาตรฐานแล้วสำเนียงจะไม่ชัด กล่าวคือ มีสำเนียงของภาษาไทยถิ่นใต้ หรือใช้คำศัพท์ที่มีอยู่เฉพาะในภาษาไทยถิ่นใต้ มประชุมกับภาษาไทยมาตรฐาน ชาวใต้จะเรียกอาการนี้ว่า แหลงทองแดง(ทองแดงหลุ่น) การจับผิดว่า ชาวใต้คหนึ่งคนใด "แหลงทองแดง" หรือพูดไม่ได้สำเนียงมาตรฐาน ชาวใต้ถือเป็นการดูแคลน จะอนุญาตให้จับผิดได้เฉพาะชวใต้ด้วยกัน หรือเป็นคนที่สนิทสนมเท่านั้น) ปัจจุบันผู้ที่พุดภาษาใต้ไม่ชัด หรืออกสำเนียงใต้ไม่ชัดเจนก็เรียกว่าแหลงทองแดงเช่นกัน
             แหลงข้าหลวง คำนี้เป็นภาษาไทยใต้สำเนียงสงขลา ใช้สหรับดูถูก ผุ้ใช้ที่ใช้ภาษาไทยสำเนียงกรุงเทพและภาษไทยมาตรฐาน เป็นสำเนียงถิ่น (บ้างอาจจะใช้เรียกผุ้ที่ใช้ภาษาทไยกลางแท้ เช่นสำเนียงสุพรรณด้วย) โดยเฉพาะเมื่อคนนั้นมีความพยายามที่จุพุดภาษาใต้ และพุดไม่ได้สำเนียงใต้ โดยเฉพาะพลาดพลังในการใช้อนุประโย ที่เป็นแบบภาษาหมิ่นใต้th.wikipedia.org/wiki/ภาษาไทยถิ่นใต้





              

วันศุกร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Tai–Kadai : The Central Tai, Southwestern Tai languages

          "ไท-กะได" มาจากการจัดแบ่งตระกูลภาษาออกเป็นสองสาขาคือ "ไท" และ "กะได" ซึ่งเลิกใช้แล้ว เนื่องจากกะไดจะเป็นกลุ่มภาษาที่เป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีกลุ่มภาษาไทรวมอยู่ด้วย ในบางบริบทคำว่ากะไดจึงใช้เรียกตระกูลภาษา ไท-กะได ทั้งตระกูล แต่บางบริบทก็จำกัดการใช้คำนี้ให้แคบลงโดยหมายถึงกลุ่มภาษาขร้าที่เป็นส่วนหนึ่งของตระกูลภาษานี้
            ตระกูลภาษาไท - กะได ประกอบด้วยกลุ่มภาษาที่จัดแบ่งไว้ 5 สาขา คือ กลุ่มภาษาชร้า (อาจเรียกว่า กะได หรือ เก-ยัง), กลุ่มภาษา กัม-สุย (จีนแผ่นดินใหญ่ อาจเรียกว่า ต้ง-สุย) กลุ่มภาษาไหล (เกาะไหหลำ), กลุ่มภาษาไท (จีนตอนใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้), ภาษาไท (จีนตอนใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) ภาษาอังเบ (เกาะไหหลำ อาจเรียกว่า ภาษาเบ)
              กลุ่มภาษาไท 
              กลุมภาษาไทกลาง 
              ภาษานุง หรือชาวไทนุง เป็นกลุ่มชนซึ่งมีคึวามคล้ายคลึงกับในหลายด้าน ทั้งด้านภาษา วัฒนธรรม และเครื่องแต่งกายแบบเดียวกัน และชนกลุ่มนี้มักอยุ่ด้วยกันในหมู่บ้านเดียวกัน พวกเขาซึ่งมักถูกเรียกว่าชาวไตนุง ชนกลุ้มนี้อาศัยอยู่ทาง จังหวัดเกาบัง และ จังหวัดลางเซิน และอาจถือได้ว่าชาวไทนุงเป็นพวกเดียวกับกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดในท้องถ่ินต่างๆ ชอ
ประเทศเวียดนาม
            ภาษาโท้ บางครั้งก็ถูกเรียกว่ แกว, มอน, โฮ, ไทปูง บ้างและเป็นกลุ่มชนที่จีนเรียกว่า "ดูเยน" เป็นกลุ่มชนที่เดิมมีจำนวนมากที่สุดใน เขตปกครองตนเองกวางสีตอนใต้ มีจำนวนถึงร้อยละ 90 ของประชากรทั้งหมด ส่วนคำว่า "โท้" นั้นแปลว่าดินเนื่องจากชาวโท้สนทัดในการทำเกษตร
             โท้ ซึ่งอยู่ทางใต้ลำน้ำแคร์ (ซงเกี้ยม) ซึ่งอยู่ภายใต้ญาวโดยเฉพาะ(ส่วนทางตอนเหนือ เรียกตัวเองว่า "ไท") ซึ่งเดิมสองกลุ่มชนนี้เป็นพวเดียวกันมาแต่เดิม มีลักษณะสำคัญที่เหมือนๆ กัน แต่ต่อมมาผิดแผกไปเพราะได้รับอิทธิพลของผู้ปกครอง โท้กับไทเป็นเครือญาติใกล้ชิดกัน แต่มีความแตกต่างที่พอจะแลเห็นได้ ในชนบธรรมเนียมประเพณี เครืองแต่งกาย และการครองชีพ ความแตกต่างนี้เกิดจากต่างฝ่ายต่างห่างเหินกัน 
               ชาวนาที่เป็นเจ้าของเสาอากาศเรืองแสงมีเครื่องแต่างตัวสวยงามผิดกันกับญวน ซึ่งเคยเป็นเจ้านายมาแต่ก่อน
              ภาษาตั่ มีผู้พูดท้งหมดกว่าหนึ่งล้านห้าแสนคนใประเทศเวียดนามทางตอนเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือใกล้กับชายแดนประเทศจีนอาจจะมีผู้พูดภาษานี้ใน ประเทศลาว ฝรังเศส และสหรัฐอเมริกา สวนใหญ่พู๔ดภาษาเวียดนาม ได้ด้วยจัดอยุ่ในตระกุลภาษาไท-กะได กลุ่มภาษากัม-ไท เขียนด้วยอักษรละติน
            นอกจากนี้ยังมีภาษาอื่นๆ อาทิ ภาษาจ้วงใต้ ในประเทศจีน, ภาษาม่านเชาลาน ภาษาซึนลาว และภาษานางในประเทศเวียดนาม ที่จัดอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่ม กัม-ไท กลุ่มภาษาไท ที่แบ่งออกเป็นกลุ่มภาษาไทกลาง th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาไท
             กลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ เป็นกลุ่มภาษาไทในเอเชียตะวันออกเฉียวใต้ กลุ่มภาษานี้มี ภาษาทไย ภาษาลาว ภาษาไทยถิ่นเหนือ และภาษาไทใหญ่ เป็นต้น
             - ภาษาไทหย่า ภาษาไทยหย่า เป็นภาษาของชาวไทยหย่อที่อาศัยอยู่ทางมณฑลยูนนานของประเทศจีน ภาษานี้มีความคล้ายคลึงกันกับภาษาไทยบางคำ 
             - ภาษาปาดี มีผู้พูดทั้งหมด 1,300 คน พบในประเทศจีน 1,000 คน ส่วนใหญ่อยู่ในมณฑลยูนนาน พบลในประเทศเวียดนามทางภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงเหนือ 300 คนจัดอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มภาษากัม-ไท เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์h.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...