ภาษาในตระกูลไท-กะไดประกอบด้วย กลุ่มภาษาขร้า, กลุ่มภาษากัม-สุย, กลุ่มภาษาไหล, กลุ่มภาษาไทและกลุ่มภาษาอังเบ
กลุ่มภาษาไทแยกย่อยออกเป็น กลุ่มภาษาไทเหนือ, กลุ่มภาษาไทกลาง, กลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ และกลุ่มภาษาไทกลาง-ตะวันออก
กลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ เป็นกลุ่มภาษาไทในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กลุ่มภาษานี้มี ภาษาไทย ภาษาลาว ภาษาไทยถิ่นเหนือ และภาษาไทใหญ่ เป็นต้น กลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ เป็นกลุ่มย่อยในตระกูลภาษาไท ซึ่งตระกูลภาษาไทเป็นหนึ่งในสาขาของตระกูลภาษาไท-กะได
ภาษาไททัญ หรือภาษาไทมันทัญ มีผุ้พุดในประเทศเวียดนาม 20,000 คน ทางภาคเหนือ จัดอยุ่ในตระกูลภาษากัม-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไท-แสก ใกล้เคียงกับภาษาไทขาว ภาษาไทดำ และภาษาไทฮ่องกง
ภาษาตั่ยซาปา หรือภาษาซาปา มีผุ้พุดประมาณ 300 คน ในเมืองซาปา จังหวัดหล่าวกายทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเวียดนาม จัดอยุ่ในตระกูลภาษา ไท-กะได กลุ่มภาษากัม-ไท เป้นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และมีความใกล้ชิดกับภาษาไทยในกลุ่มไทตะวันตกเฉียงใต้
ภาษายอง มีผู้พูดในประเทศไทย 12,000 กว่าคนส่วนใหญ่อาศัยอยุ่ในจังหวัดลำพูน และบางพื้นที่ของจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเชียงราย ผู้พูดพูดภาษาไทยถ่ินเหนือได้ด้วยนับถือศาสนาพุทธอาจมีผุ้พุดภาษานี้ในเมืองยอง รัฐฉานประเทศพม่า ใกล้เคียงกับภาษาไทลื้อ จัดอยุ่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษากลุ่มคำ-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไต-แสกth.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาไท-กะได
ชาวไทยอง หรือ ชาวเมืองยอง ใช้เรียกกลุ่มคนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณเมืองยอง และกระจายอยู่ในด้านตะวันออกของรัฐฉาน ประเทศพม่า เขตสิบสองพันนา ในมณฑลยูนนานของจีน ภายหลังได้อพยพเข้ามตั้งบ้านเรือนใน จังหวัดละพูน เชียงใหม่ เชียงราย และน่าน ในสมัยรัชกาลที่ 1 ภายใต้กุศโลบาย "เก็บผักใสซ้าเก็บข้าใส่เมือง" ของ พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ แห่งราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ เพื่อรื้อฟื้นอาณาจักรล้านนาภายหลังการยึดครองของพม่าสิ้นสุดลง
จากตำนานชาวเมืองยองได้อพยพมาจากเมืองเชียงรุ้งและเมืองอื่นๆ ในสิบสองปันนา ซึ่งเป็นคนไทลื้อ และได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานครั้งใหย่ในเมืองลำพูน และเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2348 ด้วยสาเหตุของสงคราม เจ้าเมืองยองพร้อมด้วยบุตรภรรยา น้องทั้ง 4 ญาติพี่น้อง ขนุนนาง พระสงฆ์และไพร่พลจากเมืองยองจำนวน 20,000 คนเข้ามาแผ้วถางเมืองลำพูนที่ร้างอยู่ ตั้งบ้านเรือนตามลุ่มน้ำแม่ทา น้ำแม่ปิง ผู้คนทั่วไปในแถบนั้นจึงเรียกคนที่มาจากเมืองยองวา ชาวไทยอง ..th.wikipedia.org/wiki/ไทยอง
ภาษาถิ่นใต้ หรือ ภาษาตามโพร เป็นภาษาถิ่นที่ใช้ในภาคใต้ของประเทศไทย นับแต่จังหวัดชุมพรลงไปถึงชายแดนประเทศมาเลเซียรวม 14 จังหวัด และบางส่วนจองจังหวัดประจวบคีรีขันธุ์ อีทั้งบางหมู่บ้านในรัฐกลันตัน รัฐปะลิส รัฐเกอดะฮ์(ไทรบุรี) รัฐเประก์ และรัฐตรังการนู ประเทศมาเลเซีย รวมถึงบางหมู่่บ้าน ในเขตตะนาวศรี ทางตอนใต้ของประเทศพม่าด้วย ภาษาไทยถ่ินใต้ มีเพียงภาษาพูดเท่านั้น ไม่มีตัวอักษรเขียนเฉพาะ
ระบบเสียงสระ ระบบเสียงสระ สระเดี่ยว อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ สระประสม เอียะ เอีย เอือะ เอือ อัวะ อัว
ระบบเสียงวรรณยุกต์ มีถึง 7 หน่วยเสียง ได้แก่
สุง-ขึ้น-ตก [453] และสูง-ขึ้น [45]
- สูง-ขึ้น-ตก [453] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์เป็นที่มีเสียงพยัฐชนะต้นเป็นพวกอักษรสูง หรืออักษรต่ำสูงนำ
- สูง-ขึ้น [45] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ตายที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรสูง หืออักษรต่ำที่มีอักษรสูงนำ และมีพยัญชนะเสียงกัก (ก,ด, บ) เป็นเสียงสะกด
สูง-ระดับ (ตกตอนท้าย) [44] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ตายที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรสูง หรืออักษรต่ำที่มีอักษรสูงนำ
กลาง-ขึ้น-ตก [343] และกลาง-ขึ้น [34]
กลาง-ขึ้น-ตก [343] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์เป็นที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพกอักษรกลาง
กลาง-ขึ้น [34] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ตายที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรกลาง และมีพยัญชนะเสียงกัก ( ก, ด, บ) เป็นเสียงสะกด
กลาง-ระดับ [33] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์เป็นและพยางค์ตายเสียงยาวที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรกลาง
ต่ำ-ขึ้น-ตก[232] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรต่ำ
ต่ำ-ขึ้น [24] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์เป้ฯและพยางค์ตายเสียงยาวที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็พวกอักษรต่ำ
ต่ำ-ตก [21] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์เป็นและพยางค์ตายเสียงสั้นที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรต่ำ
คำควบกล้ำ ในภาษาไทยถิ่นใต้นั้น มี 15 เสียง ได้แก่ กร, กล, กว, ดร, คล, คว, ตร, บร, บ (ซึค่งออกเป็นเสียงธนิตควบกล้ำด้วย ร), ปร, ปล, พร, พล, มร, มล
เพิ่มเติมครับ มีคำควบกล้ำ ที่ไม่ได้อยู่ในหลักภาษาไทยด้วย ได้แก่
พมฺรฺ เช่น คำว่า : หมฺรับ (อ่านว่า "หมฺรับ" ห เป็นอักษรนำ ตามด้วย ม ควบกล้ำด้วย ร) แปลว่า สำรับ ไม่ได้ อ่านว่า หม-รับ หรือ หมับ ให้ออกเสียง "หมฺ" ควบ "ร") เช่น การจักหมฺรบ ประเพณีสารทเดือนสิบ
ทร เช่น : เทริด (อ่านว่า เซิด แปลว่า เครื่องสวมศรีษะของกษัตริย์ รูปร่างลักษณะคล้ายชฎา)
สำเนียงย่อย ภาษาไทยถิ่นได้ แยกออกเป็น 3 กลุ่มหลัก คือ ภาษาไทยถิ่นไใต้ตะวันออก(ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงนครศรีธรรมราช ถือเป็นกลุ่มย่อยในภาษาไทยถิ่นไดต้ระวันออก), ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตก และ ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตากใบ (จ๊ะเห)
ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก (สำเนียงนครศรีธรรมราช) ได้แก่ ภาาไทยถ่ินใต้ที่พูดกันมากทางฝั่งตะวันออกของภาคใต้ บริเวณจังหวัดนครศณีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตสนี โคกโพธิ์, อำเภอแม่ลาน, อำเภอหนองจิก และ อำเภอเมือง) ตรัง สตูล (และในรัฐปะลิส-หมู่บ้นควนขนุนบ้านหนองจิก และอกภอเมือง) ตรัง สตูล (และในรัฐปะลิส-หมู่บ้านควนขนุน บ้านตาน้ำ, ในรัฐเคดาห์-บ้านบางควมย บ้านบาลิ่ง) ภาษาไทยถิ่นใต้ที่ใช้ในกลุ่มนี้ จะมีลักษณะของภาษาที่ค้ายคลึงกั (ตรัง และสตูล แม้จะตั้งอยู่ฝั่งทะเลตะวันตก แต่สำนเียงภาษาถือเป็นกลุ่มเดียวกับพัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช คือ ออกเสียงตัวสะกอ ก. ไก่ ได้ชัดเจน)
ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตก ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นใต้ ที่พูดอยู่บรเวณพท้นที่จังหวัดกระบี่ จังหวัดเหล่านี้ จะมมีลักษณะเด่นที่คล้ายคลึงกัน เช่นออกเสียงคำว่า แตก เป็นแตะ, อกไม้ เป็นเดะไม้, สามแยกเป็นสามแยะ ฯลฯ รวมถึงภาษาไทยถิ่นใต้ในเขตอำเภอขนอม นครศรีธรรมราช ซึ่งอยุ่ทางทิศตะวันออกของเทือกเขา นครศรีธรรมราช (เขาหลวง) และในกลุ่มอำเภอฉวาง พิปูน ถ้ิพรรณเรา และทุ่งสงซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกของเทือกเขานครศรีธรรมราช (เขาหลวง) ก็จัดอยู่ในกลุ่มนี้ส่วนจังหวัดชุมพร และจังหวัดชุมพร และจังหวัดสุราษฎร์ธานี แม้จะต้ังอยู่ฝั่งทะเลตะวันออก แต่สำเนียงภาษา ก็ถือเป็นหลุ่มเดียวกับจังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต คือ ออกเสียงตัวสะกด ก.ไก่ ไม่ได้
การแบ่งเขตระหว่างพื้นที่ ที่ใช้ภาษาถิ่นใต้ตะวันออก (คำที่มีเสียงสระยาวสามารถออกเสียง ก. สะกดได้ชัด) สามารถกำหนดแนวแบ่งเขตคร่าวๆ ได้โดยลากเส้นแนวแบ่งเขต ระหว่งอำเภอขนอม และอำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราชลากขึ้นเขาหลวง แล้ววกลงไปทงใต้ ดยใช้แนวเขาหลวง เป็นแนวแบ่งเขต ผ่านลงไปถึงจุดระหวางอำเภอทุ่งสง และอำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช จากนั้นวกไปทางทิศตะวันตก ไปยังอำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ตรดทะเลอันดามัน
ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงสงขลา ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นใต้ที่พุดอยู่บริเวณพื้นที่จังหวัดสงขลา บางส่วนของจังหวัดปัตตานี และจังหวัดยะลา ถือเป็นกลุ่มย่อยในกลุมภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก มีลักษณะที่เด่นคือ หากเสียงจะไม่ขาดห้วย แต่จะ่อยๆ เบาเสียงลง ซึ่งลักษณะดังกล่าว ช่วยให้ภาษาสงขลาฟังแล้วไม่หยาบกระด้าง อยางสำเนียงใต้ถ่ินอื่น นอกจากนี้ยังมีคำที่ใช้บ่อยในสำเนียงนี้ คื อคำว่า เบอะ หรอ กะเบอะ ซึ่งมีความหมายภาษาไทยมาตฐานว่า เพราะว่า.., ก็เพราะว่า.., ..นีนา เรียกเงินว่า เบี้ย ในขณะที่ถิ่นอื่นนิยมเรียกว่า ตางค์ และคำที่นิยมใช้อีกคำหนึ่ง คือ ไม่หอน ซึ่งมีความหมายวา ไม่เคย เช่น ฉานไม่หอนไป เป็นต้น
ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตากใบ หรือ ภษาไทยถิ่นใต้สำเนีงเจ็ะเห ได้แก ภาษาไทยถิ่นใต้ทีพุดอยู่บริเวณพื้นที่จังหวัดนรธิวาส จังหวัดปัตตานี (เฉพาะ อำเภอยะหริ่ง อำเภอปะนาเระ และอำเภอสายบุรี) รวมทั้งในเขตรัฐกลันตันของประเทศมาเลเซีย ในหมู่บ้านที่พูดภาษาไทย จะใช้ภาษาไทยถิ่นใต้สำนเียงเจ๊ะเหนอกจากนี้ยังสมารถแบ่งย่อยได้อีกหนึ่งภาษา คือ ภาษาถิ่นพิเทม ซึ่งพูดกันในตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง และตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี เท่านั้น
ในเขตจังหวัดนราธิวาส เนื่องด้วยมีคนในจังหวัดอื่นๆ มาอาศยหรือทำงานในจังหวัดนราธิวาส จึงนำภาษาไทยถิ่นใต้ของแต่ละจังหวัดมาพูดกันในจังหวัด นราธิวาส ส่วนใหญ่จะเป็นชาวใต้จากจังหวัด พัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช คนนราธิวาส จึงมีภาษาไทย 2 สำเนียง คือ ภาษาไทยถิ่นใต้ สำเนียง เจ๊ะเห และสำเนียงภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันอก ภาษไทยถิ่นใต้สำเนียง เจะเห มักพูดกันในกลุ่มเครือญาติ หรือตามชนบทของนราธิวาส แต่ในเมืองมักจะพุดสำเนียงภาษาไทยถิ่นใต้ระวันออก
ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงพิเทน เป้นภาษาถิ่นย่อยของภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตากใบ ที่ใช้อยู่ในตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดงและตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี ปัจจุบันคนในตำบลพิเทนพูดภาษาไทยถิ่นพิเทนน้อยลง ส่วนมากจะใช้ภาษามลายูปัตตานีในชีวิตประจำวัน ตามความนิยมของผุ้ใช้ภาษาสวนใหญ่ ผู้ทีสามารถใขช้สำเนียงพิเทนได้ดีคือผุ้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป อายุน้อยกว่านี้บางคนไม่ยอมพุดภาษาของตน หรือพุดได้ก็ยังไม่ดีเท่าที่ควร โดยภาษาพิเทนมีการใช้คำยือมและคำที่ใช้ร่วมกันกับภาษามลายูปัตตานีถึงร้อยละ 97
ภาษาทองแดง เดิมเป็นอีกชื่อของภาษไทยถิ่นใต้ เป็นชื่อที่แปลมจากชื่อเดิมคือ "ภาษาตามโพร" สันนิษฐานว่า การตั้งชื่อนี้มาจากชื่อของอาณาจักรตามพรลิงก์ ซึ่งคำว่าตามพร (ะ) แปลว่าทองแดงแต่ในปัจจุบัน คำว่าภาษาทองแดง จะหมายถึง ผุ้ที่มีภษาแม่เป็นภาษาไทยถิ่นใต้ เมื่อพุดภาษาไทยมาตรฐานแล้วสำเนียงจะไม่ชัด กล่าวคือ มีสำเนียงของภาษาไทยถิ่นใต้ หรือใช้คำศัพท์ที่มีอยู่เฉพาะในภาษาไทยถิ่นใต้ มประชุมกับภาษาไทยมาตรฐาน ชาวใต้จะเรียกอาการนี้ว่า แหลงทองแดง(ทองแดงหลุ่น) การจับผิดว่า ชาวใต้คหนึ่งคนใด "แหลงทองแดง" หรือพูดไม่ได้สำเนียงมาตรฐาน ชาวใต้ถือเป็นการดูแคลน จะอนุญาตให้จับผิดได้เฉพาะชวใต้ด้วยกัน หรือเป็นคนที่สนิทสนมเท่านั้น) ปัจจุบันผู้ที่พุดภาษาใต้ไม่ชัด หรืออกสำเนียงใต้ไม่ชัดเจนก็เรียกว่าแหลงทองแดงเช่นกัน
แหลงข้าหลวง คำนี้เป็นภาษาไทยใต้สำเนียงสงขลา ใช้สหรับดูถูก ผุ้ใช้ที่ใช้ภาษาไทยสำเนียงกรุงเทพและภาษไทยมาตรฐาน เป็นสำเนียงถิ่น (บ้างอาจจะใช้เรียกผุ้ที่ใช้ภาษาทไยกลางแท้ เช่นสำเนียงสุพรรณด้วย) โดยเฉพาะเมื่อคนนั้นมีความพยายามที่จุพุดภาษาใต้ และพุดไม่ได้สำเนียงใต้ โดยเฉพาะพลาดพลังในการใช้อนุประโย ที่เป็นแบบภาษาหมิ่นใต้th.wikipedia.org/wiki/ภาษาไทยถิ่นใต้
ภาษาถิ่นใต้ หรือ ภาษาตามโพร เป็นภาษาถิ่นที่ใช้ในภาคใต้ของประเทศไทย นับแต่จังหวัดชุมพรลงไปถึงชายแดนประเทศมาเลเซียรวม 14 จังหวัด และบางส่วนจองจังหวัดประจวบคีรีขันธุ์ อีทั้งบางหมู่บ้านในรัฐกลันตัน รัฐปะลิส รัฐเกอดะฮ์(ไทรบุรี) รัฐเประก์ และรัฐตรังการนู ประเทศมาเลเซีย รวมถึงบางหมู่่บ้าน ในเขตตะนาวศรี ทางตอนใต้ของประเทศพม่าด้วย ภาษาไทยถ่ินใต้ มีเพียงภาษาพูดเท่านั้น ไม่มีตัวอักษรเขียนเฉพาะ
ระบบเสียงสระ ระบบเสียงสระ สระเดี่ยว อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ สระประสม เอียะ เอีย เอือะ เอือ อัวะ อัว
ระบบเสียงวรรณยุกต์ มีถึง 7 หน่วยเสียง ได้แก่
สุง-ขึ้น-ตก [453] และสูง-ขึ้น [45]
- สูง-ขึ้น-ตก [453] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์เป็นที่มีเสียงพยัฐชนะต้นเป็นพวกอักษรสูง หรืออักษรต่ำสูงนำ
- สูง-ขึ้น [45] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ตายที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรสูง หืออักษรต่ำที่มีอักษรสูงนำ และมีพยัญชนะเสียงกัก (ก,ด, บ) เป็นเสียงสะกด
สูง-ระดับ (ตกตอนท้าย) [44] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ตายที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรสูง หรืออักษรต่ำที่มีอักษรสูงนำ
กลาง-ขึ้น-ตก [343] และกลาง-ขึ้น [34]
กลาง-ขึ้น-ตก [343] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์เป็นที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพกอักษรกลาง
กลาง-ขึ้น [34] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ตายที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรกลาง และมีพยัญชนะเสียงกัก ( ก, ด, บ) เป็นเสียงสะกด
กลาง-ระดับ [33] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์เป็นและพยางค์ตายเสียงยาวที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรกลาง
ต่ำ-ขึ้น-ตก[232] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรต่ำ
ต่ำ-ขึ้น [24] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์เป้ฯและพยางค์ตายเสียงยาวที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็พวกอักษรต่ำ
ต่ำ-ตก [21] เป็นเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์เป็นและพยางค์ตายเสียงสั้นที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นพวกอักษรต่ำ
คำควบกล้ำ ในภาษาไทยถิ่นใต้นั้น มี 15 เสียง ได้แก่ กร, กล, กว, ดร, คล, คว, ตร, บร, บ (ซึค่งออกเป็นเสียงธนิตควบกล้ำด้วย ร), ปร, ปล, พร, พล, มร, มล
เพิ่มเติมครับ มีคำควบกล้ำ ที่ไม่ได้อยู่ในหลักภาษาไทยด้วย ได้แก่
พมฺรฺ เช่น คำว่า : หมฺรับ (อ่านว่า "หมฺรับ" ห เป็นอักษรนำ ตามด้วย ม ควบกล้ำด้วย ร) แปลว่า สำรับ ไม่ได้ อ่านว่า หม-รับ หรือ หมับ ให้ออกเสียง "หมฺ" ควบ "ร") เช่น การจักหมฺรบ ประเพณีสารทเดือนสิบ
ทร เช่น : เทริด (อ่านว่า เซิด แปลว่า เครื่องสวมศรีษะของกษัตริย์ รูปร่างลักษณะคล้ายชฎา)
สำเนียงย่อย ภาษาไทยถิ่นได้ แยกออกเป็น 3 กลุ่มหลัก คือ ภาษาไทยถิ่นไใต้ตะวันออก(ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงนครศรีธรรมราช ถือเป็นกลุ่มย่อยในภาษาไทยถิ่นไดต้ระวันออก), ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตก และ ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตากใบ (จ๊ะเห)
ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก (สำเนียงนครศรีธรรมราช) ได้แก่ ภาาไทยถ่ินใต้ที่พูดกันมากทางฝั่งตะวันออกของภาคใต้ บริเวณจังหวัดนครศณีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตสนี โคกโพธิ์, อำเภอแม่ลาน, อำเภอหนองจิก และ อำเภอเมือง) ตรัง สตูล (และในรัฐปะลิส-หมู่บ้นควนขนุนบ้านหนองจิก และอกภอเมือง) ตรัง สตูล (และในรัฐปะลิส-หมู่บ้านควนขนุน บ้านตาน้ำ, ในรัฐเคดาห์-บ้านบางควมย บ้านบาลิ่ง) ภาษาไทยถิ่นใต้ที่ใช้ในกลุ่มนี้ จะมีลักษณะของภาษาที่ค้ายคลึงกั (ตรัง และสตูล แม้จะตั้งอยู่ฝั่งทะเลตะวันตก แต่สำนเียงภาษาถือเป็นกลุ่มเดียวกับพัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช คือ ออกเสียงตัวสะกอ ก. ไก่ ได้ชัดเจน)
ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตก ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นใต้ ที่พูดอยู่บรเวณพท้นที่จังหวัดกระบี่ จังหวัดเหล่านี้ จะมมีลักษณะเด่นที่คล้ายคลึงกัน เช่นออกเสียงคำว่า แตก เป็นแตะ, อกไม้ เป็นเดะไม้, สามแยกเป็นสามแยะ ฯลฯ รวมถึงภาษาไทยถิ่นใต้ในเขตอำเภอขนอม นครศรีธรรมราช ซึ่งอยุ่ทางทิศตะวันออกของเทือกเขา นครศรีธรรมราช (เขาหลวง) และในกลุ่มอำเภอฉวาง พิปูน ถ้ิพรรณเรา และทุ่งสงซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกของเทือกเขานครศรีธรรมราช (เขาหลวง) ก็จัดอยู่ในกลุ่มนี้ส่วนจังหวัดชุมพร และจังหวัดชุมพร และจังหวัดสุราษฎร์ธานี แม้จะต้ังอยู่ฝั่งทะเลตะวันออก แต่สำเนียงภาษา ก็ถือเป็นหลุ่มเดียวกับจังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต คือ ออกเสียงตัวสะกด ก.ไก่ ไม่ได้
การแบ่งเขตระหว่างพื้นที่ ที่ใช้ภาษาถิ่นใต้ตะวันออก (คำที่มีเสียงสระยาวสามารถออกเสียง ก. สะกดได้ชัด) สามารถกำหนดแนวแบ่งเขตคร่าวๆ ได้โดยลากเส้นแนวแบ่งเขต ระหว่งอำเภอขนอม และอำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราชลากขึ้นเขาหลวง แล้ววกลงไปทงใต้ ดยใช้แนวเขาหลวง เป็นแนวแบ่งเขต ผ่านลงไปถึงจุดระหวางอำเภอทุ่งสง และอำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช จากนั้นวกไปทางทิศตะวันตก ไปยังอำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ตรดทะเลอันดามัน
ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงสงขลา ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นใต้ที่พุดอยู่บริเวณพื้นที่จังหวัดสงขลา บางส่วนของจังหวัดปัตตานี และจังหวัดยะลา ถือเป็นกลุ่มย่อยในกลุมภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก มีลักษณะที่เด่นคือ หากเสียงจะไม่ขาดห้วย แต่จะ่อยๆ เบาเสียงลง ซึ่งลักษณะดังกล่าว ช่วยให้ภาษาสงขลาฟังแล้วไม่หยาบกระด้าง อยางสำเนียงใต้ถ่ินอื่น นอกจากนี้ยังมีคำที่ใช้บ่อยในสำเนียงนี้ คื อคำว่า เบอะ หรอ กะเบอะ ซึ่งมีความหมายภาษาไทยมาตฐานว่า เพราะว่า.., ก็เพราะว่า.., ..นีนา เรียกเงินว่า เบี้ย ในขณะที่ถิ่นอื่นนิยมเรียกว่า ตางค์ และคำที่นิยมใช้อีกคำหนึ่ง คือ ไม่หอน ซึ่งมีความหมายวา ไม่เคย เช่น ฉานไม่หอนไป เป็นต้น
ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตากใบ หรือ ภษาไทยถิ่นใต้สำเนีงเจ็ะเห ได้แก ภาษาไทยถิ่นใต้ทีพุดอยู่บริเวณพื้นที่จังหวัดนรธิวาส จังหวัดปัตตานี (เฉพาะ อำเภอยะหริ่ง อำเภอปะนาเระ และอำเภอสายบุรี) รวมทั้งในเขตรัฐกลันตันของประเทศมาเลเซีย ในหมู่บ้านที่พูดภาษาไทย จะใช้ภาษาไทยถิ่นใต้สำนเียงเจ๊ะเหนอกจากนี้ยังสมารถแบ่งย่อยได้อีกหนึ่งภาษา คือ ภาษาถิ่นพิเทม ซึ่งพูดกันในตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง และตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี เท่านั้น
ในเขตจังหวัดนราธิวาส เนื่องด้วยมีคนในจังหวัดอื่นๆ มาอาศยหรือทำงานในจังหวัดนราธิวาส จึงนำภาษาไทยถิ่นใต้ของแต่ละจังหวัดมาพูดกันในจังหวัด นราธิวาส ส่วนใหญ่จะเป็นชาวใต้จากจังหวัด พัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช คนนราธิวาส จึงมีภาษาไทย 2 สำเนียง คือ ภาษาไทยถิ่นใต้ สำเนียง เจ๊ะเห และสำเนียงภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันอก ภาษไทยถิ่นใต้สำเนียง เจะเห มักพูดกันในกลุ่มเครือญาติ หรือตามชนบทของนราธิวาส แต่ในเมืองมักจะพุดสำเนียงภาษาไทยถิ่นใต้ระวันออก
วิวัฒนาการภาษาไทยถิ่นใต้ |
ภาษาทองแดง เดิมเป็นอีกชื่อของภาษไทยถิ่นใต้ เป็นชื่อที่แปลมจากชื่อเดิมคือ "ภาษาตามโพร" สันนิษฐานว่า การตั้งชื่อนี้มาจากชื่อของอาณาจักรตามพรลิงก์ ซึ่งคำว่าตามพร (ะ) แปลว่าทองแดงแต่ในปัจจุบัน คำว่าภาษาทองแดง จะหมายถึง ผุ้ที่มีภษาแม่เป็นภาษาไทยถิ่นใต้ เมื่อพุดภาษาไทยมาตรฐานแล้วสำเนียงจะไม่ชัด กล่าวคือ มีสำเนียงของภาษาไทยถิ่นใต้ หรือใช้คำศัพท์ที่มีอยู่เฉพาะในภาษาไทยถิ่นใต้ มประชุมกับภาษาไทยมาตรฐาน ชาวใต้จะเรียกอาการนี้ว่า แหลงทองแดง(ทองแดงหลุ่น) การจับผิดว่า ชาวใต้คหนึ่งคนใด "แหลงทองแดง" หรือพูดไม่ได้สำเนียงมาตรฐาน ชาวใต้ถือเป็นการดูแคลน จะอนุญาตให้จับผิดได้เฉพาะชวใต้ด้วยกัน หรือเป็นคนที่สนิทสนมเท่านั้น) ปัจจุบันผู้ที่พุดภาษาใต้ไม่ชัด หรืออกสำเนียงใต้ไม่ชัดเจนก็เรียกว่าแหลงทองแดงเช่นกัน
แหลงข้าหลวง คำนี้เป็นภาษาไทยใต้สำเนียงสงขลา ใช้สหรับดูถูก ผุ้ใช้ที่ใช้ภาษาไทยสำเนียงกรุงเทพและภาษไทยมาตรฐาน เป็นสำเนียงถิ่น (บ้างอาจจะใช้เรียกผุ้ที่ใช้ภาษาทไยกลางแท้ เช่นสำเนียงสุพรรณด้วย) โดยเฉพาะเมื่อคนนั้นมีความพยายามที่จุพุดภาษาใต้ และพุดไม่ได้สำเนียงใต้ โดยเฉพาะพลาดพลังในการใช้อนุประโย ที่เป็นแบบภาษาหมิ่นใต้th.wikipedia.org/wiki/ภาษาไทยถิ่นใต้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น