Tai–Kadai : The Central Tai - East Langauges II

            กลุ่มภาษาไทกลาง-ตะวันออก กลุ่มภาษาเชียงแสนที่พบในประเทศไทยประกอบด้วย
            - ภาษาไทยถิ่นเหนือ (ภาษาล้านนา, ภาษาไทยวน) พบในประทเศไทยและลาว
              คำเมือง หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นภาษาถิ่นของชาวไทยวนทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ซึ่งเป็นอาณาจักรล้านนาเดิม ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน แม่ฮองสอน ลำพูน ลำปาง พะเยา กละยังมีการพูดและการผสมภาาากันในบางพื้นที่ของจังหวัดตาก สุโขทัย และเพชรบูรณื ปัจจุบันกลุ่มคนไทยวนได้กระจัดกระจายและมีถิ่นที่อยู่ในจังหวัดสระบุรี จังหวัดราชบุรีแลอำเภอของจังหวัดอื่นที่ใกล้เียงกับราชบุรีอีกด้วย
               คำเมืองยังสมารถแบ่งออกเป็นสำเนียงล้านนาตะวันตก (ในจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูด แม่ฮ่องสอน) และสำเนียงล้านนาตะวันออก (ในจังหงัดเชียงราย พะเยา ลำปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน) ึ
จะมีความแตกต่างกันบ้าง คือ สำเนียงล้านนาตะวันออกส่วนใหญ่จะไม่พบสรเอือะ เอือ แต่จะใช้สระเอียะ เอียแทน(มีเสียงเอือะและเอือเพียงแต่คนต่างถิ่นฟังไม่ออก เนื่องจากเสียงที่ออกมาจะเป็นเสียงนาสิกใหล้เคียงกับเอียะ เอีย)
              ส่วนคนในจังหวัดลำพูนมักจะพูดสำเนียงเมืองยอง เพราะชาวลำพูนจำนวนมากสืบเชื้อสายมาจากชาวยองในรัฐฉาน จึงมีสำเนียงที่เป็นเอกลักษณ์
              คำเมืองมีไวยากรณืคล้ายกับภาษาไทยกลางแต่ใช้คำศัพท์ไม่เหมือนกันและไวยากรณ์ที่แตกต่างกันอยุ่บ้าง แต่เดิมใช้คู่กับ อักษรธรรมล้านนาเป็นตัวอักษรของอาณาจักรล้านนาที่ใช้อักษรมอบเป็นต้นแบบ
              ภาษาถิ่นภาคพายัพมีชื่อเรียกหลายชื่อ โดยภาษาจากตระกูลภาษาไทต่างๆ มีชื่เรียกซึ่งคล้ายคลึงหรืไม่เหมือนกัน ภาษาถิ่นพายัพเอง มักเรียกว่ ไกำเมือง" (รูปปริวรรต : คำเมือง) อันแปลว่า "ภาาาของเมือง" หรืออีกชื่อหนึ่งว่่า "ภาษาล้านนา" ส่วนชาวยวนในจังหวัดราชบุรี เรียกภาษาของตนวา "ภาษาลาว" ภาษาไทยมาตรฐาน เรียกวา "ภาษาถิ่นพายัพ", "ภาษาไทยถิ่นเหนือ" หรือเรียกสั้นๆ ว่า "ภาษาเหนือ" หรือ "ภาษายวน" ในอดีตเรียก "ลาวเฉียง" หรือ "คำเฉียง ภาษาลาว เรียกว่า "ภาษายวน"  หรือ "ภาษาโยน"  ภาษาไทลื้อ เรียกว่า "ก๋าโย่น" ภาษาไทใหญ่ เรียกว่า "กว๊ามโย๊น" นอกจากภาษากลุ่มไทดังกล่าวแล้ว ภาษาอังกฤษ เรียกภาษาถิ่นพายัพว่า "North Thai"
         
อ.กาญจนา เงารังษี
 สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับงานวิจัยผุ้ใช้ภาษาไทยถิ่นเหนือไว้ว่า ภาคเหนือตอนบนประกอบด้วย 8 จังหวัดได้แก่ เชียงใหม่, เชียงราย, แม่ฮ่องสอน, ลำพูน, ลำปาง, พะเยา, แพร่และน่าน ประชากรส่วนใหญ่ใช้ภาษาเหนือเป็นภาษากลาง และภาคเหนือตอนล่างประชากรส่วนใหญ่ใช้ภาษาไทยกลาง แต่มีเขตที่พุดภาาาไทยถิ่นเหนือด้วย เช่น ตาก, สุโขทัย, กำแพงเพชร, อุตรดิตถ์, พิจิตร และพิษณุโลก
             สมทรง บุรุษพัฒน์ ได้ระบุว่าภาษไทยถิ่นเหนือเป็นภาษาที่พูดกันทางตอนเหนือของไทย ได้แก่ เชี่ยงใหม่, เชียงราย, แม่ฮ่องสน, ลำพูด, ลำปาง, พะเยา, แพร่, น่าน, ตาก, สุโขทัย, อุตรดิตถ์และบางอำเภอของจังหวัดสระบุรี
             กาญจนา เงารังษีและคณะ ได้สรุปผลการศึกษาภาษาถิ่นเนือที่ใช้บริเวณภาคเหนือตอนล่าง โดยระบุว่า ภาษาเหนือเป็นภาษาถิ่นทีใช้ในพื้นที่ 9 จังหวัด คือ กำแพงเพชร, ตาก, นครสวรรค์, พิจิตร, พิษณุโลก, เพชรบูรณ์, สุโขทัย, อุตรดิตถ์และอุทัยธานี
             การพูดคำเมืองที่เป็นประโยคแบบดั้งเดิมนั้นหายาแล้วเนื่องจากมีการรับอิทธิพลภาษาไทยภาคกลาง ทั้งในสำเนียงและคำศัพท์ สวนนี้จะเป้นส่วนรวบรวมประโยค กำเมือง ดั้งเดิม
             กึ๋นข้าวแล้วกา กินข้าวแล้วหรือยัง
             ยะอะหยั๋งกิ๋นกา ทำอะไรทานหรือ
             ไปตังใดมา ไปไหนมา
              การพูดคำเมืองผสมกับภาษาไทยนั้น คำเมืองจะเรียกว่าแปล๊ด (ปะ-แล๊ด ไทยแปล๊ดเมือง) ซึ่งโดยมากแล้วมักจะพบในคนที่พูดคำเมืองมานานแล้วพยายามจะพูดไทย หรือ คนพูดภาษาไทยพยายามจะพูดคำเมือง เผลอพูดคำทั้ง 2 ภาษามาประสมกัน อนึ่งการพุดคำเมืองที่การแยกระดับของความสุภาพอยุ่หลายระดับ ผุ้พุดต้องเข้าใจในบริบทการพุดว่าในสถานการณ์นั้นๆ ต้องพูดระดับภาษาอย่างไรให้เหมาะสมและมีความสุภาพเพราะมีระบบการนับถือผุ้ใหญ่ คนสูงวัยกว่า อาทิ ลำ (อร่อย) ลำแต๊ๆ (สุภาพที่สุด, ลำขนาด (สุำาพรองลงมา) ลำแมะฮาก (เริ่มไม่สุภาพ ใช้ในหมู่คนที่สนิทกัน) ลำบ๊อยลำง่าว (เริ่มไม่สุภาพ ใช้ในหมู่คนที่สนิทกัน) ลำง่าวลำเซอะ (เริ่มไม่สุภาพ ใช้ในหมุ่คนที่สนิทกัมากๆ) เป็นต้น
           ภาษาไทยถิ่นเหนือนอกเขตภาคเหนือ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ปี พ.ศ. 2347 ได้มีการเทครัวชาวยวนลงมาในเขตภาคกลาง อาทิ จังหวัดสระบุรี (โดยเฉพาะอำเภอเสาไห้) จังหวัดราชบุรี (มีมากที่อำเภอเมือง, อำเภอบ้านโป่ง และอำเภอจอมบึง) จังหวัดนครปฐม (โดยเฉพาะอำเภอกำแพงแสน), จังหวัดกาญจนบุรี (โดยเฉพาะอำเภอไทรโยค) , จังหวัดลพบุรี (ที่อำเภอชัยบาดาล)และจังหวัดนครราชสีมา(เฉพาะอำเภอสีคิ้ว) โดยเฉพาะในจังหวัดราชบุรีมีชาวยวนราวเจ็ดถึงแปดหมื่นคน และมีชาวยวนแทบทุกอำเภอ ยกเว้นเพียงแต่อำเภอดำเนินสะดวกับวัดเพลงเท่านั้น
            ซึ่งภาษาไทยยวนทุกจังหวัดมีหน่วยเสียง พยัญชนะและพน่วยเสียงสระเหมือนกัน รายละเอียดในวรรณยุกต์แทบไม่แตกต่างกัน ยกเว้นภาษายวนลพบุรีที่มีหน่วยเสียงแตกต่างจากอีก 4 จังหวัเพียงหน่วยเสียงเดียวทั้งนี้อาจเป็นเพราะชาวยวนลพบุรีได้อาศัยปะปนอยู่กับหมู่บ้านชาวลา อาจทำให้หน่วยเสียงเปลี่ยนแปลงก็เป็นได้...
            ภาษาพวน หรือภาษาลาพวน เป็นภาษาในตระกุลไท-กะได เป็นภาษาของชาวไทพวนหรือลาวพวน คำศัพท์ใกล้เคียงกับภาษาลาวและภาษาไทยถิ่นอีสานมากว่าภาษาไทยภาคกลางและเป็นภาษาที่ใกช้เคียงกันกับภาษาผู้ไทมาก มีเสียงพยัญชนะ 20 เสียง เป็นตัวสะกดได้ 9 เสียง มีเสียงควบกลุ้เฉพาะ/คฺว/เท่านั้น สระมี 21 เสียง เป้นสระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 3 เสียง วรรณยุกต์มี 6 เสียง
             ลักษณะเด่นของคำพวนเช่น ถ้าใช้ ก เป็นตัวสะกดจะไม่ออกเสียงตัวสะกด ดังเช่น หูก พวนออกเสียงเป้น หุ ปาก พวน ออกเสียงเป็น ปะ แบก พวนออกเสียง แบะ
           
ส่วนคำที่ใช้สระไม้ม้วน (สระ-ใ-) จะออกเสียงตามรูป เช่น ผัดไทยใส่ไข่ พวนออกเสียงเป็นผัดไทยเส่ยไข่ จะไม่พุดว่า ผัดเทอเส่อเข่อ พวนใช้เสียง ร ซึ่งมักจะออกเป็น ฮ แทน เช่น เรื่อน เป็น เฮือน ร่ำเรียน เป็น ฮ่ำเฮียน ไร่นา เป็นไฮ่นา การออกเสียง ย และญ ลักษระการออกเสียงของภาษาไทยนั้น ลิ้นจะอยู่กลางปาก แต่การออกเสียงของคนพวน ลิ้นจะแตะเพดานปากด้านหน้า
                - ภาษาไทโซ่ง หรือภาษาลาวโซ่ง ภาษาลาวโซ่งดำ ภาษาโซ่ง เป้นภาษาที่มีผู้พูดในประเทศไทยราวสามหมื่นสองพันคน พบในจังหวัดกาญจนบุรี เพชรบุรี พิษณุโลก นครสวรรค์ นครปฐม สุพรรณบุรี มีความใกล้ชิดกับภาษาไทดำ อยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษากลุ่มคำ-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไท-แสก
               - ภาษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย และภาาาแม่ของชาวไทย ภาษาไทยเป้นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป้นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกุลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต
                ภาษาไทยเป้นภาษาที่มีระดับเสียงของคำน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาาาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ
                คำว่าไทย หมายถึง อิสรภาพ เสรีภาพ หรือออีความหมายหนึ่งคือ ใหญ่ ยิ่งหใญ่ เพราะการจะเป็นอิสระได้จะต้องมีกำลังที่มากกว่า แช็งแกร่งกว่า เพื่อป้องกันการรุกรานจากข้าศึก คำนี้เป้ฯคำไทยแท้ที่เกิดจากการสร้างคำที่เรียก "การลากคำเข้าวัด" ซึ่งเป็นการลากความวิธีหนึ่ง ตามหลักคติชน วิทยา คนไทยเป็นชนชาติที่นับถือกันว่า ภาษาบาลี ซึ่งเป้ฯภาษารที่บันทักพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าเป้นภาษาอันศักดิ์สิทธิ์และเป็นมงคล เมือคนไทยต้องการตั้งชื่อระเทศว่าไท ซึ่งเป้นคำไทยแท้ จึงเติมตัว ย เข้าไปข้างท้าย เพื่อให้มีลักษณะคล้ายคำในภาษาบาลี-สันสกฤต เพื่อความเป็นมงคล ตามความเชื่อของตน ภาษาไทยจึงหมายถึงภาษาของชนชาติไทยผู้เป็นไทนั่นเอง
                 พ่อขุนรามคำแหงได้ทรงประดิษฐือักษรไทยขึ้นเมื่อปี พงศ. 1826  มี พยัญชนะ 44 ตัว (21 เสียง) สระ 21 รูป (32 เสียง), วรรณยุกต์ 5 เสียง คือ เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ภาษาไทยดัดแปลงมาจากบาลี-สันสกฤต และ เขมร
               ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป้นนายกรัฐมนตรี มีการปฏิรูปภาษาไทยโดยสภาวัฒนธรรมแห่งชาติเมื่อ พ.ศง 2485 มีการเปลี่ยนแปลงหลักฟ ที่สังเกตได้มีดังนี้
               - ตัดพยัญชนะ ข ขวด ค คน ฆ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ศ ษ ฬ แล้วใช้ ข ค ด ด ต ถ ท ธ น ส ส ล ตามลำดับ
               - พยัญชนะสะกดของคำที่ไม่ได้มีรากมาจากคำบาลีสันสกฤต เปลี่ยนเป็นพยัญชนะสะกดตามแม่โดยตรง เช่น อาจเปลี่ยนเป็น อาด, สมควร เปลี่ยนเป็น สมควน
             
 - เปลี่ยน อย เป็นหย เช่น อยาก เป็น หยาก เลิกใช้คำควบไม่แม้ เช่น จริง ก็เขียนเป็น จิง, ทรง ก็เขียนเป็น ซง
               - ร หัน ที่มิได้ออกเสียง/อัน/ ส่วนใหญ่ถูกเปลี่ยนเป็นสระอะตามด้วยตัวสะกด เช่น อุปปสรรค เปลี่ยนเป็น อุปสัค, ธรรม เปลี่ยนเป็น ธัม
               เลิกใช้สระใอไม้ม้วน เปลี่ยนเป็นสระไอไม้มลายทังหมด
               - เลิกใช้ ฤ ฤา ฦ ฦา เปลี่ยนไปใช้การสะกดตามเสียง เช่น พฤกษ์ ก็เปลี่ยนเป็น พรึกส์, ทฤษฝำี ก็เปลี่ยนเป็น พรึกส์, ทฤษฎี ก็เปลี่ยนเป้น ทริสดี
               - ใช้เครื่องหมายวรรคตอนอย่างภาษาต่างประเทศ เช่น มหัพภาคเมื่อจบประดยค จุลภาคเมือจบประโยคย่อยหรือวลี อัตภาคเชื่อมประโยค และจะไม่เว้นวรรคถ้ายังไม่จบประโยคโดยไม่จำเป็น
               หลังจากจอมพล ป. พิบูลสงคราม หลุ่ดจากอำนาจหลังสงครามดลกครั้งที่สองยุติ รัฐนิยมก็ถูกยกเลิกไปโดยปริยายอักขรวิธีภาษาไทยได้กลับไปใช้แบบเดิมอีกครั้งหนึ่งกูลภาษาไท-กะได  th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาไท-กะได

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)