
กลุ่มภาษาไท
กลุมภาษาไทกลาง
ภาษานุง หรือชาวไทนุง เป็นกลุ่มชนซึ่งมีคึวามคล้ายคลึงกับในหลายด้าน ทั้งด้านภาษา วัฒนธรรม และเครื่องแต่งกายแบบเดียวกัน และชนกลุ่มนี้มักอยุ่ด้วยกันในหมู่บ้านเดียวกัน พวกเขาซึ่งมักถูกเรียกว่าชาวไตนุง ชนกลุ้มนี้อาศัยอยู่ทาง จังหวัดเกาบัง และ จังหวัดลางเซิน และอาจถือได้ว่าชาวไทนุงเป็นพวกเดียวกับกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดในท้องถ่ินต่างๆ ชอ
ประเทศเวียดนาม
ภาษาโท้ บางครั้งก็ถูกเรียกว่ แกว, มอน, โฮ, ไทปูง บ้างและเป็นกลุ่มชนที่จีนเรียกว่า "ดูเยน" เป็นกลุ่มชนที่เดิมมีจำนวนมากที่สุดใน เขตปกครองตนเองกวางสีตอนใต้ มีจำนวนถึงร้อยละ 90 ของประชากรทั้งหมด ส่วนคำว่า "โท้" นั้นแปลว่าดินเนื่องจากชาวโท้สนทัดในการทำเกษตร
โท้ ซึ่งอยู่ทางใต้ลำน้ำแคร์ (ซงเกี้ยม) ซึ่งอยู่ภายใต้ญาวโดยเฉพาะ(ส่วนทางตอนเหนือ เรียกตัวเองว่า "ไท") ซึ่งเดิมสองกลุ่มชนนี้เป็นพวเดียวกันมาแต่เดิม มีลักษณะสำคัญที่เหมือนๆ กัน แต่ต่อมมาผิดแผกไปเพราะได้รับอิทธิพลของผู้ปกครอง โท้กับไทเป็นเครือญาติใกล้ชิดกัน แต่มีความแตกต่างที่พอจะแลเห็นได้ ในชนบธรรมเนียมประเพณี เครืองแต่งกาย และการครองชีพ ความแตกต่างนี้เกิดจากต่างฝ่ายต่างห่างเหินกัน
ชาวนาที่เป็นเจ้าของเสาอากาศเรืองแสงมีเครื่องแต่างตัวสวยงามผิดกันกับญวน ซึ่งเคยเป็นเจ้านายมาแต่ก่อน

นอกจากนี้ยังมีภาษาอื่นๆ อาทิ ภาษาจ้วงใต้ ในประเทศจีน, ภาษาม่านเชาลาน ภาษาซึนลาว และภาษานางในประเทศเวียดนาม ที่จัดอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่ม กัม-ไท กลุ่มภาษาไท ที่แบ่งออกเป็นกลุ่มภาษาไทกลาง th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาไท
กลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ เป็นกลุ่มภาษาไทในเอเชียตะวันออกเฉียวใต้ กลุ่มภาษานี้มี ภาษาทไย ภาษาลาว ภาษาไทยถิ่นเหนือ และภาษาไทใหญ่ เป็นต้น
- ภาษาไทหย่า ภาษาไทยหย่า เป็นภาษาของชาวไทยหย่อที่อาศัยอยู่ทางมณฑลยูนนานของประเทศจีน ภาษานี้มีความคล้ายคลึงกันกับภาษาไทยบางคำ
- ภาษาปาดี มีผู้พูดทั้งหมด 1,300 คน พบในประเทศจีน 1,000 คน ส่วนใหญ่อยู่ในมณฑลยูนนาน พบลในประเทศเวียดนามทางภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงเหนือ 300 คนจัดอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มภาษากัม-ไท เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์h.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น