คงจะไม่มีขาติพันธุ์ไทกลุ่มไหนที่มีความสับสนในการเรียกชื่อ ตลอดจนประวัติศาสตร์ของตนเองเหมือนผุ้ไท (ภูไท) ที่บริเวณสองฝั่งโขงบย่อยครั้งที่เข้าใจผิดว่าเป็นกลุ่มที่คล้ายคลึงกับไทที่เวียดนามเหนือและจีนตอนใต้ คำว่าผู้ไทมีสองความหมายชื่อชาติพันูะ์ของผุ้ไทและผุ้คนหรือคนไททั่วไป เนื่องจากที่ผ่านมามีนักเขียนหลาท่านใช้คำว่าผ "ผุ้ไท" ในการเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธ์ต่างๆ เช่น กลุ่มตะวันตกเแียงใต้ ในเวียดนาม ได้แก่ "ผู้ไทดำ" ผู้ไทขาว" ผู้-ไทแดง" และกลุ่มกลางในจีนตอนใต้ เช่น "บู้ได่" ฯลฯ ว่าเป้นกลุ่มชาติพันูะ์เดียวกันหรือคล้ายๆ กันกับผุ้ไท ซึงสร้างความสับสนแก่ผุ้ศักษาภายหลัง ดังนั้นในบทความนี้จึงขออธิบายความหมาย ของผุ้ไท ซึ่งสร้างความสับสนแก่ผุ้ศึกษาภายหลัง ดังนั้นในบทความนี้จึงของอธบายความหมารยของผุ้ไท ซึ่งแบ่งเป้ฯ 2 ความหมาย คือ
ความหมายแรก เป้นชื่อเแพาะของกลุ่มชาติพันู์สองกลุ่มที่ไม่มีความเกี้วข้องกัน ได้แก่ ผู้ไท ในภาคตะวันออเแียงเหนือของไทยและตอนกลางของสปป.ลาว และ สองเป้ฯทราบกันมานานกว่าร้อยปีแล้วว่ามีกลุ่มไท(ไต่) ต่างๆ ในบริวเณชายแดนเวียดนาม-จีน ที่เรียกตัวเองว่า "บู้ได่" เหล่านี่มีภาษา รประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ ศาสนา แตกต่างกันมากกับผุ้ไทบริเวณสองฝั่งโขชง ศึ่งต่อมา ปราณี กลุลวนิชย์ และธีระพันธ์? เหลืองทองคำ นักภาษาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ ได้ศึกษาเปรีบเทียบภาษาผุ้ไทสองฝั่งโขงกับภาษา "บุ้ได่" แล้วได้ข้อสรุปว่า ผุ้ไทและบู้ได่ เป้นคนละกลุ่มกัน และเขาได้เสนอว่า ผุ้ไทและบู้ได่น่่าจะแยกจากันมาประมาร 1,200 ปี แล้ว
ความมหายที่สอง "ผู้ไท" คือผุ-ไท หมายถึง คน-ไท หรือผุ้คนของกลุ่มไทต่างๆ เช่น (ุ้-ไทดำ/ไตดำ" แทน "ผู้ไทดำ" เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนในการเรยกชื่อชาติพันธ์ุ ในปัจจุบันนี้นักวิชการรุ่นใหม่ใช้คำว่า "ไทดำ/ไตดำ" ถ้าหากถามตนไตดำ ไตขาว ไตแดง ฯลฯ "เจ้าเป้นผุ้ไทบ่อ" จะไ้รับคำตอว่า "แม่นอยู่ ข้อยเป้นผุ้ไท" จากการสำรวจภาคสนามของผุ้เขียนที่เมืองดซโปน สปป.ลาว ได้พบผุ้หญิงที่พุดสำเนียงผุ้ไทจึงถามเธว่า "เจ้าเป็นผุ้ไทบ่อ" ได้รับคำตอบว่า "แม่น" ครั้นถามต่อไว่า "ผุ้ไทคือคนเซโปนนี้บ่" (ผู้ไทเหมือนคนเซโปนหรือไม่) จะได้รับคำตอบว่า "บ่อข้อยเป็นไทแดง มาเอาผัวผุ้ไทอยู่พ้" เธอบอกว่าภาษาของเธอแตกต่างจากผุ้ไทมาและไม่ได้นับถือศาสาพุทธแต่นับถือผี เธอยังบอกต่อีกว่า อยู่ที่เซโปนไม่ได้พุดภาษาไตแดงเพราะคนที่นี่ไม่เข้าใจนอกจากนี้ผุ้เขียนยังได้รับผระสบการณืเดียวกันเมื่อพบกับคนไตดำที่แขวงเซียงขวาง ทางตอนเหนือของสปป.ลาว และนักวิชาการท่านอื่นก้เกิดความสับสนเช่นกันเมื่อเขาสัมภาษณ์ ไทขาว ไทดำและลาวน้อย จาเวียดนามเหนือ
ภาษาผุ้ไท พบแค่บริเวณสองฝั่งโขงคือภาคอีสานของไทยและสปป. ลาวตอนกลาง บริเวณแขวงคำม่วนและแขวงสะหวันนะเขต ภาษาผุ้ไทนั้นอยุ่ในกลุ่มเดียวกันกับภาษาไทย ลาว แสก โย้ย ญ้อ พวนและภาษาอื่นๆ อีกเกือบร้อยภาษา ซึงอยุ่ในตระกุลไท-กได ถิ่นกำเนิดเดิมของภาษาตระกุลไท-กะได ราวๆ สามพันปีที่แล้วอยุ่ที่กวางสีและกวางตุ้งบริเวณจีนตอนใต้ คนที่ใช้ภาษาไท-กะไดนีน่าจะป็นผุ้วาดภาพเขียนสีที่ผาเขาฮัวซาน ในมณฑลกวางสี เมื่อประมาณ สีพันถึงสองพันสี่ร้อยปีี่แล้วและต่อมาน่าจะเป็นผุ้ผชิตกลองมโหระทึกในสมัยของ ไป่เย่ว์ ราวๆ สองพันปีที่แล้วในปัจจุบันนี้ยังพบภาษาไท-กะได ในบริวณจีนตอนใต้ลงไปจนจรดชายแดนลาว-เขมร ภาคใต้ของไทยและทางตอนเหนือของพม่าไปจนถึงรัฐอัสสัมทางตะวันออกของอินเดีย
ภาษาผุ้ไทนั้นใกล้ชิดกับภาษาพวนและญ้อมากที่สุด ตัวอย่างเช่น "ไปสิเลอ" (ไปไหน) ภาษาพวน "ไปกะเลอ" และคำที่ใช้ใระใอไม้ม้วนในภาษาไทยภาษาพวนและผุ้ไทออกเสียง เออ เช่น "ส้งเม่อ" (กางเกงใหม่" น้ำเสอ" (น้ำใส) และ "ข" ผุ้ไทและพวนใช้ "ห" เช่น "แขน มะขาม " ฯลฯ ผุ้ไทและพวนออกสเียง "แหน มะหาม" ส่วนไทยและลาว ออกเสียง "แขน มะขาม" ทั้งภาษาพวน ญ้อและผุ้ไๆทจัดอยู่ในกลุ่มภาษาเดียวกันคือ กลุ้มธนิต (ดูคำอธิบายด้านล่าง)
นอกจากนั้นยังมีข้อเสนอของ เจมส์ อาร์ ชามเบอเลียน นักภาษาศาสตร์ ได้แบ่งกลุ่มภาษาตระกุลไทในกลุ่มตะวันตกเแียงใต้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มสิถิล และกลุ่มธนิต ผุ้ไทอยุ่กลุ่มะนิต สวนไทดำอยุ่กล่มสิถิล และจากการศึกษาของ อรพันธ์ บวรรักษา เปรียบ เที่ยบภาษาผุ้ไท จังหวัดกาฬสินธุ์และภาษาลาวโซ่ง (ไทดำ) ที่ จังหวัดเพชรบุรี พบว่าข้อมูลการศึกษาสอดคล้องกัน ผุ้ศึกษาได้เสนอไว้อย่งน่ารับฟังว่า "ความแตกต่างระหว่างภาษาถ่ินต่างๆ และความแตกต่างจากภาษาที่มาจากภาษาดั้งเดิมเดียวกันเกิดขึ้นเพราะเวลาที่ผ่านไปและการอพยพเคลื่อนย้ายถ่ินฐาน ตลอดจนการติดต่อสัมพันธ์กับผุ้ใช้ภาษา"
มีนักเขียนหลายท่านได้เสนอว่าผุ้ไทที่บริเวณต่อนกลางขอแม่น้ำดขงเป้นชาติพันธุ์เดียวกันกับไทดำ แต่ผุ้เขียนมีความเห้นขัอแย้ง เพราะนอกจากข้อมูลที่กล่าวข้างต้นแล้ว ยังพบว่าผุ้ไทและไทดำสื่อสารกันไม่รู้เรื่องนอกจากนั้นยังพบว่าไทดำนั้นมีภาษาเขียน แต่ผุ้ไทมไม่มี ระบบความเชื่อ การนับถือสษสนา ลักษณะของสถาปัตยกรรมการสร้างบ้านเรือน และการแต่าางกาย แตกต่างกันกับผุ้ไท
คนผุ้ไๆทน่าจะอพยพมาจากสิบสองจุไททางภาคเหนือของเวียดนาม มาตั้งรกรากอยุ่ที่ลาวตอนกลางบริเวณที่ราบสุงนากายแขวงคำเกิด ราวๆ พันปีที่แล้ว ในปัจจุบันนี้คนผุ้ไทสองฝั่งดขงและคนไตต่าง ๆ ในสิบสองจุไท สามารถสื่อสารกันได้เพียงเล็กน้อยด้วยภาษาของตนเอง
ในงานผุ้ไทนานาชาติที่ อ. เขาวง จ.กาฬสินธุ์ เมื่อต้นปี 2556 ที่ผ่านมา หลังการแสกงจบลงพิธีกรกลางได้ประกาศว่า "พวกเราเป้นผุ้ไทดำทั้งหมด" มีเด็กหยิงน่ารักคนกนึ่งถามผุ้เขียนว่า "หนูฟังเพลงของไทดำ ไทขาว ไทแดง จากเวียดนามไม่เข้าใตแต่ผุ้ไทจากลาวฟังเข้าใจดี ทำไมถึงบอกว่าเราเป้นผุ้ไทดำทั้งหมด" ผุ้เขียนยิ้มแล้วตอบไปว่า "คนไทจากเวียดนามเหนือ เป้นคนละกลุ่มกันกับผุ้ไทสองฝั่งโขง แต่เคยมีบรรพบุรุษที่มีความใกล้ชิดกันนอดีตเมื่อพันกว่าปีที่แล้ว แต่ผุ้ไทเหมืทอนเราพบแค่ทีภาคอีสานของไทยและในลาวตอนกลางเท่านั้น" ภายใต้รอยยิ้มนั้นผุ้เขียีนกลับเพิ่มความกังวลในใจมากย่ิงขึ้น "ในอนาคตคนรุ่นใหม่จะมีความเข้าใจชาติพันธุ์ของตนเองเป็นเช่นไร"sakonnakhonguide.com/index.php?name=knowledge&file=readknowledge&id=3#.WXnVvYTyjIU
ภาษาไทยถิ่นอีสาน ภาษาท้องถิ่นภาคอีสาน ภาค อีสานเป็นเขตหรือภาคหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของไทย อยู่บนที่ราบสูงโคราช มีแม่น้ำโขงกั้นเขตทางตอนเหนือและตะวันออกของภาค ทางด้านใต้จรดชายแดนกัมพูชา ทางตะวันตกมีเทือกเขาเพชรบุรณืและเทือกเขาคงดงญาเย็นเป้นแนวกั้นแยกจากภาค เหนือและภาคกลางการเกษตรนับเป้นอาชีพหลักของภาค แต่ด้วยสภาพอากาศที่ร้อนและแห้งแล้ง รวมถึงปัจจับอื่นๆ ทางด้านสังคมเสรษบกิจ ทำให้มีผลผลิตที่น้อยกว่าภาคึอื่นๆ
ภาษาหลักของ ภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน แต่ภาษาไทยกลางก็นิยมใช้กันแพร่หลายโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมร ที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ยังมีภาษาถิ่นอื่นๆ เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทยโคราช เป็นต้น
ภาคอีสานมีเอกลักษณ์ทงวัฒนาธรรมที่โดดเด่น เช่น อาหาร ภาษา ดนตรีหมอลำ และศิลปะการฟ้อนรำที่เรียกว่าเซิ้ง เป็นต้น ภาคอีสาน มีเนือที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ แสนเจ็หมื่น ตารางกิโลเมตร หรือมีเน้อที่หนึ่งในสามของ พื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทย มีเทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูหลวง และภูกระดึง เป้นต้นกำเนิดของแม่น้ำ เช่น ลำตะคอง แม่น้ำชี แม่น้ำพอง แม้น้อเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล
ภาษาไทยถ่ินอีสาน เป็นภาษาไทยถ่ินที่ใช้พุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใกล้เคียงกับภาษาลาว ในอดีตเคยเขียนด้วยอักษรธรรมล้านช้างหรืออักษรไทยนอย ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรไทย มีพยํยชนะ 20 เสียง สระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 2-3 เสียง บางท้องถิ่นไม่มีเสียงสระเอือ
ภาษา ถิ่นอีสาน หมายถึง ภาษาถ่ินที่มีคนส่วนมากใช้พุดจากันในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน นอกจากจะใช้พุดจากันในภาคตะวันออกเแียงเหนือแล้ว ยังมีการพูดจากันในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวอีกด้วย
ฟังไกว ลี ได้แบ่งกลุ่มภาษาตระกุลไทย สาขาตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งประกอบด้วยภาษาในประเทศไทย ลาว อินเดีย และเวียนาม ภาษาตระกุลไทนั้น ใช่ว่าจะใช้เฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น ยังมีการใช้ภษาาตระกุลไท ในต่างประเทศอีกหลายแห่ง แต่ละแห่งก็ได้ชื่อว่า เป้ฯภาษาถิ่นไททั้งนั้น เมื่อประมาณ 40 กว่าปีที่แล้วมา ท่านรองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ จากมณฑลยูนานกับคณะ ได้มาเยี่ยมวัิทยาลัยครุมหาสารคาม ท่านได้บรรยายต่อที่ประชุมอาจารย์ด้วยภาษาถ่ินไท มณฑลยูนนาน ท่าได้แสดงอักษรไทยยูนนาน ให้พวกเราได้ดูได้อ่่าน คณะครูอาจารย์ และนักศึกษาในสมัยนั้น ใามารถังและอ่านได้อย่างเข้าใจด้วย
ภาษาถิ่นไทย ยูนนาน มีความลบะม้ายคล้ายเหมือนกับภาษาถิ่นอีสานมาก โดยเฉพาะคำศัพท์ต่างฟ สำหรับตัวอักษรยูนาน ก็คือ "อักษรไทลื้อ" นั่นเอง ลักษณะของอักษรไทลื้อ มีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรไทยล้านนา และอักษรธรรมอีสานมาก กล่าวได้วา ผุ้ที่อ่านอักษรไทล้านนาและอ่านอักษรธรรมอีสานได้ ก็สามารถที่จะอ่านอักษรไทลื้อได้ เปฯที่น่าสังเกตว่า คนไทยสวนมากจะสามาถเข้าใมจกัน ด้วยภาษาต่างถิ่นได้ เนื่องจาก มีศัพม์ร่วมตระกุลกัน เช่น ชื่อที่เรียกเครือญาติกน พ่อ แม่ พี่ น้อง ศัพท์เกี่ยวกับร่างกาย มีเสียงปฎิภาค ของระบบเสียงพยัญชนะ และเสียงวรรณยุกต์ จะออกเสียงแตกต่างกันอย่างมีกฎเกณฑ์ และเงื่อนไข ระหว่างภาษาถ่ินด้วยกัน sakonnakhonguide.com/index.php?name=knowledge&file=readknowledge&id=3#.WXnVvYTyjIU
ภาษาพูดของคนอีสานในแต่ละท้องถิ่นนั้นจะมีสำเนียงที่แตกต่างกันออกไป ตามสภาพทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตติดต่อกับภิ่นใดรวมทั้งบรรพบุรุษของท้องถิ่นนั้นๆ ด้วย เช่น แถบจังหวัดศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ มีชายแดนติดกับเขชมร สำเนียงและรากเหง้าของภาษาก็จะมีคำของภาษาเขชมรปะปนอยฦุ่ด้วย ทางด้านจังหวัด สกลนคร นครพนม มุกดาหาร หมองคาย เลย ที่ติดกับประเทศลาวและมีชาวเวียดนามเข้ามาอาศยอยุ่ค่อนข้างมากกจะมีอีกสำเนียงหนึค่ง ชนเผ้าดั้งเดิมที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นๆ ก็จะมีสำเนียงที่มีเอกลักษณ์เป้นของตนเองและยังคงรักษาเอกลักษณ์นั้นไว้ ตราบจนปัจจุบัน เช่น ชาวภูิไทในจังหัดมุกดาหารและนครพนม
ถึงแม้ชาวอีสานจะมีภาษาพูดที่มีความแตกต่างกันในแต่ละท้องถ่ิน แต่ในภาษาอีสานก็มีสิ่งหนึ่งที่ยังคงมีความคล้ายกันก็คือ ลักษระของคำและความหมายต่างๆ ที่ยังคงสื่อความถึงกันได้ทั่วทั้งภาค ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ชาวอีสานต่างท้องถิ่นกันสามารถสื่อสารกันได้เป็นอย่างดี
ถ้าจะถามว่าภาษาถิ่นแท้จริงขงชาวอีสานใชกันอยู่ที่ใดคงจะตอบไม่ได้ เพราะภาษาที่จนในท้องถ่ินต่างๆ ใช้กันก็ล้วนเป็นภาษาอีสานทั้งนั้น ถึงแ้จะเป้นภาษาที่มีความแตกต่างกัน แต่ก็มีรากศัพท์ในการสื่อความหมายทีคล้ายคลึงกัน
ในปัจจุบันชาวอีสานตามเมืองใหญ่ โดยเฉพาะเด็กวัยรุ่นได้หันมาใช้ภาษาไทยกลางกันมากขึ้น เพราะวัยรุ่นเหล่านี้ส่วนใหย่ได้รับการศึกษาที่ดีเที่ยบเท่ากับงคนในภาคกลางหรือกรุงเทพมหานคร ทำให้ภาษาอีสานเริ่มลดความสำคัญลง เช่นเดียวกันกับภาษาพื้นเมืองของภาคอื่นๆ แต่ผุ้คนตามชนบทและคนเฒ่าคนแก่ยังใช้ภาษาอีสานกันเป้ฯภาษาหลักอยุ่ ทั้งนี้คนอีสานส่วนใหญ่จะสามารถสื่อสารได้ทั้งภาษที่มา http://student.nu.ac.th/isannu/isanculture/language1.htm
อีสานของท้องถ่ินตนเองและภาษาไทยกลาง หากท่านเดินทางไปในชนบทของอีานจะพบการใช้ภาษาถ่ินที่แตกต่างกันไปดังกล่าวมาแล้ว แต่คนอีสานเหล่านี้ดดยเฉพาะวัยรุ่นหนุ่มสาวก็จะสามารถสื่อสารกับท่านเป้นภาษาไทยกลางได้อีกด้วยทั้งนี้เพราะวัยรุ่นชาวอีสานส่วนใหญ่จะเข้ามาหางานทำในกรุงเทพฯ และปรมณฑล เมื่อก่อนจะไปหางานทำเฉพาะหลังฤดูทำนา แต่ในปัจจุบันวัยรุ่นสวนใหญจะเข้ากรุงเทพฯ และทำงานที่นั่นตลอดทังปี ชาวอีสานที่ไปต่างถิ่นนอกจากจะหางานทำแล้ว ก็ยังมมีการเผยแพร่วัฒนธรรมรวมทั้งภาษาของตนเองไปในตัว จะเห้นได้จากในปัจจุบันชาวไทยจำนวนมากเร่ิมเข้าใจภาษาอีสาน ทั้งจากเพลงลูกทุ่งภาษาอีสานที่ได้รับความนิยมกันทั่วประเทศและจากคนรอบตัวที่เป้นคนอีสาน ทำให้ภาษาอีสานยังคงสาารถสืบสานต่อไปได้อยุถึงแม้จะมีคนอีสานบางกลุ่มเลิกใช้ - ที่มา http://student.nu.ac.th/isannu/isanculture/language1.htm
วันพฤหัสบดีที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
วันพุธที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
Laos - Phutai Language group
ภาษาลาว เป็นภาษาราชการของลาว เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไท และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาอีสานของประเทศซึ่งเป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาลาว ระบบการเขชียนในภาษาลาวจะใช้อักษรลาว ซึ่งเป้นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระที่อยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของพยัญชนะ) และสัมพันธใกล้ชิดกับอักษณไทย
สำเนียงภาษาถิ่น ของภาษาลาวสามารถแบ่งได้ 6 สำเนียง
- สำเนียงลาวเวียงจันทน์ เวียงจัน บอลิคำไซ
- ภาษาลาวเหนือ หลวงพระบาง ไชยบุรี อดมไซ หลวงน้ำทา
- ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ เชียงขวาง หัวพัน
- ภาษาลาวกลาง คำม่วน สุวรรณเขต
- ภาษาลาวใต้ จำปาศักดิ์ สาละวัน เซกอง อัตตะปือ
- ภาษาลาวตะวันตะวันตก ร้อยเอ็ดในประเทศไทย
ทางการประเทศลาวไม่ได้กำหนดให้สำเนียงถิ่นใดเป้นสำเนีนงภาษากลาง แต่การใช้ภาษาลาวอย่่างเป็นทางการ เช่น ทางสถานี้โทรทัศน์แห่งประเทศลาว สถานีวิทยุแห่งประเทศลาว จะใช้สำเนียงเวียงจันทน์ซึ่งเป็นสำเนียงของคนเมืองหลวง สามารถเข้าใจกันได้ทั่วประเทศ การเรียนภาษาลาวในประเทศลาวนั้น รัฐบาลลาวไม่ได้บังคับให้ใช้สำเนียงเวียงจันทน์ แต่ให้สามารถใช้สำเนียงท้องถิ่นต่างๆ ได้ แต่การเรียนภาษาลาวสำหรับชาวต่างประเทศ รัฐบาลลาวแนะนำให้ใช้สำเนียงเวียงจันทน์ฉะนั้นประชาชนในประทเสลาวจึงพุดอ่านภาษาลาวเป็นสำเนียงท้องถิ่นของตนแต่ประชาชนก็สามารถฟังเข้าใจได้ทุกสำเนียงทั่วประเทศ แม้จะพุดภาษาต่างสำเนียงกันก็ตาม
ส่วนในประเทศลาว นอกจากสำเนียงถิ่นใหญ่แล้วยังมีสำเนียงแตกออกไปอีหลายสำเนยงย่อย ชเ่น ภาษาลาวใต้ถิ่นสาละวัน ภาษาลาวกลางถิ่นสุวรณเขต สำเนียงย่อยถ่ินเมืองอาดสะพังทองถิ่นเมืองจำพอน ภาษาเวียงจันทน์ถิ่นเมืองปากงึม ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีผุ้พุดภาษาลาวใต้ถิ่นจำปาศักดิ์ในจังหวัดพระวิหาร สตึงแตรง และรัตนคีรีของประเทศกัมพูชาด้วย
ภาษาญ้อ หรือ ภาษาไทย้อ เป็นภาษากลุ่มไท-ลาว ที่พุดกันหม่ชาวไทญ้อ ซึงมีอยุ่ในประเทศไทยประมาณ ห้าหมื่นคน ในจ. สกลนคร หนองคาย นครพนม มหาสารคาม ปราจีนบุรีและสระบุรีสวนใหญ่อพยพมาจากประเทศลาว เป้ฯชาวไทญ้อส่วนใหญ่พูดภาษาลาวอีสานได้ด้วย
ภาษาญ้อจัดอยุ่ในตระกูลภาษาไท กะได ภาาากลุ่มคำ-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไต-แสก มีลักาณคล้ายคลึงกับภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาลาวสำเนียงหลวงพระบางมีพยัญชนะ 19 เสียง สระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 3 เสียง วรรณยุกต์ 4 เสียง พยัญชนะควบกลุ้ 6 เสียงth.wikipedia.org/wiki/ภาษาลาว
ไทยย้อเป็นชาวไทยภาคอีสาน อีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งมักเรียกตัวเองว่ ไทยย้อ เชน ชาวย้อในจังหวัดสกลนครย้อ ในตำบลท่าขอนยาง(เมืองท่าขอนยาง) อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ชาว ย้อ ในอำเภอท่าอุเทน จังหวัด นครพนม และชาวย้อในตำบลดงเย็น อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ภาษาและสำเนียงของชาวย้ออาจ ผิดเพี้ยนไปจากาวอีสานทั่วไปบ้างเล็กน้อย ถิ่นฐานดั้งเดิมของชาวย้อ มีผุ้ค้นพบว่าเดิมอยู่แค้วนสิบสองปันนา หรือ ยูนาน ต่อมาชาวย้อมชยางพวกได้อพยพลงมาตามลำน้ำโขง เพื่อเลือกหาที่ตั้งบ้านตั้งเมืองที่อุดมสมบูรณ์กวาที่อยู่เดิมจนในที่สุด ชาวย้อกลุ่มหนึ่งได้พบว่าตรงปากน้ำสงครามริมฝังโขง เพื่อเลือกหาที่ตั้งบ้านตั้งเมืองี่อุดมสมบูรณืกว่าที่อยู่เดิมจนในที่สุด ชาวย้อกลุ่มนหนึ่งได้พบว่าตรงปากน้ำสงครามริมฝั่งโขงเป็นที่อุดมสมบรูรณืที่ปลา ชุกชุม จึงได้จัดตั้งขึ้นเป็นเมืองไชยบุรี
เมื่อ พ.ศ. 2350 (สมัยรัชกาลที่ 1 ต่อมาเมืองเจ้านุวงษ์ เวียงจันทนืเป็นกบฎต่อกรุ
เทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2369 ไทย ย้อเมืองไชยบุรีถูกกองทัพเจ้านุวงษ์เีจยงจันทน์กวาดต้อนให้อพยพข้ามโขงไป ด้วย โดยให้ไปตั้งอยู่ที่เมืองปุงเลง เมืองคำเกิด เมืองคำม่วน ในแขวงคำม่วน ของลาว ต่อมากองทัพไทย ได้กวาดต้อนให้ไทยข้อ ให้อพยพข้ามโขง กลับมาอีกครั้งหนึ่ง ทรงพระกรุณาโปรดเหล้า ฯ ไทยย้อกลุ่มกนึ่งตั้งขึ้นเป็นเมืองท่าอุเทน
เมื่อ พ.ศ. 2373 ไทยย้อที่อพยพข้ามโขมาตั้งที่บ้านท่าขอนยาง เป้ฯเมืองท่าขอนยาง ขึ้นเมืองกาฬสินธุ์ ไทยย้อเมืองสกลนคร อพยพมาจากเมืองมหาขชัย (แขวงคำม่วนของลาว) มาตั้งอยู่ริมน้ำหนองหานสมัยรัชกาลที่ 3 ตั้งขึ้นเป็นเมืองสกลนคร เมื่อ พ.ศ. 2381 ในจังหวัดมุกดาหารมีไทยย้อที่อพยพมาจากเมืองคำม่วนตั้ง บ้านเรือนอยุ่ที่ตำบลดงเย็น อำเภอเมืองมุกดาหาร และอยู่ในท้องที่อำเภอนิคมคำสร้อยอีกหลายหมู่บ้าน เผ่าไทยในนครพนม
ตามจดหมายเหตุของหลวงชำนาญอุเทนดิษฐิ์ (บฮด กิติศรีวรพันู์) ต้นสกุลกิติศรีวรพันธุ์..
...ลุถึงปีมะเส็ง เบญจศด จุลศักราช 1195 พ.ศ. 2376 เจ้าเมืองบุ่งลิงพร้อมด้วยฮุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร กรมการเมือง ท้าวเพี้ย จึงปรึกษากันเห็นว่าเป็ฯโอกาสเหมาะที่จะกลังมรพึ่งพระบรมโพธิสมภารของรัชกาลที่ 3 เพราะญวนกำลังติศึกกับไทยอยู่จึงอพยพจากเมืองบุ่งลิงมาพักอยู่ตอนหาดทายกลางแม่น้ำโขง บริเวณบ้านร้างแขวงเมืองนครพนา และเจ้าเมือง กรมการเมือง จึงขึ้นไปสืบดุมี่เมืองไชยบุรี
และตั้งใจว่าหากเมืองไชยบุรียังเป็นเมืองร้างวางเปล่าอยู่ ก็จะพากันไปอยู่ตามเดิม ครั้นไปสืบดูแล้วปรากฎว่า ราชวงศ์เสน เมืองเชมราบ กรมการเมือง และแม่ทัพนายกฝ่ายไทยต้งค่ายรักาาเมือง มีผุ้คนอยุ่กันหนาแน่นแล้ว กรมการเมืองหลวงบุ่ลิงจึงปรึกษาต่อราชวงศ์เสน ของสวามิภักดิ์ เป็นข้าขอบขัณฑสีมาอาณาจักรกรุงเทพมหานครต่อไปจนชั่วลูกชั่วหลานราชวงศ์เสนพร้อมด้วยนายทัพนายกองจึงมีหนังสือบอกข้อราชากร พร้อมกับนำตัวเจ้าเมืองและกรมการเมืองหลวงบุงลิงลงไปหาแม่ทัพนายกองทีเมืองนครพนมจึงสั่งให้เจ้าเมืองและกรมการเมืองหลวงบุ่งลิงอพยพครอบครัว ไพร่พล จากคอนหาดทรายกลางแม่น้ำโขง มาตั้งอยู่ ณ บ้านท่าอุเทน ซึ่งร้ายอยู่เกลี่้ยกล่อมให้ผุ้คนฝั่งซ้ายในแขวงเมืองคำเกิด คำม่วง มารวมอยู่ด้วยเป็นอันมาก
ปีมะเมีย ฉศก จุลศักราช 1196 พ.ศ. 2377 แม่ทัพฝ่ายไทยไดตั้งพระปทุมเจ้าเมืองหลวงบุ่งลิงเดิม ให้เป็ฯพระศรีวรราชและเป็นเจ้าเมือง และยกบ้านท่าอุเทนร้างนั้นขึ้นเป้น "เมืองท่าอุเทน" อุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร ยังคงเดิม ให้เมืองท่าอุเทนขึ้นอยู่ในความปกครองของพระสุนทรราวงศา ผุ้วาาชการเมืองยโสธรนครพนม และเมืองท่าอุเทนมีชายฉกรรจ์ 700 คนผุกส่งส่วยปีละ 18 ตำลึง
ถึงปีจอ สัมฤทธิศก จุลศักราช 1200 พ.ศ. 2381 เป็นปีที่ 15 ในรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงเทพมหานคร มีท้องตราโปรดเกล้า ฯ ให้เมืองท่าอุเทนขึ้นตรงต่อกรุงเทฯ เป้นหัวเมืองจัตวาขาดจากการปกครองของเมืองยโสธรนครพนม มีเมืองรามราชเป็นเมืองขึ้น (ในครังนั้นเจ้าเมืองรามราชคือ พระอุทัยประเทศ ชื่อเิม ท้าวบัง เป็นเจ้าเมืองเชียฮม อพยพผุ้คนมาจากฝั่งซ้ยชองแม่น้ำโขงคราวกบฎเจ้าอนุวงศ์ คุมครัว 458 คนไปตั้งเมืองอยู่ที่บ้านรามราช ซึ่งปัจจุบันเป้ฯตำบลรามราช ขึ้นกับอำเภอท่าอุเทน) ส่วนเขตเมืองท่าอุเทนนันไม่ได้แบ่งเพราะตั้งอยู่ในเขตเมืองนครพนม และให้ช่วยรักษาเขตแดนเมืองนครพนมไปพลางก่อน
พระศรีวรราช ผพระปทุม) เจ้าเืองท่าอุเทนคนแรกถึงแก่อนจกรรมในปีใดไม่ปรากฎในจดหมายเหตุ มาปรากฎหลัก,านเอาต่อเมือถึงปีมะเมีย โทศก จุลศักราช 1232 พ.ศ. 2412 พระศรีวรราช (การี) เจ้าเมองคนที่ 2 ถึงแก่อนิจกรรม ทางราชการจึงตั้งท้ายอินทิสาร (พรหมมา) เป็นพระศรีวรราช ดำรงตำแหน่งผุ้ว่าราชการเมืองคนที่ 3 ให้ท้ายพระพรหมเป็นอุปฮาด ให้ท้าวพระคำก้อนเป็นราชวงศ์ ให้ท้าวบุญมากเป็นราชบุตร ส่งส่วยตามเดิม
ถึงปีขาล สัมฤทธิศก จุลศักราช 1240 พ.ศ. 2421 พระศรีวรราชุ (พรหมมา) และทาวพระพรหมถึงแก่อนิจกรรม ทางราชการจงตั้งให้ท้าวบุญมาก ราชบุตรเป็นพระศรีวรราช ดำรงตำแหน่งผุ้ว่ารชการการเมืองคนที่ 45 และเป้นเจ้าเืองคนสุดท้าย
เมืองท่าอุเทนเปลี่ยนฐานะจากเมืองเป็นอำเภอเมื่อ ร.ศ. 128 พ.ศ. 2453 มีขุนศุภกิจจำนงเป็นนายอำเภอคนแรก
ปัจจุบันชาวไทญ้อมีภุมิละเนากระจัดกระจายอยุ่ทัวไปในภาคอีสาน อาทิ บ้านนายูง อำเภอกุมกวาปี จังหวัดอุดรธานี, บ้านท่าขอนยาง บ้านกุดน้ำใส บ้านยาง บ้านเหล่ากลาง บ้านโพน บ้านค้นธารราษฎร์ อภเภอกัทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม, บ้านสิม บ้านหนองแงง บ้าสา อ.ยางตลาด และบ้านหนองไม้ตาย อ.สหัสขันธ์ จ. กาฬสินธุ์, บ้านหนองแห่ง บ้านจำปา บ้านดอกนอ บ้านบุ้งเบ้า บ้านนาสีนวล อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร, บ้านขามเฒ่า อ.เมือง จ.นครพนม บ.ท่าอุเทฯ บ้านไชยบุรี บ้านนาขมิ้น บ้านค้อ บ้านพระทาย บ้านโพนสวรรค์ บ้านรามรช อ.ท่าอุเทน จ.นครพนม บ้านแพง บ้านนาขาม อ.บ้านแพง จ.นครพนม บ้านดงเย็น จ.นครพนม บ้านศรีสงคราม บ้านนาเดื่อน บ้านนหว้า ย้านเสียว อ.ศรีสงคราม จ.นครพนนม baanmaha.com/community/threads/33053-ประวัติศาสตร์กลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทญ้อ
สำเนียงภาษาถิ่น ของภาษาลาวสามารถแบ่งได้ 6 สำเนียง
- สำเนียงลาวเวียงจันทน์ เวียงจัน บอลิคำไซ
- ภาษาลาวเหนือ หลวงพระบาง ไชยบุรี อดมไซ หลวงน้ำทา
- ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ เชียงขวาง หัวพัน
- ภาษาลาวกลาง คำม่วน สุวรรณเขต
- ภาษาลาวใต้ จำปาศักดิ์ สาละวัน เซกอง อัตตะปือ
- ภาษาลาวตะวันตะวันตก ร้อยเอ็ดในประเทศไทย
ทางการประเทศลาวไม่ได้กำหนดให้สำเนียงถิ่นใดเป้นสำเนีนงภาษากลาง แต่การใช้ภาษาลาวอย่่างเป็นทางการ เช่น ทางสถานี้โทรทัศน์แห่งประเทศลาว สถานีวิทยุแห่งประเทศลาว จะใช้สำเนียงเวียงจันทน์ซึ่งเป็นสำเนียงของคนเมืองหลวง สามารถเข้าใจกันได้ทั่วประเทศ การเรียนภาษาลาวในประเทศลาวนั้น รัฐบาลลาวไม่ได้บังคับให้ใช้สำเนียงเวียงจันทน์ แต่ให้สามารถใช้สำเนียงท้องถิ่นต่างๆ ได้ แต่การเรียนภาษาลาวสำหรับชาวต่างประเทศ รัฐบาลลาวแนะนำให้ใช้สำเนียงเวียงจันทน์ฉะนั้นประชาชนในประทเสลาวจึงพุดอ่านภาษาลาวเป็นสำเนียงท้องถิ่นของตนแต่ประชาชนก็สามารถฟังเข้าใจได้ทุกสำเนียงทั่วประเทศ แม้จะพุดภาษาต่างสำเนียงกันก็ตาม
ส่วนในประเทศลาว นอกจากสำเนียงถิ่นใหญ่แล้วยังมีสำเนียงแตกออกไปอีหลายสำเนยงย่อย ชเ่น ภาษาลาวใต้ถิ่นสาละวัน ภาษาลาวกลางถิ่นสุวรณเขต สำเนียงย่อยถ่ินเมืองอาดสะพังทองถิ่นเมืองจำพอน ภาษาเวียงจันทน์ถิ่นเมืองปากงึม ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีผุ้พุดภาษาลาวใต้ถิ่นจำปาศักดิ์ในจังหวัดพระวิหาร สตึงแตรง และรัตนคีรีของประเทศกัมพูชาด้วย
ภาษาญ้อ หรือ ภาษาไทย้อ เป็นภาษากลุ่มไท-ลาว ที่พุดกันหม่ชาวไทญ้อ ซึงมีอยุ่ในประเทศไทยประมาณ ห้าหมื่นคน ในจ. สกลนคร หนองคาย นครพนม มหาสารคาม ปราจีนบุรีและสระบุรีสวนใหญ่อพยพมาจากประเทศลาว เป้ฯชาวไทญ้อส่วนใหญ่พูดภาษาลาวอีสานได้ด้วย
ภาษาญ้อจัดอยุ่ในตระกูลภาษาไท กะได ภาาากลุ่มคำ-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไต-แสก มีลักาณคล้ายคลึงกับภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาลาวสำเนียงหลวงพระบางมีพยัญชนะ 19 เสียง สระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 3 เสียง วรรณยุกต์ 4 เสียง พยัญชนะควบกลุ้ 6 เสียงth.wikipedia.org/wiki/ภาษาลาว
ไทยย้อเป็นชาวไทยภาคอีสาน อีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งมักเรียกตัวเองว่ ไทยย้อ เชน ชาวย้อในจังหวัดสกลนครย้อ ในตำบลท่าขอนยาง(เมืองท่าขอนยาง) อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ชาว ย้อ ในอำเภอท่าอุเทน จังหวัด นครพนม และชาวย้อในตำบลดงเย็น อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ภาษาและสำเนียงของชาวย้ออาจ ผิดเพี้ยนไปจากาวอีสานทั่วไปบ้างเล็กน้อย ถิ่นฐานดั้งเดิมของชาวย้อ มีผุ้ค้นพบว่าเดิมอยู่แค้วนสิบสองปันนา หรือ ยูนาน ต่อมาชาวย้อมชยางพวกได้อพยพลงมาตามลำน้ำโขง เพื่อเลือกหาที่ตั้งบ้านตั้งเมืองที่อุดมสมบูรณ์กวาที่อยู่เดิมจนในที่สุด ชาวย้อกลุ่มหนึ่งได้พบว่าตรงปากน้ำสงครามริมฝังโขง เพื่อเลือกหาที่ตั้งบ้านตั้งเมืองี่อุดมสมบูรณืกว่าที่อยู่เดิมจนในที่สุด ชาวย้อกลุ่มนหนึ่งได้พบว่าตรงปากน้ำสงครามริมฝั่งโขงเป็นที่อุดมสมบรูรณืที่ปลา ชุกชุม จึงได้จัดตั้งขึ้นเป็นเมืองไชยบุรี
เมื่อ พ.ศ. 2350 (สมัยรัชกาลที่ 1 ต่อมาเมืองเจ้านุวงษ์ เวียงจันทนืเป็นกบฎต่อกรุ
เทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2369 ไทย ย้อเมืองไชยบุรีถูกกองทัพเจ้านุวงษ์เีจยงจันทน์กวาดต้อนให้อพยพข้ามโขงไป ด้วย โดยให้ไปตั้งอยู่ที่เมืองปุงเลง เมืองคำเกิด เมืองคำม่วน ในแขวงคำม่วน ของลาว ต่อมากองทัพไทย ได้กวาดต้อนให้ไทยข้อ ให้อพยพข้ามโขง กลับมาอีกครั้งหนึ่ง ทรงพระกรุณาโปรดเหล้า ฯ ไทยย้อกลุ่มกนึ่งตั้งขึ้นเป็นเมืองท่าอุเทน
เมื่อ พ.ศ. 2373 ไทยย้อที่อพยพข้ามโขมาตั้งที่บ้านท่าขอนยาง เป้ฯเมืองท่าขอนยาง ขึ้นเมืองกาฬสินธุ์ ไทยย้อเมืองสกลนคร อพยพมาจากเมืองมหาขชัย (แขวงคำม่วนของลาว) มาตั้งอยู่ริมน้ำหนองหานสมัยรัชกาลที่ 3 ตั้งขึ้นเป็นเมืองสกลนคร เมื่อ พ.ศ. 2381 ในจังหวัดมุกดาหารมีไทยย้อที่อพยพมาจากเมืองคำม่วนตั้ง บ้านเรือนอยุ่ที่ตำบลดงเย็น อำเภอเมืองมุกดาหาร และอยู่ในท้องที่อำเภอนิคมคำสร้อยอีกหลายหมู่บ้าน เผ่าไทยในนครพนม
ตามจดหมายเหตุของหลวงชำนาญอุเทนดิษฐิ์ (บฮด กิติศรีวรพันู์) ต้นสกุลกิติศรีวรพันธุ์..
...ลุถึงปีมะเส็ง เบญจศด จุลศักราช 1195 พ.ศ. 2376 เจ้าเมืองบุ่งลิงพร้อมด้วยฮุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร กรมการเมือง ท้าวเพี้ย จึงปรึกษากันเห็นว่าเป็ฯโอกาสเหมาะที่จะกลังมรพึ่งพระบรมโพธิสมภารของรัชกาลที่ 3 เพราะญวนกำลังติศึกกับไทยอยู่จึงอพยพจากเมืองบุ่งลิงมาพักอยู่ตอนหาดทายกลางแม่น้ำโขง บริเวณบ้านร้างแขวงเมืองนครพนา และเจ้าเมือง กรมการเมือง จึงขึ้นไปสืบดุมี่เมืองไชยบุรี
และตั้งใจว่าหากเมืองไชยบุรียังเป็นเมืองร้างวางเปล่าอยู่ ก็จะพากันไปอยู่ตามเดิม ครั้นไปสืบดูแล้วปรากฎว่า ราชวงศ์เสน เมืองเชมราบ กรมการเมือง และแม่ทัพนายกฝ่ายไทยต้งค่ายรักาาเมือง มีผุ้คนอยุ่กันหนาแน่นแล้ว กรมการเมืองหลวงบุ่ลิงจึงปรึกษาต่อราชวงศ์เสน ของสวามิภักดิ์ เป็นข้าขอบขัณฑสีมาอาณาจักรกรุงเทพมหานครต่อไปจนชั่วลูกชั่วหลานราชวงศ์เสนพร้อมด้วยนายทัพนายกองจึงมีหนังสือบอกข้อราชากร พร้อมกับนำตัวเจ้าเมืองและกรมการเมืองหลวงบุงลิงลงไปหาแม่ทัพนายกองทีเมืองนครพนมจึงสั่งให้เจ้าเมืองและกรมการเมืองหลวงบุ่งลิงอพยพครอบครัว ไพร่พล จากคอนหาดทรายกลางแม่น้ำโขง มาตั้งอยู่ ณ บ้านท่าอุเทน ซึ่งร้ายอยู่เกลี่้ยกล่อมให้ผุ้คนฝั่งซ้ายในแขวงเมืองคำเกิด คำม่วง มารวมอยู่ด้วยเป็นอันมาก
ปีมะเมีย ฉศก จุลศักราช 1196 พ.ศ. 2377 แม่ทัพฝ่ายไทยไดตั้งพระปทุมเจ้าเมืองหลวงบุ่งลิงเดิม ให้เป็ฯพระศรีวรราชและเป็นเจ้าเมือง และยกบ้านท่าอุเทนร้างนั้นขึ้นเป้น "เมืองท่าอุเทน" อุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร ยังคงเดิม ให้เมืองท่าอุเทนขึ้นอยู่ในความปกครองของพระสุนทรราวงศา ผุ้วาาชการเมืองยโสธรนครพนม และเมืองท่าอุเทนมีชายฉกรรจ์ 700 คนผุกส่งส่วยปีละ 18 ตำลึง
ถึงปีจอ สัมฤทธิศก จุลศักราช 1200 พ.ศ. 2381 เป็นปีที่ 15 ในรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงเทพมหานคร มีท้องตราโปรดเกล้า ฯ ให้เมืองท่าอุเทนขึ้นตรงต่อกรุงเทฯ เป้นหัวเมืองจัตวาขาดจากการปกครองของเมืองยโสธรนครพนม มีเมืองรามราชเป็นเมืองขึ้น (ในครังนั้นเจ้าเมืองรามราชคือ พระอุทัยประเทศ ชื่อเิม ท้าวบัง เป็นเจ้าเมืองเชียฮม อพยพผุ้คนมาจากฝั่งซ้ยชองแม่น้ำโขงคราวกบฎเจ้าอนุวงศ์ คุมครัว 458 คนไปตั้งเมืองอยู่ที่บ้านรามราช ซึ่งปัจจุบันเป้ฯตำบลรามราช ขึ้นกับอำเภอท่าอุเทน) ส่วนเขตเมืองท่าอุเทนนันไม่ได้แบ่งเพราะตั้งอยู่ในเขตเมืองนครพนม และให้ช่วยรักษาเขตแดนเมืองนครพนมไปพลางก่อน
ชาวไทญ้อ |
ถึงปีขาล สัมฤทธิศก จุลศักราช 1240 พ.ศ. 2421 พระศรีวรราชุ (พรหมมา) และทาวพระพรหมถึงแก่อนิจกรรม ทางราชการจงตั้งให้ท้าวบุญมาก ราชบุตรเป็นพระศรีวรราช ดำรงตำแหน่งผุ้ว่ารชการการเมืองคนที่ 45 และเป้นเจ้าเืองคนสุดท้าย
เมืองท่าอุเทนเปลี่ยนฐานะจากเมืองเป็นอำเภอเมื่อ ร.ศ. 128 พ.ศ. 2453 มีขุนศุภกิจจำนงเป็นนายอำเภอคนแรก
ปัจจุบันชาวไทญ้อมีภุมิละเนากระจัดกระจายอยุ่ทัวไปในภาคอีสาน อาทิ บ้านนายูง อำเภอกุมกวาปี จังหวัดอุดรธานี, บ้านท่าขอนยาง บ้านกุดน้ำใส บ้านยาง บ้านเหล่ากลาง บ้านโพน บ้านค้นธารราษฎร์ อภเภอกัทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม, บ้านสิม บ้านหนองแงง บ้าสา อ.ยางตลาด และบ้านหนองไม้ตาย อ.สหัสขันธ์ จ. กาฬสินธุ์, บ้านหนองแห่ง บ้านจำปา บ้านดอกนอ บ้านบุ้งเบ้า บ้านนาสีนวล อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร, บ้านขามเฒ่า อ.เมือง จ.นครพนม บ.ท่าอุเทฯ บ้านไชยบุรี บ้านนาขมิ้น บ้านค้อ บ้านพระทาย บ้านโพนสวรรค์ บ้านรามรช อ.ท่าอุเทน จ.นครพนม บ้านแพง บ้านนาขาม อ.บ้านแพง จ.นครพนม บ้านดงเย็น จ.นครพนม บ้านศรีสงคราม บ้านนาเดื่อน บ้านนหว้า ย้านเสียว อ.ศรีสงคราม จ.นครพนนม baanmaha.com/community/threads/33053-ประวัติศาสตร์กลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทญ้อ
วันอังคารที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
Thai Language
ภาษาไทยจัดอยู่ในกลุ่มภาษาตระกูลไท-กะได (Tai-Kadai) แต่ยังมีผู้สงสัยว่าตระกูลภาษาไท-กะไดอาจมีความสัมพันธ์ุทางเช้อสายกับตระกูลภาษาอื่นๆ โดยมีนักภาษาศาสตร์ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางเชื้อสายภาษาตระกูลภาษาไท-กะได ไว้ 3 ฝ่าย คือ
- นักภาษาศาสตร์เชื่อว่าภาษาตระกูลไท-กะได มีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลจีน-ทิเบต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ภาษาตระกูลไท-กะได เป็นตระกูลย่อยของภาษาตระกุลจีน-ทิเบต เนื่องจากข้อค้นพบที่ว่าคำในภาษาไทยและคำในภาษาจีนมีความใก้เคยงกันมาก จึงสันนิษฐานว่าภาาาไทยและภาษาจีนอาจมีต้นกำเนิดมาจากตระกูลภาษาเดียวกัน
- นักภาษาศาสตร์เชื่อว่าภาษาตระกูลไท-กะได มีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน โดยนักภาษาศาสตร์ที่ชื่อว่า พอล เค เบเนดิกต์ ให้ข้อคิดว่า ภาษาไทยและภาษาจีนไม่ได้มีความคล้ายคลึงเพราะมีเชื่อสายภาษาเดียวกันแต่ความคล้ายคลึงนั้นอาจเกิดมาจากการยืมภาษานั่นเอง
อย่างไรก็ดี พอล เค เบเนดิกต์ เชื่อว่าภาษากะได ซึ่งเขาให้คำนิยามเป้ฯคนแรกว่า หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาลักกยา (พูดในอำเภอจิ่นซิ่ว มณฑลกวางสี) ละควา/ละซา เก้อหล่าว ละจี๊ และหลี(ฮไล) (พูดในเกาะไหหลำ) เป็นภาษาที่เป็นสะพานเชื่อมระหวว่างภาษาตระกูลไทกับภาษาออสโตรนีเซียน เนื่องจากภาาากลุ่มกะไดเป็นภาษาคำโดดและใช้เสียงวรรณยุกต์เหมือนภาาาตระกูลไท และมีบางอยาเหมือนภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน คือ มีคำขยายตามหลังคำหลัก ซึ่งภาษาจีนไม่มีระบบไวยากรณ์
การเชื่อมสัมพันธ์ทางเชื้อสายนี้จึงใช้เป็นหลักฐานในการพิสูจน์สมมติฐานได้ว่าภาาาตระกูลไท-กะได สัมพันธ์กับภาษาตระกูลออสโตรรีเซียน และแตกมาจากภาษาตระกูลออสโตร-ไท ร่วมกัน
นักภาษาศาสตร์เชื่อว่าภาษาตระกูลไท-กะได มาจากภาษาตระกูลออสโตร-ไท ซึงรวมภาษาออสโตรนีเซียน และแม้ว-เย้า ในกลุ่มตระกูลภาษานี้ด้วย
จากสมมติฐาน จะเห็นว่านักภาษศาสตร์มีความเห็นว่า ภาษาตระกูลไท-กะไดน่าจะมีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลจีน-ทิเบต ภาษาตระกูลออสโตนีเซียนรวมไปถึงภาษาตระกูลแม้ว - เย้า ด้วย อย่างไร ก็ดีภาาาตระกูลไท -กะได ไม่มีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกเลย
ภาษาตระกูลไท ศ.ดร. พัง กวย ลี ได้เสนอว่าภาษาตระกูลไทแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม โดยใช้คำศัพท์และวิวัฒนาการของเสียงบางเสียงเป็นหลัก ดังนี้
1. กลุ่ม ทางเหนือ ภาษาไทถ่ินต่่างๆ ในประเทศจีน เช่น โป-เอย, วูมิง เป็นต้น
2. กลุ่มกลาง ได้แก่ ภาษาไทถิ่นซึ่งอยู่ตามชายแดนระหว่างประเทศจีนกับประเทศเวียดนาม เช่น โท้ ไทบลัง นุง เป็นต้น
3. กลุ่มทางตะวันตกเฉียงใต้ ได้ แก่ ภาษาไทถิ่นในประเทศไทยประเทสลาง มาเลเซีย เขมร พาม่าและอินเดีย
-
ลักษณะของภาษาตระกุลไท
- นักภาษาศาสตร์เชื่อว่าภาษาตระกูลไท-กะได มีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลจีน-ทิเบต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ภาษาตระกูลไท-กะได เป็นตระกูลย่อยของภาษาตระกุลจีน-ทิเบต เนื่องจากข้อค้นพบที่ว่าคำในภาษาไทยและคำในภาษาจีนมีความใก้เคยงกันมาก จึงสันนิษฐานว่าภาาาไทยและภาษาจีนอาจมีต้นกำเนิดมาจากตระกูลภาษาเดียวกัน
- นักภาษาศาสตร์เชื่อว่าภาษาตระกูลไท-กะได มีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน โดยนักภาษาศาสตร์ที่ชื่อว่า พอล เค เบเนดิกต์ ให้ข้อคิดว่า ภาษาไทยและภาษาจีนไม่ได้มีความคล้ายคลึงเพราะมีเชื่อสายภาษาเดียวกันแต่ความคล้ายคลึงนั้นอาจเกิดมาจากการยืมภาษานั่นเอง
อย่างไรก็ดี พอล เค เบเนดิกต์ เชื่อว่าภาษากะได ซึ่งเขาให้คำนิยามเป้ฯคนแรกว่า หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาลักกยา (พูดในอำเภอจิ่นซิ่ว มณฑลกวางสี) ละควา/ละซา เก้อหล่าว ละจี๊ และหลี(ฮไล) (พูดในเกาะไหหลำ) เป็นภาษาที่เป็นสะพานเชื่อมระหวว่างภาษาตระกูลไทกับภาษาออสโตรนีเซียน เนื่องจากภาาากลุ่มกะไดเป็นภาษาคำโดดและใช้เสียงวรรณยุกต์เหมือนภาาาตระกูลไท และมีบางอยาเหมือนภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน คือ มีคำขยายตามหลังคำหลัก ซึ่งภาษาจีนไม่มีระบบไวยากรณ์
การเชื่อมสัมพันธ์ทางเชื้อสายนี้จึงใช้เป็นหลักฐานในการพิสูจน์สมมติฐานได้ว่าภาาาตระกูลไท-กะได สัมพันธ์กับภาษาตระกูลออสโตรรีเซียน และแตกมาจากภาษาตระกูลออสโตร-ไท ร่วมกัน
นักภาษาศาสตร์เชื่อว่าภาษาตระกูลไท-กะได มาจากภาษาตระกูลออสโตร-ไท ซึงรวมภาษาออสโตรนีเซียน และแม้ว-เย้า ในกลุ่มตระกูลภาษานี้ด้วย
จากสมมติฐาน จะเห็นว่านักภาษศาสตร์มีความเห็นว่า ภาษาตระกูลไท-กะไดน่าจะมีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลจีน-ทิเบต ภาษาตระกูลออสโตนีเซียนรวมไปถึงภาษาตระกูลแม้ว - เย้า ด้วย อย่างไร ก็ดีภาาาตระกูลไท -กะได ไม่มีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกเลย
ภาษาตระกูลไท ศ.ดร. พัง กวย ลี ได้เสนอว่าภาษาตระกูลไทแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม โดยใช้คำศัพท์และวิวัฒนาการของเสียงบางเสียงเป็นหลัก ดังนี้
1. กลุ่ม ทางเหนือ ภาษาไทถ่ินต่่างๆ ในประเทศจีน เช่น โป-เอย, วูมิง เป็นต้น
2. กลุ่มกลาง ได้แก่ ภาษาไทถิ่นซึ่งอยู่ตามชายแดนระหว่างประเทศจีนกับประเทศเวียดนาม เช่น โท้ ไทบลัง นุง เป็นต้น
3. กลุ่มทางตะวันตกเฉียงใต้ ได้ แก่ ภาษาไทถิ่นในประเทศไทยประเทสลาง มาเลเซีย เขมร พาม่าและอินเดีย
-
การแบ่งกลุ่มภาษาตระกูลไท |
ระบบเสียงพยัญชนะ มีทั้งพยัญชนะเดี่ยวและพยัญชนะควบกล้ำ แต่ส่วนใหญ่จะใช้พยัญชนะเดี่ยวขึ้นต้นคำมากกว่าส่วนพยญชนะตัวสะกดไม่มีพยัญชนะควกลุ้มเลย
ระบบเนียงสระ มีทั้งสระเดียวและสระผสม ในภาษาไทยเสียงสั้นยาวของสระเป็นเรื่องสำคัญที่ทำให้คามหมายของคำแตกต่างกันได้ เช่น วัน วาน ปัก ปาก เป้นต้น ดดยในภาษาไทยสระเสียงยาวสามารถเกิดขึ้นท้ายพยางค์ได้ทุกเสียง เช่น หมุ่ ป่า มือ เป้นต้ัน ส่วนสระเสียงสั้นจะมีพยัญชนะเกิดขึ้นท้ายพยางค์ เรียกว่า พยั๙นะเสียงคอหอยหยุด/?/ (Glottal shop) เป็นตัวสะกด (ยกเว้นคำที่ออกเสียวเร็วและคำที่มีหลายพยางค์)
ระบบเสียงวรรณยุกต์ ภาษาตระกุลไท ให้ความสำคัญกับระบบเสียงวรรณยุกต์เป็นอย่างมาก คำทุกคำหรือพยางค์ต้องมีเสียงวรรณยุกต์กำกับ เพราะเสียงวรรณยุกต์สามารถทให้ความหมายของคำเปลี่ยนแปลงได้ เชน ขา ข่า ข้า เป็นต้น
- ด้านระบบคำ ภาาาตระกุลไท มีัลักาณะเป้นคำโดด คือเ้นคำพยางค์เดียว เช่น กิน นั่ง นอน พือ แม่ ลูก ฯลฯ ส่วนคำหลายพยางค์ในภาษาไทยเกิดจากการยืมคำจากภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาลาลี - สันสกฤต ภาษาเขมร เป็นต้น
- ด้านระบบไวยากรณ์ มีลักาณโครงสร้างของประโยค คือ ประธาน + กริยา + กรรม ถ้าทีคำขยาย คำขยายนั้นจะวางไว้หลังคำหลัก เช่น กินจุ หมาดุ หรือถ้าในกรณีนามวลีที่มีลักาณะนาม จะเรียงคำแบบ นามหลัก + จำนวน + ลักษณนาม เช่น หมู่ 3 ตัว, บ้าน 5 หลัง เป็นต้น
ลักษณะของภาษาไทย
- ภาษาไทยมีตัวอักษรเป็นของตนเอง ซึ่งตัวอักษรไทยเริ่มปรากฎมาแต่ครั้งสุโขทัย ในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง ราว พ.ศ. 1826
- ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีพยางค์เดียว กล่าวคือ ภาษาไทยเป้นภาษาที่เป้นคำโดด ซึ่งมีความหมายที่ผู้ฟังเข้าใจในทันที่
- ภาษาทไยมีตัวสะกดตรงตามมาตร
- ภาษาไทยมีรูปสระวางไว้หลายตำแหน่ง
-ภาษาไทยมีหลายความหมายในคำเดียว ภาษาไทยถือว่าเป็นภาษาคำโดด เมื่อคำหนึ่งมีหนาที่ปลเี่ยนไป ความหมารย่อมเปลี่ยนไปเป็นอีกอย่างหนึ่งด้วย
- ภาษาไทยเป็นภาษาคำเรียง การเรียงคำในภาษาไทยนั้นถือว่าเป็นเรื่องสำคญอย่างยิ่ง เพราะหากมีการเรียงคำเปลี่ยนที่ไป ความหมาย่อมเปลี่ยนไปด้วย
- ภาษาไทยไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำเมื่อเข้าประโยค นั้นคือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรุปคำเพื่อแสดงเพศ พจน์ การก กาล มาลา วาจก โดยภาษาไทยสามารถแสดงออกด้วยวิธีการต่างเช่น การแสดงเพศ ภาษาไทยมีวิะีการแสดงพหูพจน์ บอกเวลา เป็นต้น
- คำในภาษาไทยมีเสียงัมพันธ์กับความหมาย
- ภาษาไทยเป็นภาษาดนตรี
- ภาษาไทยเป้ฯภาษาที่มีลักษณนาม
"ความเป็นมาภาษาไทย" บทที่ 1, อ.กฤติกา ชูผล
ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย เป็นลักษณะที่ทำให้ภาษาไทยแตกต่างจากภาษาอื่น เป้ฯลักษระเด่นของภาษาที่ปรากฎอยฝุ่ตลอดมานับพันปี คู่กบชนชาติไทยทำให้ภาษาไทย เป็นภาษาที่มีชีวิต เจริญงอกงามและอุดมสมบูรณ์ด้วยถ่อยคำที่สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับกาลเทศะและวัตถุปรสงค์ ักาณะต่างๆ เหล่านี้ได้แก่
- ลกษระการสร้างคำโดยการผันเสียงสุงต่ำ เสียงสุงต่ำในภาษาไทยมี 5 ้เสียง คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา โดยวิธีนี้ภาษาไทยสามารถสร้างคำใหม่จากคำมุคำเนียวได้ถึงคราวละ 5 อาทิ
ทอง หมายถึง ธาตุชนิดหนึ่ง
ถอ่ง หมายถึง งาม อร่าม แจ่มใส
ท่อง หมายถึง เดินก้าวไป ว่าซ้ำๆ ให้จำได้
ท้อง หมายถึง ส่วนของร่างกายด้านหน้าตั้งแต่ลิ่นปีจนถึงบริเวณต้นขา
ถอง หมายถึง กระทุ้งด้วยศอก เป็นต้น
- ลักษณะการจำแนกพยัชนะออกเป็น ไตรยางค์ กับการจำแนกพยัญชนะออกเป็นเสียงสุง เสียงกลาง เสียงต่ำ การจำแนกลักษณะนี้เป็ฯการจำแนกโดยสมมติ เพราะดดยธรรมชาติของเสยงพยัญชนะไม่มีเสียงสูงต่ำ "ไตรยางค์" เป้นลักษณะที่ทำให้เกดประดยชน์ 2 ด้านในภาษาไทย คือ ด้านความประหยัด และด้านที่เป้ฯความวอกงามของภาษา
ด้านความประหยัด ทำให้ไม่ต้องกำกับรูปวรรยุกต์ในคำพื้นเสียงที่ประสมด้วอักษรทั้ง 3 ประเภท คำเป้ฯที่ประสมด้วยอักษรสูง ไม่ต้องกำกับรุ)วรรยุกต์จัตวา ให้คำว่า หมา สวย สนาม ฯลฯ คำตายที่ประสมด้วยอักษรลกลางไม่ต้องกำกับรูปวรรณยุกต์เอก ในคำว่า กลับ จัด ตาก ปาป บีบ ฯลฯ คำตายสระเสียงสั้นที่ประสมด้วยอักษรต่ำไม่ต้องกำกับรูปวรรณยุกต์โท ในคำว่า พระ ปัด ริบ นก ฯลฯ และคำตายสระเสียงยาวที่ประสมด้วยอักษรต่ำไม่ต้องกำกับรูปวรรณยุกต์เอก ในคำว่า วาด ลาก รีบ เป็นต้น
ด้านความงอกงามของภาษา การจำแนกพยัญชนะตามวิธีไตรยางค์ทำำให้ภาษาไทยมีคำใช้เพิ่มขึ้นอีก 2-3 จากคำเสียงเดียวกัน ที่เกิดจากคำประสมด้วยอักษรสุง วรรณยุกต์โท กับคำประสมด้วยอักษรต่ำ วรรณยุกต์เอก เชน ข้า กับค่า และ ฆ่า หรือ เหล้รา กับ เล่า หรือ หว้า กับ ว่ เป็นต้น
- ลักษณะการเล่นเสียงเล่นคำ เป็นลักษณี่ปรากฎอยุ่ในภาษาไทยตั้แชงแต่อดีตถึงปัจจุบัน ลักษระการเล่นเสียง เล่นคำในภาษาไทยนี้อาจแบ่งเป็นประเภทย่อยดังนี้
ลักษระการใช้เสียงค้องจอง ปรากำอยุ่ในคำร้อยกรองและถอ่ยคำธรรมดาคำประพันธ์ของไทยทุกชนิด อาจต่างกันด้วยจำนวนคำ ครุ ลหุ เอก โท แต่จะมีลักษณะบังคับ ชนิดหนึ่งซึงคำประพันธุทุก
ประเภทต้องมี คือ บังคับเสียงสัมผัส แม้ในคำประพันธ์ประเทภฉันท์ ซึ่งเป้ฯคำประเพันธ์ที่เรารับมาจากอินเดีย เราก็ยังนำมาเพ่ิมสัมผัสเข้าไป ส่วนในถ้อยคำธรรมดา ร่องรอยของการใช้คำเสียงคล้องจองปรากฎอยุ่ทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นภาษาสมัยเก่า เช่น ศิลาจารึก สำนวน คำพังเพย บทร้งอเล่นปริศนาคำทาย หรือภาษา สมัยใหม่ เช่น สำนวน คำโฆษณา คำขวัญ เป็นต้น
ลักษณะการใช้คำเสริมสร้อย เป็นการเล่นเสียวให้คล้องจองกัน เพื่อให้กระทบกระทั่งฟังไพเราะ สร้อยคำที่นำมาเสริมมักไม่มความหมาย เช่น ใต้ถุนรุนช่อง ร้องแรกแหกกระเชอ วุ่นวายขายกะปิ เซ่นวักตั๊กกะแตน ฯลฯ
ลักษระารผวนคำ ภาษาไทยน่าจะเป็นภาษาเดียในโลกที่รู้จักใช้คำยวนเ็ฯเครืองแสดงปฏิภาณของผุ้ใช้ภาษา ความนิยมในการผวนคำ ของภาษาไทยมีมากจนถึงกับกวีนำคำผวนมาผูกเป็นเื่องราว ได้แก่ วรรณกรรม "สรพพลี้หวน" และ "สรรพล้อกวน" ของภาคใต้ เนื้อความเป็นคล้ายเรื่องชาดก แต่ใช้คำฝวนตลอดเรื่อง
เราอาจกล่าวได้วา การผวนคำเป็นอัจฉริยภาพเชิงปฏิภาณของผุ้ใช้ภาาไทยเป็นลักณะการฝึกออเสียงคำต่างๆ ให้ถูกต้องตามระดับเสียงที่เกิดตามธรรมชาติของการสับเสยง ทำให้เกิดเสียงคล้องจองขึ้นในใจของผุ้พุดเ ช่น หมายตาย หมายตา ขานี้ ยี้หมา เสือกระบาง กสากระเบือ เป้นต้น คำผวนเป็นจำนวนมากที่มีความหมายในทางหยาบโลน แต่หากพิจารณาให้ดีแล้จะเห้ฯว่าเป้นคำหยาบในใจของผู้พูดเท่านั้น มิได้ปรากฎออกมาเป้นถ้อยคำตรงๆ อาจกล่าวในเชิงบวกว่า คำผวนช่วยลดความหยาบโลนของถ้อยคำก็น่าจะได้
ลักษณะของการใช้ถ้อยคำที่แสดงถึงความประณีตของภาษา ความประณีตในการดำรงชีวิตของมนุษย์ได้แก่ แบบแผนการกินอยุ่หลับนอน การแต่งกาย วัฒนธรรม และระเบียบประเพณี เป็นเครื่องแสดงความเจริญของมนุษยชาติฉันใด ความประณีตของถ้อยคำก็เป็นเครื่องแสดงความเจริญของภาษาฉันนัน ลักษณะแสดงถึงความประณีตของภาษา ได้แก่
การใช้ถ้อยคำเป็นเชงิชั้นลดหลั่นกันตามกาล เทศะ และบุคคล มีทั้งภาษาหยาบ ภาษาละเอียด และภาษาคะนอง
การเลี่ยงใช้คำแนคำทีไีต้องการพุด คำที่ควรเลี่ยงได้แก่คำที่อาจผวนเป็นคำหยาบ การพูดถึงความตาย หรือสิ่งที่เป็นอัปมงคล เรื่องไม่ควรเปิดเผย ภาษาไทยร่ำรวยกับคำที่อาจเลือกใช้มาแทนคำที่ไม่เป็นที่นิยมเหล่านั้
การใช้ลักษณะนาม เป้นลักษระที่ไม่ปรากฎในภาษาอื่น ลักษณนามในภาษาไทยเป็นเครื่องแสดงความละเอียดของภาษา คำนามเพยงคำเดียว หากแสดงลักษรที่ต่างกัน ลัการะนามที่ใช้ก้จะต่างกันออกไปตามสภาพ
- ลักษรการสร้างคำทหยโดยการนำภาษาต่างประเทศมาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตมระบบของภาษาไทย นอกเหนือจกาการใช้รูปภาษาเดิม เพื่อให้ได้รูปคำใช้ในภาษามาย่ิงขึึ้ และเพื่อให้อ่านเขียนสะดวกขึค้น ตลอดจนเพื่อแยกความหมายองคำอีกเหตุหนึ่งด้วย อัจฉริยลักษรนี้ทำให้ภาษไทยเจริยงอกงามอย่างยิ่ง นับเป็นอัจฉริยลักษรที่สำคัญที่สุดของภาษาทไทย เพราะเป็นวิธีที่เปมาสมกับสถาณการณืของภาษาทไยปัจจุบัน ...
การสร้างคำแบบใหม่ ใช้วิธี ปรับประกอบด้วยการตัดพยางค์ ในคำยืมมากพยางค์ การเพ่ิมพยางค์ เพิ่มสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ เพื่อประโยชน์ทางนันทลักาณ์เพื่อให้ออกเสียงสะดวก, การปรุง ได้แก่การนำคำเหล่านั้มาสร้างตมวิธีการสร้งคำของไทยนำมาประสม ซ้ำ และซ้อน ตลอดจนนำมาเล่นเสียง เล่นคำ, การเปลี่ยน มีทั้งการเปลี่ยนสระและพยัญชนะ เพื่อให้ได้รูปคำมากขึ้น , การแปลง ได้แก่การนำคำยือมเหล่านั้นมาแสดงเป็นรูปต่างๆ ตามอักขรวิธี
จะเห็นได้ว่า ลักษณะการสร้างคำโดยการนำคำเป็นภาษาต่างประเทศมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับระบบของภาษาไทย มีผลทำให้คำยืมเหล่านั้นมีลักาณะหลมกลืน กับคำไทย งายแก่การใช้ สะดวกแก่การออกเสียง ใช้ได้สนิทปากสนิทใจนไทยทำให้คำยืมเหล่านั้น "ติด" อยุ่ในภาษาไทย ด้วยบักาณการสร้างคำตามวิธีที่กล่าวมาภาษาไทยจึงมีคำใหม่เพิ่มขึค้นไม่หยุดยั้งเป็นภาษาที่มีชีิวิต มีวิวัมนาการ อุดมสมบูรณืด้วยถ้อยคำอันผุ้ใช้ภาาาสามารถเลือกสรรได้ดังประสงคือย่งราบรื่อนแนบเนียน
ลักษณะต่างที่กล่าวข้างต้น เป็นลักษณะพิเศษที่ไม่ปรากฎเด่นชัดในภาษาอื่น เป็นลักษณะเฉพาะของภาษาไทย จึงเป็นลักษณะที่คนไทยผุ้ใช้ภาษาไทยทุกคน พึงตระหนัก พึงอนุรักษ์ และพึงพัฒนาให้งอกงาม เพื่อเป็นเครื่องแสดงเอกลัษณ์ของชาติไทย....
- บทความ "อัจฉริยลักษณะของภาษาไทย" ผศ. สุภาพร มากแจ้ง
- ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีพยางค์เดียว กล่าวคือ ภาษาไทยเป้นภาษาที่เป้นคำโดด ซึ่งมีความหมายที่ผู้ฟังเข้าใจในทันที่
- ภาษาทไยมีตัวสะกดตรงตามมาตร
- ภาษาไทยมีรูปสระวางไว้หลายตำแหน่ง
-ภาษาไทยมีหลายความหมายในคำเดียว ภาษาไทยถือว่าเป็นภาษาคำโดด เมื่อคำหนึ่งมีหนาที่ปลเี่ยนไป ความหมารย่อมเปลี่ยนไปเป็นอีกอย่างหนึ่งด้วย
- ภาษาไทยเป็นภาษาคำเรียง การเรียงคำในภาษาไทยนั้นถือว่าเป็นเรื่องสำคญอย่างยิ่ง เพราะหากมีการเรียงคำเปลี่ยนที่ไป ความหมาย่อมเปลี่ยนไปด้วย
- ภาษาไทยไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำเมื่อเข้าประโยค นั้นคือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรุปคำเพื่อแสดงเพศ พจน์ การก กาล มาลา วาจก โดยภาษาไทยสามารถแสดงออกด้วยวิธีการต่างเช่น การแสดงเพศ ภาษาไทยมีวิะีการแสดงพหูพจน์ บอกเวลา เป็นต้น
- คำในภาษาไทยมีเสียงัมพันธ์กับความหมาย
- ภาษาไทยเป็นภาษาดนตรี
- ภาษาไทยเป้ฯภาษาที่มีลักษณนาม
"ความเป็นมาภาษาไทย" บทที่ 1, อ.กฤติกา ชูผล
ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย เป็นลักษณะที่ทำให้ภาษาไทยแตกต่างจากภาษาอื่น เป้ฯลักษระเด่นของภาษาที่ปรากฎอยฝุ่ตลอดมานับพันปี คู่กบชนชาติไทยทำให้ภาษาไทย เป็นภาษาที่มีชีวิต เจริญงอกงามและอุดมสมบูรณ์ด้วยถ่อยคำที่สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับกาลเทศะและวัตถุปรสงค์ ักาณะต่างๆ เหล่านี้ได้แก่
- ลกษระการสร้างคำโดยการผันเสียงสุงต่ำ เสียงสุงต่ำในภาษาไทยมี 5 ้เสียง คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา โดยวิธีนี้ภาษาไทยสามารถสร้างคำใหม่จากคำมุคำเนียวได้ถึงคราวละ 5 อาทิ
ทอง หมายถึง ธาตุชนิดหนึ่ง
ท่อง หมายถึง เดินก้าวไป ว่าซ้ำๆ ให้จำได้
ท้อง หมายถึง ส่วนของร่างกายด้านหน้าตั้งแต่ลิ่นปีจนถึงบริเวณต้นขา
ถอง หมายถึง กระทุ้งด้วยศอก เป็นต้น
- ลักษณะการจำแนกพยัชนะออกเป็น ไตรยางค์ กับการจำแนกพยัญชนะออกเป็นเสียงสุง เสียงกลาง เสียงต่ำ การจำแนกลักษณะนี้เป็ฯการจำแนกโดยสมมติ เพราะดดยธรรมชาติของเสยงพยัญชนะไม่มีเสียงสูงต่ำ "ไตรยางค์" เป้นลักษณะที่ทำให้เกดประดยชน์ 2 ด้านในภาษาไทย คือ ด้านความประหยัด และด้านที่เป้ฯความวอกงามของภาษา
ด้านความประหยัด ทำให้ไม่ต้องกำกับรูปวรรยุกต์ในคำพื้นเสียงที่ประสมด้วอักษรทั้ง 3 ประเภท คำเป้ฯที่ประสมด้วยอักษรสูง ไม่ต้องกำกับรุ)วรรยุกต์จัตวา ให้คำว่า หมา สวย สนาม ฯลฯ คำตายที่ประสมด้วยอักษรลกลางไม่ต้องกำกับรูปวรรณยุกต์เอก ในคำว่า กลับ จัด ตาก ปาป บีบ ฯลฯ คำตายสระเสียงสั้นที่ประสมด้วยอักษรต่ำไม่ต้องกำกับรูปวรรณยุกต์โท ในคำว่า พระ ปัด ริบ นก ฯลฯ และคำตายสระเสียงยาวที่ประสมด้วยอักษรต่ำไม่ต้องกำกับรูปวรรณยุกต์เอก ในคำว่า วาด ลาก รีบ เป็นต้น
ด้านความงอกงามของภาษา การจำแนกพยัญชนะตามวิธีไตรยางค์ทำำให้ภาษาไทยมีคำใช้เพิ่มขึ้นอีก 2-3 จากคำเสียงเดียวกัน ที่เกิดจากคำประสมด้วยอักษรสุง วรรณยุกต์โท กับคำประสมด้วยอักษรต่ำ วรรณยุกต์เอก เชน ข้า กับค่า และ ฆ่า หรือ เหล้รา กับ เล่า หรือ หว้า กับ ว่ เป็นต้น
- ลักษณะการเล่นเสียงเล่นคำ เป็นลักษณี่ปรากฎอยุ่ในภาษาไทยตั้แชงแต่อดีตถึงปัจจุบัน ลักษระการเล่นเสียง เล่นคำในภาษาไทยนี้อาจแบ่งเป็นประเภทย่อยดังนี้
ประเภทต้องมี คือ บังคับเสียงสัมผัส แม้ในคำประพันธ์ประเทภฉันท์ ซึ่งเป้ฯคำประเพันธ์ที่เรารับมาจากอินเดีย เราก็ยังนำมาเพ่ิมสัมผัสเข้าไป ส่วนในถ้อยคำธรรมดา ร่องรอยของการใช้คำเสียงคล้องจองปรากฎอยุ่ทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นภาษาสมัยเก่า เช่น ศิลาจารึก สำนวน คำพังเพย บทร้งอเล่นปริศนาคำทาย หรือภาษา สมัยใหม่ เช่น สำนวน คำโฆษณา คำขวัญ เป็นต้น
ลักษณะการใช้คำเสริมสร้อย เป็นการเล่นเสียวให้คล้องจองกัน เพื่อให้กระทบกระทั่งฟังไพเราะ สร้อยคำที่นำมาเสริมมักไม่มความหมาย เช่น ใต้ถุนรุนช่อง ร้องแรกแหกกระเชอ วุ่นวายขายกะปิ เซ่นวักตั๊กกะแตน ฯลฯ
ลักษระารผวนคำ ภาษาไทยน่าจะเป็นภาษาเดียในโลกที่รู้จักใช้คำยวนเ็ฯเครืองแสดงปฏิภาณของผุ้ใช้ภาษา ความนิยมในการผวนคำ ของภาษาไทยมีมากจนถึงกับกวีนำคำผวนมาผูกเป็นเื่องราว ได้แก่ วรรณกรรม "สรพพลี้หวน" และ "สรรพล้อกวน" ของภาคใต้ เนื้อความเป็นคล้ายเรื่องชาดก แต่ใช้คำฝวนตลอดเรื่อง
เราอาจกล่าวได้วา การผวนคำเป็นอัจฉริยภาพเชิงปฏิภาณของผุ้ใช้ภาาไทยเป็นลักณะการฝึกออเสียงคำต่างๆ ให้ถูกต้องตามระดับเสียงที่เกิดตามธรรมชาติของการสับเสยง ทำให้เกิดเสียงคล้องจองขึ้นในใจของผุ้พุดเ ช่น หมายตาย หมายตา ขานี้ ยี้หมา เสือกระบาง กสากระเบือ เป้นต้น คำผวนเป็นจำนวนมากที่มีความหมายในทางหยาบโลน แต่หากพิจารณาให้ดีแล้จะเห้ฯว่าเป้นคำหยาบในใจของผู้พูดเท่านั้น มิได้ปรากฎออกมาเป้นถ้อยคำตรงๆ อาจกล่าวในเชิงบวกว่า คำผวนช่วยลดความหยาบโลนของถ้อยคำก็น่าจะได้
ลักษณะของการใช้ถ้อยคำที่แสดงถึงความประณีตของภาษา ความประณีตในการดำรงชีวิตของมนุษย์ได้แก่ แบบแผนการกินอยุ่หลับนอน การแต่งกาย วัฒนธรรม และระเบียบประเพณี เป็นเครื่องแสดงความเจริญของมนุษยชาติฉันใด ความประณีตของถ้อยคำก็เป็นเครื่องแสดงความเจริญของภาษาฉันนัน ลักษณะแสดงถึงความประณีตของภาษา ได้แก่
การใช้ถ้อยคำเป็นเชงิชั้นลดหลั่นกันตามกาล เทศะ และบุคคล มีทั้งภาษาหยาบ ภาษาละเอียด และภาษาคะนอง
การเลี่ยงใช้คำแนคำทีไีต้องการพุด คำที่ควรเลี่ยงได้แก่คำที่อาจผวนเป็นคำหยาบ การพูดถึงความตาย หรือสิ่งที่เป็นอัปมงคล เรื่องไม่ควรเปิดเผย ภาษาไทยร่ำรวยกับคำที่อาจเลือกใช้มาแทนคำที่ไม่เป็นที่นิยมเหล่านั้
การใช้ลักษณะนาม เป้นลักษระที่ไม่ปรากฎในภาษาอื่น ลักษณนามในภาษาไทยเป็นเครื่องแสดงความละเอียดของภาษา คำนามเพยงคำเดียว หากแสดงลักษรที่ต่างกัน ลัการะนามที่ใช้ก้จะต่างกันออกไปตามสภาพ
- ลักษรการสร้างคำทหยโดยการนำภาษาต่างประเทศมาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตมระบบของภาษาไทย นอกเหนือจกาการใช้รูปภาษาเดิม เพื่อให้ได้รูปคำใช้ในภาษามาย่ิงขึึ้ และเพื่อให้อ่านเขียนสะดวกขึค้น ตลอดจนเพื่อแยกความหมายองคำอีกเหตุหนึ่งด้วย อัจฉริยลักษรนี้ทำให้ภาษไทยเจริยงอกงามอย่างยิ่ง นับเป็นอัจฉริยลักษรที่สำคัญที่สุดของภาษาทไทย เพราะเป็นวิธีที่เปมาสมกับสถาณการณืของภาษาทไยปัจจุบัน ...
การสร้างคำแบบใหม่ ใช้วิธี ปรับประกอบด้วยการตัดพยางค์ ในคำยืมมากพยางค์ การเพ่ิมพยางค์ เพิ่มสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ เพื่อประโยชน์ทางนันทลักาณ์เพื่อให้ออกเสียงสะดวก, การปรุง ได้แก่การนำคำเหล่านั้มาสร้างตมวิธีการสร้งคำของไทยนำมาประสม ซ้ำ และซ้อน ตลอดจนนำมาเล่นเสียง เล่นคำ, การเปลี่ยน มีทั้งการเปลี่ยนสระและพยัญชนะ เพื่อให้ได้รูปคำมากขึ้น , การแปลง ได้แก่การนำคำยือมเหล่านั้นมาแสดงเป็นรูปต่างๆ ตามอักขรวิธี
จะเห็นได้ว่า ลักษณะการสร้างคำโดยการนำคำเป็นภาษาต่างประเทศมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับระบบของภาษาไทย มีผลทำให้คำยืมเหล่านั้นมีลักาณะหลมกลืน กับคำไทย งายแก่การใช้ สะดวกแก่การออกเสียง ใช้ได้สนิทปากสนิทใจนไทยทำให้คำยืมเหล่านั้น "ติด" อยุ่ในภาษาไทย ด้วยบักาณการสร้างคำตามวิธีที่กล่าวมาภาษาไทยจึงมีคำใหม่เพิ่มขึค้นไม่หยุดยั้งเป็นภาษาที่มีชีิวิต มีวิวัมนาการ อุดมสมบูรณืด้วยถ้อยคำอันผุ้ใช้ภาาาสามารถเลือกสรรได้ดังประสงคือย่งราบรื่อนแนบเนียน
ลักษณะต่างที่กล่าวข้างต้น เป็นลักษณะพิเศษที่ไม่ปรากฎเด่นชัดในภาษาอื่น เป็นลักษณะเฉพาะของภาษาไทย จึงเป็นลักษณะที่คนไทยผุ้ใช้ภาษาไทยทุกคน พึงตระหนัก พึงอนุรักษ์ และพึงพัฒนาให้งอกงาม เพื่อเป็นเครื่องแสดงเอกลัษณ์ของชาติไทย....
- บทความ "อัจฉริยลักษณะของภาษาไทย" ผศ. สุภาพร มากแจ้ง
วันจันทร์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
Tai-Kadai Ethnography
กลุ่มชาติพันธ์ไท-กะได หรือบางครั้งเรียกว่า กลุ่มชาติพัธุ์ไต-ไท เป็นชื่อเรียกโดยรวของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได กระจายตัวอยุ่ในภูมิภาคอุษาคเนย์ รับประทานข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูงมีใต้ถุน อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศสนาดั้งเดิมเป็นการนัถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือเสื้อเมือง) มีประเพณี สำคัญคือ ประเพณีส่งกรารต์ ซึึ่งเป็นปรพเพณีเฉลิมฉลองวสันตวิษฺวัต และการขึ้นปีใหม่ ทั้งนี้ คำเรียก ไต เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทยหใญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน ไทเปนคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษา กะได เช่น ลักเกีย แสก คำต้ง หลี เจียม ลาว ฯลฯ)
ในอดีต เชื่อกันว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได อพยพมาจากเทือกเขาอัลไต ต่อมาก็เชื่อว่าอพยพมาจากตอนกลางของประเทศจีน และก็เลื่อกัน่ากำเนิดในบริเวณจีนตอนใต้ เป้ฯอาณาจักน่านเจ้า และอพยพลงมาทางตอนใ้สร้างเป็นอาณาจักรล้านนา และอาณาจักรสุโขทัย สวนอีกทฤษฎีเชื่อว่าอพยพมาจากทางใต้ จากชวา สุมาตรา และคาบสมุทรมลายู แต่นักมานุษยวิทยาในปัจจุบันเชื่อกันว่ กลุ่มชาติดพันธุ์ไท-กะได อยู่ที่บริเวณจีนตอนใต้ เรื่อยมาจนถึงรัฐฉาน (ประเทศพม่า) ประเทศไทยตอนบน และแอ่งที่ราบลุ่มภาคอีสาน เรือยไปยังประเทศลาว หลังจากนั้นจึงมการอพยพเพิ่ม เช่นกลุ่มชาวอาหม ที่อพยพข้ามช่องปาดไก ไปยังอัสสัม และชาวไทยแดงที่อพยพไปตั้งถิ่นฐานบริเวณอาณาจักสิบสิงจุไท ...
มีรายงานตีพิมพ์เมื่อปี 2004 นักภาษาศาสตร์ตั้งสมมติฐานว่าภาษาไท-กะไดเร่ิมแรกกำเนิดจากภาษาออสโตนีเซียน ซึ่งผู้อพยพนำติดตัวจากไต้หวันไปถึงจีนแผ่นดินใหญ่ หลังจากนั้นภาาานี้ก็ด้รับอิทธิพลอบย่างมากจากภาษาพื้นเมืองต่างๆ ตั้งแต่ซิโน-ทิเบตัน, ม้ง -เมี่ยน จนถึงตระกูลภาษาอื่นๆ โดยรบคำศัพท์ฺเข้ามาจำนวนมากและค่อยๆ กลายโครงสร้างภาษามาคล้ายกัน ปัจจุบันเมื่อไม่นามมานี้กลุ่มคนบางกลุ่มที่พูดภาษาไทได้อพยพไปทงทิศใต้ผ่านเทือกเขาต่างๆ เข้าสู่เอชยตะวันอกเแียงใต้ อาจจะทันที่ดดยการถึงของชาวจีนฮั่นไปจีนตอนใต้
มรดกทางภาษาไม่ได้เชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับมรดกทางพันธุกรรมเนื่องจากการเปลี่ยนภาษาเมือประชากรต่างๆ เรียนรู้ภาษาใหม่ๆ ชาวไทมีแนวโน้มที่จะมีอัตราการปรากฎของ Y-DNA Haplogroup O2a สูงมากและอัตราการปรากฎของ O2a1และ O1 ปานกลาง อย่างไรก็ตามเชื่อว่า วาย ดีเอ็นเอ ฮาโพรกรุ๊ป โอวัน มีความสัมพันธ์กับทั้งผุ้ที่พูดภาษาออสโตนีเซียนและผุ้ที่พุดภาษาไท ความแพร่หลายของ วาย ดีเอนเอฯ ในหมู่ผู้ที่พูดภาษาออสโตนีเซยนแลฃะผุ้ที่พูดภาษาไทยังบ่งบอกถึงบรรพบุรุษร่วมกันกับผุ้ที่พุดภาษาซิโน-ทิเบตตัน, ออสโต-เอเซียติก และม้ง-เมี่ยนเมื่อประมาณ 35,000 ปีก่อนในจีน, วายดีเอนเอฯ ถูกพบด้วยอัตราการปรากฎสูงในหมูคนไทส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นคนลัุกาณที่คนไทมีร่วมกับกลุ่มชาติัพันธุ์ที่อาศัยใกล้เคียงนั่นคือผุ้ที่พูดภาษาออสโต-เอเซียติกในมณฑลยูนนานของจีนตอนใต้ วาย ดีเอนเอฯ โอวัน และโอทูเอ เป็นกลุ่มย่อยของ โอ ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของ เค อีกที่ซ่งเป้นการกลายพันธุ์ซึ่งเชื่อกันว่าได้เกิดขึ้นเือง สีหมื่นปีกอน ณ ที่ใดที่หนึ่งระหว่างอิหร่านกับจีนตอนกลาง
อย่างไรก็ตามจากกตรวจสอบโครโมโซมลักาณะร่วมของกลุ่มผุ้พุดภาษาตระกุลไท-ไท คือ วาย ดีเอนเอฯ ซึงพบากในแถบจีนตะวันออกเแียงใต้ทำให้เป็นหนึ่งในเหตุผลที่โอกาสในทฤษฎีที่กล่าวว่าคนไทมาจากประเทศจีนตอนใต้นั้นมีความเป็นไปได้มากที่สุดในขณะนี้
การแบ่งกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได ทำได้หลายวิธี อาทิ
แบ่งตามวัฒนธรรม การแบ่งตามวัฒนธรรม เป็นการแบ่งตามหลักมานุษยวิทยา โดยใช้เกณฑ์ด้านวัฒนธรรมแลประเพณี ซึ่งสามารถแบ่งได้ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ไทน้อย ไทใหญ่ และไทยสยาม
ไทน้อย ตระกูลชาติพันู์ไทยน้อย หมายถึงกลุ่มชาติพันธ์ที่มีถิ่นฐานเดิม อยุ่บลริวณฝั่งตะวันออกเขงอแม่น้ำโขง ประกอบด้วยในลาว จนถึงลุ่มแม่น้ำดำแดง ในเวียดนาม แล้วเลบไปจนถึงตอนใต้ของจีนเอกลักษณ์ตระกูลชาติพันธุ์ไทน้อย คือ มการปลูกเรือนแบบบาวลึกเขาไป แลไม่มีการเล่นระดับที่ซับซื้อนมาก ในสถาปัตยกรรมชั้นสุงมีการประดับตกแต่งที่ค่อนข้างน้อย เน้นความอ่นอช้อยของศิลปะ แต่เสื้อผ้าอาจจะมีเครืองประดับมากกว่า โดยกลุ่ม ชาติพันธุ์ในตระกูลนี้ ได้แก่พวก ไทลาว ไทดำ ไทขา ไทแดง ไทพวน (ภาษาไทยมักจะเรียกว่าลาวพวน) ไทฮ่างตง ตูลาว หลี เจียมาว เกลาว ลาติ ลาคัว ลาฮา จาเบียว เบ ไทแสก (ลาวใช้ไทแซก) ลักเกีย คำ สุย มู่หล่าว เมาหนาน ไทญ้อ ภูไท ต้ง จ้วง คัง นุง โท้ เป็ฯต้น กลุ่มนี้เป้นกลุ่มที่มีความหลากหลายกว่าไทใหญ่ โดยเฉพาะด้านภาษา ซึงมีกลุ่มภาษาทั้ง 3 กลุ่ม รวมถึงภาษากะได ด้วย
ไทใหญ่ ตระกุลชาติพันู์ไทใหญ่ หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีถิ่นฐานดั้งเดิม อยู่บริเวณฝังตะวันตกของแม่น้ำโขง เลยไปถึงลุ่มน้ำสาละวิน อิระวดี และพรหมบุตร เอกลักษณ์ของตระกูลชาติพันธุ์ไทใหญ่ คือ มีระบบการปลูกบ้านสร้างเรือนที่ซับซ้อนกว่าไทน้อย โดยบ้านมักจะมีการกั้นห้องแบ่งระดับยกหลังคา ที่สลับซับซ้อนกว่า นอกจากนี้ในสถาปัตยกรรมชั้นสูง มักจะมีการประดับตกแต่างมากกว่าโดยกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกุลนี้ ได้แก่พวก ไทใหญ่ (ำทใหญ่เรียกตัวเองว่าไตหรือไตโหลง(ไทหลวง) ส่วนคำว่าไทใหญ่นั้นเป้นชื่อในภาษาไทยเท่านั้น ไม่ใช่ชื่อที่เขาเรียกตัวเอง) ไทเหนือ ไทขึ้น ไทลื้อ ไทยวน (ภาษาไทยแต่ก่อนเรียกว่าลาวยวนป อาหม อ่ายตน คำยัง คำตี่ พ่าเก นะเร จันหารี และตุรุง เป็นต้น
ไทยสยาม ตระกูลชาติพันู์ไทยสยาม หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำยม แม่น้ำน่าน แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำแม่กลอง แม่น้ำเพชรบุรี เรื่อยไปจนถึงที่ราบลุ่มแม่น้ำพุมดวง-ตาปี ที่ราบลุ่มทะเลสาบสงขลา บริเวณจังหวัดเกาะกง (ประเทศกัมพุชา) และบิรเวณจังหวัดเกาะสอง (เขต ตะนาวศรี ประเทศพม่า) ไทยสยาม เป็ฯกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีการพูดถึงและถกเถียงเรื่องที่มามากที่สุดโดยมีการเสนอทฤษฎีขึ้นมามากมาย ทั้งมาจากเทือกเขาอัลไต หรือมาจากหมู่เกาะทะเลใต้ ด้วยเชื่อว่า ไทยสยาม เป้นชาติพันธุ์บริสุทธิ์ และเป็นต้นตระกูลของทุกชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท กะได แต่ในปัจจุบัน นักวิชาการสวนมากยอมรับแล้วว่าไทยสยามไม่ใช่ชาติพันธุ์บริสุทธิ์ แต่เป้นชาติพันธ์ุที่มีการผสมผสานกัน ทั้งภายในและภายนอก โดยวัฒนธรรมส่วนมากเป้ฯส่วนผสมระหว่างไทน้อยและไทใหญ่ นอกจากนี้ยังมีวัฒนธรรมจากภายนอกเข้ามาผสมทั้งจาก มอญ ขอม (เขมรโบราณ) อินเดีย และมลายู อีกด้วย
แบ่งตามกลุ่มภาษา
กลุ่มภาษาไหล-เกยน หมายถึงผุ้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไหล และกลุ่มภาษาเกยัน ซึ่งประกอบด้วย หลี เจียมาว เกลาว ลาติ ลาติขาว จาเบียว ลาคัว และลาฮา เป็นต้น
กลุ่มภาษาลักเกีย-กัม-สุย หมายถึงผุ้ที่ใช้ภาษาอื่นๆ ในกลุ่มภาษกัม-ไท ยกเว้นภาษาไท ซึ่งประกอบด้วย เบ แสก ลักเกีย อ้ายจาม ต้ง คัง มู่หลาม เหมาหนาน และสุย เป็นต้น
กลุ่มภาษาไท หมายถึงกลุ่มชนที่ใช้ภาษาไท เช่น ไทดำ (ลาวโซ่ง) ไทยวน (ลาวยวน) ไทขาว ไทยสยาม ไทฮ่างตง ไทแดง ไทพวน (ลาวพวน) ตุลาว ไทลาว (ลาว) ไทญ้อ ผุ้ไท ไทยอีสาน (ลาว) อาหม อ่ายตน คำตี่ คำยัง พาเก ไทขึ้น ไทใหญ่ (ฉาน) ไทลื้อ ไทเหนือ ปายี ไทถาน ไทยอง ไทหย่า จ้วง นุง ต่าย (โท้) ตุรุง นาง และปูยี เป็นต้น
แบ่งตามประเทศในปัจจุบัน
ประเทศไทย ในประเทศไทย กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได โดยเฉพาะไทยสยาม เป็นประชากรหลักของประเทศ ซึงกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดประกอบด้วย ไทใหญ่ (ฉาน เงี้ยว) ไทลื้อ ไทขีน ไทยอง ไทย วน ไทดำ (ลาวโซ่ง) ไทยสยาม ภูไท (ญ้อ โย้ย) ไทพวน (ลาวพวน) ไทอีสาน (ไทลาว) ลาวแง้ว ไทแสก ลาวครั่ง ไทกลา ไทหยา ลาวตี้ ลาวเวียง ลาวหล่ม และคำตี่
ประเทศลาว ในประเทศลาวก็เช่นเดียวกันกับไทย ที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได เป็นประชากรกลุ่มหลักของประเทศ ประกอบด้วย ไทลาว ลาวตั้ ลาวเวียง (ภาษาลาวเรียกว่าไทเวียงและแค่เป้นคำสำหรับเรียกคนไทลาวที่มาจากเวียงจันทน์ ไม่ใช่ไทอีกหลุ่มหนึ่งอย่างแท้จริง) ลาวหล่ม ผุ้ไท ชาวไทขาว ชาวไทดำ (ลาวโซ่ง) ชาวไทแดง ชาวไทเหนือ ชาวผุ้เอิน ชาวไทยวน (ลาวยวน) ชาวไทลื้อ ชาวไทพวน (ลาวพวน) ชาวไทกะเลิง ชาวไทญ้อ และ ชาวไทแสก (ลาวใช้ไทแซก)
ประเทศจีน กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได ในประเทศจีน ถือเป็นกลุ่มชาวไท-กะได นอกประเทศไทย-ลาว ที่มีจำนวนมากที่สุด โดยมากอาศัยในมณฑลยูนนาน กวางสี กวางตุ้ง กุ้ยโจว และไหหลำ ประกอบด้วย ชาวจ้วง ไทใหญ่ ชาวหลี ชาวไทลื้อ ชาวไทปายี่ ชาวไทย้อย (จุงเจีย ตฺเยน ตฺเรน หรือไดออย) ชาวตุลา (ตฺเรน) ชาวปุลาจีน ชาวปูลฺงจี ชาวไทเหนือ(ไทนู้) ชาวไทลาย(ไทน้ำ) ชาวไทหย่า ชาวไทนุง ชาวไทไขหัว ชาวไทชอง ชาวไทเขิน ชาวไทลื้อ ชาต้ง (อ้ายก๊า ปู้ก๊า ผู้คำ) ชาวสุย ชาวมูหล่าว ชาวเมาหนาน ชาวเก๋าหล่าว ชาวไทเอวลาย ชาวผู้ใย่ ชาวโท้ ชาวไทหย่า ชาวอูเอ ชาวไซ ชาวเดาลาว ชาวอี้ ชาวเอน ชาวฟูมะ ชาวตุเชนชาวเปเมียว ชาวปาเชน (กลุ่มเลือดผสมจีนป และ ขาวมิงเกีย (กลุ่มเลือผสมจีน)
ประเทศพม่า กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได แบ่งออกเป็นสองสวน คือ ส่วนเหนือ และส่วนใต้ โดยส่วนใต้เป็นชาวไทยสยาม ที่อาศัยอยู่ในเขตตะนาวศรี โดยเฉพาะบริเวณชายแดน และจังหวัดเกาะสอง ซึงยังเป็นปัญหาไทยพลัดถิ่นอยู่ สำหรับส่วนเหนือ เป็นชาติไท-กะได กลุ่มอื่นๆ และไม่ได้มีปัญหาเรื่องชีวิตบนเส้นแบ่งเขตแดน โดยกลุ่มนี้ประกอบด้วย ชาวไทยใหญ่ ชาวไทลื้อ ชาวไทเขิน ชาวไทยอง ชาวไทเมา ชาวไทแลง ชาวไทคำตี่ ชาวไทพ่าเก ชาวไทยโยเดีย ชาวไทผิ่ว ชาวนะรา ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี
ประเทศเวียดนาม ส่วนมากอาศัยบริเวณลุ่มแม่นำ้ดำ-แดง ประกอบด้วย ชาวปูยี ชาวเกี๋ยน ชาวลาว ชาวไทลื้อ ชาวไทคำ ชาวไทขาว ชาวไทแดง ชาวไทนุง (ผู้นุง) ชาวไทใหญ่ (สานเชย์) ชาวถาย ชาวไทย ชาวม่าน ชาวโท้ ชาวเกลาว ชาวลาชิ ชาวละหา ชาวนาง ชาวไทญัง (ไส) ชาวไทไต่ ชาวไทชอง ชาวไทท้าวลาว ชาวไทลักกะ (ละเกีย) ชาวข่าลาว ชาวตูลาว ชาวควาเบียว (จาเบียว) ชาวโต๋ ชาวไทหล้า ชาวไทโส ชาวไทลา ชาวไทเชียง ชาวไทลาย ชาวไทฮ่างตง
ประเทศอินเดีย ชาวไทในอินเดีย ส่วนมากอาศัยในรัฐอัสสัม และอรุณาจัลประเทศ ได้แก่ ชาวไทอาหม ชาวไทพาเก่ ชาวไทคำตี ชาวไทอ่ายตน (ไทอ้ายตน อ้ายตอน) ชาวไทคำยัง ชาวไทตุรง ชาวนะรา และชาวไทจันหารี
นอกจากนี้ ในกัมพูชา และมาเลเซีย ยังมีกลุ่มชาติพันธู์ไท-กะได อาศัยอยู่ ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ก่อนตั้งแต่ก่อนการเสียดินแดน เช่น ในพระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ เกาะกง ไทรบุรี ประลิส กลันตัน และตรังกานู โดยกลุ่มนี้ประกอบด้วย ชาวลาว ไทยสยาม ไทยเกาะกง ไทยกลันตัน ไทย ประลิศ ไทยไทรบุรี ไทยเประ ไทยลังกาวี และยังมีชาว แซมแซม ซึงเป้ฯคนไทยผสมมลายู และนับถือศาสนอิสลาม อยุ่ทางตอนเหนือของมาเลเซีย และทางใต้ของไทยth.wikipedia.org/wiki/กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได
เทือกเขาอัลไต |
มีรายงานตีพิมพ์เมื่อปี 2004 นักภาษาศาสตร์ตั้งสมมติฐานว่าภาษาไท-กะไดเร่ิมแรกกำเนิดจากภาษาออสโตนีเซียน ซึ่งผู้อพยพนำติดตัวจากไต้หวันไปถึงจีนแผ่นดินใหญ่ หลังจากนั้นภาาานี้ก็ด้รับอิทธิพลอบย่างมากจากภาษาพื้นเมืองต่างๆ ตั้งแต่ซิโน-ทิเบตัน, ม้ง -เมี่ยน จนถึงตระกูลภาษาอื่นๆ โดยรบคำศัพท์ฺเข้ามาจำนวนมากและค่อยๆ กลายโครงสร้างภาษามาคล้ายกัน ปัจจุบันเมื่อไม่นามมานี้กลุ่มคนบางกลุ่มที่พูดภาษาไทได้อพยพไปทงทิศใต้ผ่านเทือกเขาต่างๆ เข้าสู่เอชยตะวันอกเแียงใต้ อาจจะทันที่ดดยการถึงของชาวจีนฮั่นไปจีนตอนใต้
มรดกทางภาษาไม่ได้เชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับมรดกทางพันธุกรรมเนื่องจากการเปลี่ยนภาษาเมือประชากรต่างๆ เรียนรู้ภาษาใหม่ๆ ชาวไทมีแนวโน้มที่จะมีอัตราการปรากฎของ Y-DNA Haplogroup O2a สูงมากและอัตราการปรากฎของ O2a1และ O1 ปานกลาง อย่างไรก็ตามเชื่อว่า วาย ดีเอ็นเอ ฮาโพรกรุ๊ป โอวัน มีความสัมพันธ์กับทั้งผุ้ที่พูดภาษาออสโตนีเซียนและผุ้ที่พุดภาษาไท ความแพร่หลายของ วาย ดีเอนเอฯ ในหมู่ผู้ที่พูดภาษาออสโตนีเซยนแลฃะผุ้ที่พูดภาษาไทยังบ่งบอกถึงบรรพบุรุษร่วมกันกับผุ้ที่พุดภาษาซิโน-ทิเบตตัน, ออสโต-เอเซียติก และม้ง-เมี่ยนเมื่อประมาณ 35,000 ปีก่อนในจีน, วายดีเอนเอฯ ถูกพบด้วยอัตราการปรากฎสูงในหมูคนไทส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นคนลัุกาณที่คนไทมีร่วมกับกลุ่มชาติัพันธุ์ที่อาศัยใกล้เคียงนั่นคือผุ้ที่พูดภาษาออสโต-เอเซียติกในมณฑลยูนนานของจีนตอนใต้ วาย ดีเอนเอฯ โอวัน และโอทูเอ เป็นกลุ่มย่อยของ โอ ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของ เค อีกที่ซ่งเป้นการกลายพันธุ์ซึ่งเชื่อกันว่าได้เกิดขึ้นเือง สีหมื่นปีกอน ณ ที่ใดที่หนึ่งระหว่างอิหร่านกับจีนตอนกลาง
แสดงความหนาแน่นของ Y-DNA Haplogroup O2a |
การแบ่งกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได ทำได้หลายวิธี อาทิ
แบ่งตามวัฒนธรรม การแบ่งตามวัฒนธรรม เป็นการแบ่งตามหลักมานุษยวิทยา โดยใช้เกณฑ์ด้านวัฒนธรรมแลประเพณี ซึ่งสามารถแบ่งได้ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ไทน้อย ไทใหญ่ และไทยสยาม
ไทน้อย ตระกูลชาติพันู์ไทยน้อย หมายถึงกลุ่มชาติพันธ์ที่มีถิ่นฐานเดิม อยุ่บลริวณฝั่งตะวันออกเขงอแม่น้ำโขง ประกอบด้วยในลาว จนถึงลุ่มแม่น้ำดำแดง ในเวียดนาม แล้วเลบไปจนถึงตอนใต้ของจีนเอกลักษณ์ตระกูลชาติพันธุ์ไทน้อย คือ มการปลูกเรือนแบบบาวลึกเขาไป แลไม่มีการเล่นระดับที่ซับซื้อนมาก ในสถาปัตยกรรมชั้นสุงมีการประดับตกแต่งที่ค่อนข้างน้อย เน้นความอ่นอช้อยของศิลปะ แต่เสื้อผ้าอาจจะมีเครืองประดับมากกว่า โดยกลุ่ม ชาติพันธุ์ในตระกูลนี้ ได้แก่พวก ไทลาว ไทดำ ไทขา ไทแดง ไทพวน (ภาษาไทยมักจะเรียกว่าลาวพวน) ไทฮ่างตง ตูลาว หลี เจียมาว เกลาว ลาติ ลาคัว ลาฮา จาเบียว เบ ไทแสก (ลาวใช้ไทแซก) ลักเกีย คำ สุย มู่หล่าว เมาหนาน ไทญ้อ ภูไท ต้ง จ้วง คัง นุง โท้ เป็ฯต้น กลุ่มนี้เป้นกลุ่มที่มีความหลากหลายกว่าไทใหญ่ โดยเฉพาะด้านภาษา ซึงมีกลุ่มภาษาทั้ง 3 กลุ่ม รวมถึงภาษากะได ด้วย
ไทใหญ่ ตระกุลชาติพันู์ไทใหญ่ หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีถิ่นฐานดั้งเดิม อยู่บริเวณฝังตะวันตกของแม่น้ำโขง เลยไปถึงลุ่มน้ำสาละวิน อิระวดี และพรหมบุตร เอกลักษณ์ของตระกูลชาติพันธุ์ไทใหญ่ คือ มีระบบการปลูกบ้านสร้างเรือนที่ซับซ้อนกว่าไทน้อย โดยบ้านมักจะมีการกั้นห้องแบ่งระดับยกหลังคา ที่สลับซับซ้อนกว่า นอกจากนี้ในสถาปัตยกรรมชั้นสูง มักจะมีการประดับตกแต่างมากกว่าโดยกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกุลนี้ ได้แก่พวก ไทใหญ่ (ำทใหญ่เรียกตัวเองว่าไตหรือไตโหลง(ไทหลวง) ส่วนคำว่าไทใหญ่นั้นเป้นชื่อในภาษาไทยเท่านั้น ไม่ใช่ชื่อที่เขาเรียกตัวเอง) ไทเหนือ ไทขึ้น ไทลื้อ ไทยวน (ภาษาไทยแต่ก่อนเรียกว่าลาวยวนป อาหม อ่ายตน คำยัง คำตี่ พ่าเก นะเร จันหารี และตุรุง เป็นต้น
ภาษาไทน้อย |
แบ่งตามกลุ่มภาษา
กลุ่มภาษาไหล-เกยน หมายถึงผุ้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไหล และกลุ่มภาษาเกยัน ซึ่งประกอบด้วย หลี เจียมาว เกลาว ลาติ ลาติขาว จาเบียว ลาคัว และลาฮา เป็นต้น
กลุ่มภาษาลักเกีย-กัม-สุย หมายถึงผุ้ที่ใช้ภาษาอื่นๆ ในกลุ่มภาษกัม-ไท ยกเว้นภาษาไท ซึ่งประกอบด้วย เบ แสก ลักเกีย อ้ายจาม ต้ง คัง มู่หลาม เหมาหนาน และสุย เป็นต้น
กลุ่มภาษาไท หมายถึงกลุ่มชนที่ใช้ภาษาไท เช่น ไทดำ (ลาวโซ่ง) ไทยวน (ลาวยวน) ไทขาว ไทยสยาม ไทฮ่างตง ไทแดง ไทพวน (ลาวพวน) ตุลาว ไทลาว (ลาว) ไทญ้อ ผุ้ไท ไทยอีสาน (ลาว) อาหม อ่ายตน คำตี่ คำยัง พาเก ไทขึ้น ไทใหญ่ (ฉาน) ไทลื้อ ไทเหนือ ปายี ไทถาน ไทยอง ไทหย่า จ้วง นุง ต่าย (โท้) ตุรุง นาง และปูยี เป็นต้น
แบ่งตามประเทศในปัจจุบัน
ประเทศไทย ในประเทศไทย กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได โดยเฉพาะไทยสยาม เป็นประชากรหลักของประเทศ ซึงกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดประกอบด้วย ไทใหญ่ (ฉาน เงี้ยว) ไทลื้อ ไทขีน ไทยอง ไทย วน ไทดำ (ลาวโซ่ง) ไทยสยาม ภูไท (ญ้อ โย้ย) ไทพวน (ลาวพวน) ไทอีสาน (ไทลาว) ลาวแง้ว ไทแสก ลาวครั่ง ไทกลา ไทหยา ลาวตี้ ลาวเวียง ลาวหล่ม และคำตี่
ประเทศลาว ในประเทศลาวก็เช่นเดียวกันกับไทย ที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได เป็นประชากรกลุ่มหลักของประเทศ ประกอบด้วย ไทลาว ลาวตั้ ลาวเวียง (ภาษาลาวเรียกว่าไทเวียงและแค่เป้นคำสำหรับเรียกคนไทลาวที่มาจากเวียงจันทน์ ไม่ใช่ไทอีกหลุ่มหนึ่งอย่างแท้จริง) ลาวหล่ม ผุ้ไท ชาวไทขาว ชาวไทดำ (ลาวโซ่ง) ชาวไทแดง ชาวไทเหนือ ชาวผุ้เอิน ชาวไทยวน (ลาวยวน) ชาวไทลื้อ ชาวไทพวน (ลาวพวน) ชาวไทกะเลิง ชาวไทญ้อ และ ชาวไทแสก (ลาวใช้ไทแซก)
ประเทศจีน กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได ในประเทศจีน ถือเป็นกลุ่มชาวไท-กะได นอกประเทศไทย-ลาว ที่มีจำนวนมากที่สุด โดยมากอาศัยในมณฑลยูนนาน กวางสี กวางตุ้ง กุ้ยโจว และไหหลำ ประกอบด้วย ชาวจ้วง ไทใหญ่ ชาวหลี ชาวไทลื้อ ชาวไทปายี่ ชาวไทย้อย (จุงเจีย ตฺเยน ตฺเรน หรือไดออย) ชาวตุลา (ตฺเรน) ชาวปุลาจีน ชาวปูลฺงจี ชาวไทเหนือ(ไทนู้) ชาวไทลาย(ไทน้ำ) ชาวไทหย่า ชาวไทนุง ชาวไทไขหัว ชาวไทชอง ชาวไทเขิน ชาวไทลื้อ ชาต้ง (อ้ายก๊า ปู้ก๊า ผู้คำ) ชาวสุย ชาวมูหล่าว ชาวเมาหนาน ชาวเก๋าหล่าว ชาวไทเอวลาย ชาวผู้ใย่ ชาวโท้ ชาวไทหย่า ชาวอูเอ ชาวไซ ชาวเดาลาว ชาวอี้ ชาวเอน ชาวฟูมะ ชาวตุเชนชาวเปเมียว ชาวปาเชน (กลุ่มเลือดผสมจีนป และ ขาวมิงเกีย (กลุ่มเลือผสมจีน)
ประเทศพม่า กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได แบ่งออกเป็นสองสวน คือ ส่วนเหนือ และส่วนใต้ โดยส่วนใต้เป็นชาวไทยสยาม ที่อาศัยอยู่ในเขตตะนาวศรี โดยเฉพาะบริเวณชายแดน และจังหวัดเกาะสอง ซึงยังเป็นปัญหาไทยพลัดถิ่นอยู่ สำหรับส่วนเหนือ เป็นชาติไท-กะได กลุ่มอื่นๆ และไม่ได้มีปัญหาเรื่องชีวิตบนเส้นแบ่งเขตแดน โดยกลุ่มนี้ประกอบด้วย ชาวไทยใหญ่ ชาวไทลื้อ ชาวไทเขิน ชาวไทยอง ชาวไทเมา ชาวไทแลง ชาวไทคำตี่ ชาวไทพ่าเก ชาวไทยโยเดีย ชาวไทผิ่ว ชาวนะรา ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี
ประเทศเวียดนาม ส่วนมากอาศัยบริเวณลุ่มแม่นำ้ดำ-แดง ประกอบด้วย ชาวปูยี ชาวเกี๋ยน ชาวลาว ชาวไทลื้อ ชาวไทคำ ชาวไทขาว ชาวไทแดง ชาวไทนุง (ผู้นุง) ชาวไทใหญ่ (สานเชย์) ชาวถาย ชาวไทย ชาวม่าน ชาวโท้ ชาวเกลาว ชาวลาชิ ชาวละหา ชาวนาง ชาวไทญัง (ไส) ชาวไทไต่ ชาวไทชอง ชาวไทท้าวลาว ชาวไทลักกะ (ละเกีย) ชาวข่าลาว ชาวตูลาว ชาวควาเบียว (จาเบียว) ชาวโต๋ ชาวไทหล้า ชาวไทโส ชาวไทลา ชาวไทเชียง ชาวไทลาย ชาวไทฮ่างตง
ประเทศอินเดีย ชาวไทในอินเดีย ส่วนมากอาศัยในรัฐอัสสัม และอรุณาจัลประเทศ ได้แก่ ชาวไทอาหม ชาวไทพาเก่ ชาวไทคำตี ชาวไทอ่ายตน (ไทอ้ายตน อ้ายตอน) ชาวไทคำยัง ชาวไทตุรง ชาวนะรา และชาวไทจันหารี
นอกจากนี้ ในกัมพูชา และมาเลเซีย ยังมีกลุ่มชาติพันธู์ไท-กะได อาศัยอยู่ ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ก่อนตั้งแต่ก่อนการเสียดินแดน เช่น ในพระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ เกาะกง ไทรบุรี ประลิส กลันตัน และตรังกานู โดยกลุ่มนี้ประกอบด้วย ชาวลาว ไทยสยาม ไทยเกาะกง ไทยกลันตัน ไทย ประลิศ ไทยไทรบุรี ไทยเประ ไทยลังกาวี และยังมีชาว แซมแซม ซึงเป้ฯคนไทยผสมมลายู และนับถือศาสนอิสลาม อยุ่ทางตอนเหนือของมาเลเซีย และทางใต้ของไทยth.wikipedia.org/wiki/กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได
วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
Viêt
คำว่า เหวียด เคยใช้ครั้งแรกในศตวรรษที่ 11 เพื่อเรียกดินแดนที่อยุ่ทางใต้ของจีนบนชายฝั่ง
มหาสมุทรแปซิผิกซึ่งถือว่าเป้นอาณาจักรแห่งแรกของเหวียดทางชายฝั่งภาคใต้ของจีนก่อนคริสต์ศักราช 1042 หรือประมาณ 3 พันปีมาแล้ว เหวยด มาจากคำว่า เยวะ เป็นคำที่ชาวจีนใช้เรียกชนกลุ่มต่างๆ ที่อยู่ชายแดนอาณาจักฮั่นและสามเหลี่ยมแม่น้ำแดง
ในยุคราชวงศ์เหงียน สัยพระเจ้ามินหมาง ซึ่งตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเหล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3 แห่งรชวงศ์จักรีป ในแง่นี้สำหรับราชวงศ์เหงียนย่อมถือว่า พระนั่งเกล้าฯ ไม่ได้มีบุญคุณฯต่อราชวงศ์เหงียนและต่อพระเจ้ามินหม่าง บุญคุณนั้นเป็นเรืองระหว่างพระพุทธยอดฟ้ารัชกาลที่ 1 กับพรเจ้ายาลองต้นวงศ์เหงียนเท่านั้น ซึ่งทั้งสองพระเงค์ก็วรรคตไปแล้ว ดังนั้น ราชวงศ์เหงียนจึงไม่อ้ยกว่าสยามในขณะนั้นนัก (เพราะกองทัพราชวงศ์เหงียนยุคนั้นมีพื้นฐานผสมผสามนระหว่างกองทัพดบราณแบบจีน และความเป้นกองทัพสมัยใหม่้เเบบฝรั้่งเศส เพราะได้อาวุธและครูฝึกมาจากฝรั่งเศส) ดังนั้น นี่จึงจะเป็นเหตุผลที่ราชสำนักเหงียนตัดสินใจขยายอิทธิพลเข้าไปในลาวและกัมพูชา ดดยฉวยโอกาสจากการที่กลุ่มของเจ้าอนุ(เจ้าอนุวงศ์)แห่งเวียงจันทน์ของลาว และพวกเจ้ากัมพุชาที่ต่อต้านสยามหนีมาขอความช่วยเหลือกับตนเป็น "ข้ออ้าง" อันชอบธรรมในการที่จะส่งทหารเข้าไปแทรกแซงในลาวและกัมพุชา นำมาสู่สงคราม "อานามสยามยุทธ" ซึ่งถือเป้นความขัดแย้งทางการทางการทหารอย่างเปิดเผยครั้งแรกในประวัติศาสตร์ระหวางสองรัฐจากสองอารยธรนรมคือ สยามแห่งลุ่มน้ำเจ้าพระยาแห่งอารยธรรมผสมอินเดีย-มอญ-เขมร กับไดเหวียด หรือเวียดนามแห่งลุ่มน้ำแดง-ภลุ่มน้ำดำ แห่งอารยธรรมขงจื่อ ซึ่งกินเวลายาวนานกว่า 14 ปี
ชาวเวียดนามมักจะเปรียบรูปร่างประเทศของตนว่าเหมือนตะกร้าใส่ข้าวสองใบแขวนอยุ่ปลายสุดของไม้คาน คือ รูปตัว เอส มีความยาวกว่าว 1,200 ไมล์ มี่พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 127,241 ตารางไมล์ พื้นที่ส่วนที่กว้างที่สุดประมาณ 300 ไมลและส่วนที่แคบที่สุดประมาณ 45 ไมล์ ตะกร้าใส่ข้าวทั้งสองคือบริเวณแม่นำ้แดงทางภาคเหนือและบริเวณแม่น้ำโขงทางภาคใต้ ไม่คานที่ใช้หาบตะกร้าคือแนวเทือกเขาซึ่งกันพรมแดนเวียดนาม-ลาว และเวียดนาม-กัมพูชา ประชากรส่วนใหญอยู่กันหนาแน่นตามที่ราบลุ่ม ส่วนบริเวณพื้นที่สูงจะเป้ฯที่อยุ่ของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ
ตำนานการเกิดประเทศเวียดนาม กล่าวว่า มีกษัตริย์องค์หนึ่งชื่อ หลาก ลอง เกวิน แห่งประเทศ ซิจ กวี๋ ซึ่งอยุ่ทางภาคกลางของจีนเป้ฯทายาทเทพเจ้าแห่งทะเล อภิเษกสมรสกับเทพธิดา เอิว เกอ อยู่ด้วยกันอย่างมีความสุขและมีบุตร 100 คน แต่เป็นเพราะทั้งสองมีกำเนิดที่แตกต่างและความไม่มั่นคงของชีวิตบนโลก ทั้งสองจึงตัดสินใจแยกกันอยู่โดยแบ่งลูกไปฝ่ายละ 50 คน กษัตริย์พาลูก 50 คนไปอยู่ในที่ราบและบริเวณฝั่งแม่น้ำ ส่วนเอิว เกอ พาลูก 50 คนไปอยู่ที่ภูเขามีป่าทึบ ดังนั่นจึงมีรัฐเกิดขึ้น 100 รัฐ เมื่อแยกตัวออกจาประเทศ ซิจ กวิ๋
กษัตริย์ได้มอบอำนาจการปกครองให้กับลูกชายคนโต คือ หุ่ง เวือง ซึ่งเป้นผุ้สถาปนาราชวงศ์ ห่ง บ่าง ประเทศวัน ลาง หมายถึง ประเทศที่มีวัฒนธรรม ก็คือ ปฐมามของประเทศเวียดนามนั่นเอง
ตามตำนาน ลูกๆ ทั้ง 100 คนนี้มีความสามัคคีกันรักใคร่กันเป็นอย่างดี อีกทั้งมีความกล้าหาญ ถือว่ารับส่วนนี้มาจากบิดา ในขณะเดียวกันก็รับเอาความสวยงาน ความมีเสน่ห์จากมารดาซึ่งสืบทอดมาให้เห็นในคนเวียดนามปัจจุบันว่า เป็นผู้ที่กลบ้าหาญ เป็นนักต่อสู้อดทนอย่างยิ่งยวด ในขณะเดียวกันก็เป็นผุ้มีเสน่ห์ สง่างามmodernpublishing.co.th/กำเนิดเวียดนาม
ความเป็นมาของเวียดนามสามารถสืบย้อยกลับไปได้มากกว่า 4,000 ปีก่อน การค้นบพทางโบารณคดีจากปี พ.ศ. 2508 ได้ค้นพบซากของสองมนุษย์ดบราณสายพันธุ์ของมนุษย์ลิงชิมแปนซีได้แยกออกไปแล้ว ดดยมีความเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับ โฮโม อีเรทตัส ทใไ้สามารถย้อนไกลไปยุค สมัยไพลสโตซีนตอนกลาง อายุประมาณ 730,000-125,000 ปี เวียดนามโบราณจึงเป็นที่ตั้งของหนึ่งในอารยธรรมและสังคมที่เก่าแก่ที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง ทำให้ชาวเวียดนามโบราณเป็นหนึ่งในคนกลุ่มแรกของโลกที่ทำการเกษตร...
จากการวิจัยของโรงพยาบาลแซ็ง-ลุยในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศ ในการเปรียบเทียบชาวเวียดนามกับชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพันธุกรรมของประชากรอันใกล้ชิดด้วยวิธีการต่างๆ โดยมีตัวแสดเอกลักษณ์เจ็ดประการที่ไม่ซ้ำกัน ผลลัพธ์บ่งชี้ว่าเวียดนามเป็นชาติพันธุ์สืบมาจากการผสมของชาวจีนและไทย-ลาว
ชนเผ่าตระกูลไท-ลาว เป็นชนเป่าที่ถือเป็นเครืองญาติกับชนเผ่าเวียดนามโบราณ นักมานุษยวิทยาที่สถาบันวิจัยชนเผ่าที่ฮานอย ถือว่า ไทย-ลาว เป็นชนเผ่าไทเผ่าหนึ่งที่นับได้ว่าเป็นเผ่าเดียวกันกับชนเผ่าเวียดโบราณ โดยมีการสันนิษฐานว่าชาวเวียดดบราณอาจจะมีการที่ใช้ภาษาตระกุลภาษาไท-กะได ที่ใกล้เคียงกัน อาจมีการแต่างการ ความเชื่อ ที่คล้ายคลึงกัน ชาวเวียดโบราณนั้นเกิดจากการผสมผสานของหลายชนเผ่ามี ชาวจิง จากบริเวณตอนใต้ของมณฑลกวางสีของจีน และชาวไท-ลาว
ก่อนที่ชาวเวียดจะถูกจีนยึดครองซึงทำให้ชาวเวียดะสูญเสียวัฒนธรรมอันเป็นเอำลักาณ์ของตนไป ชาวจีนที่เข้ามาปกครองเวียดนามใช้นโยบายกลืนชาติ บังคับให้ชาวเวียดนามแต่งกายแบบจีน ใช้ภาษาจีนเป็นภาษาราชการ เขียนตัวอักษรจีน ซึ่งเวียดนามได้พัฒนาอักษรเป็นของตัวเองหรือ จื้อโนม แต่ก็ยังปรากฎคำศัพท์บางคำที่ใกล้เคียงภาษาไทยและภาษาลาวอยุ่บ้าง..
ในช่วงที่เป็นเอกราชปกครองตนเองภายหลังการกำจัดผู้รุกรานชาวจีนลงได้ แล้วจึงก่อตั้งราชวงศ์ของเวียดนาม ราชวงศ์แรกขึ้นมาในปี ค.ศ. 939 และขนาดนามประเทศว่าไดเวียด จากนั้น และมีราชวงศ์ปกครองต่อมาอีก ได้แก่ ราชวงศ์ดิญ ราชวงศ์เลยุคก่อน ราชวงศ์ลี้ ราชวงศ์เจิ่น ราชวงศ์โห๋ ราชวงศ์เล ราชวงศ์เต็ยเซิน ราชวงศ์เหงียน
ข้าราชการยุคราชวงศ์เหงียน |
ต่อมาเวียดนามตกเป็นอาณานิคมฝรั่งเศส และถูกปบ่งประเทศออกเป็นเวียดนามเหนือและเวียดนามใต้ กระทั่งเวียดนามใต้พ่ายแพ้ต่อฝ่ายคอมมิวนิสต์ เวียดนามจึงปกครองภายใต้ระบอบคอมมิวนิสต์ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา.. th.wikipedia.org/wiki/ประวัติศาสตร์เวียดนาม
ติช นัท ฮันห์ กับหมุ่บ้านพลัม
ติช นัท ฮันท์ เป็นพระภิกษุชาวเวียดนาม ผุ้นำเสอนความคิด พุทธศาสนาต้องเป้นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน และพุทธธรรมเป็นสิ่งที่สามารถประยุกต์ใช้ให้เข้ากับวิธีชีวิตยุคปัจจุบันได้ ท่านเป็นที่รู้จักในฐาน พระเถระชั้นผุ้ใหญ พระอาจารย์เซน พระมหาเถระในพุทธศาสนามหายานผุ้สนการฝึกสมาธิภาวนา เป็นกวี นักเขียน นักต่อสู้เพื่อสันติภาพ
ติช นัท ฮันห์ กำเนิเมือปี พงศ. 2469( ค.ศ.1926) ในจังหวัดกวางสี ภาคกลางของเวียดนาม มีนาเดิมว่าเหงียน ซวน เป๋า ส่วน ติช นัท ฮันห์" ที่ถูกต้องออกเสียวกว่า ทิจ ญัด หัญ ซึ่งเป็นนามทางธรรมที่ได้รับหลังการบวช
ใน พงศ. 2505 ได้รับทุนจากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตันเพื่อศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ จึงเดินทงไปศึกษายังประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจากนั้น 1 ปี ก็ได้รับทุนอีกจากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย แต่ท่านตัดสินใจกลับเวียดนาม เพื่อสานต่อแนวคิดพุทธศาสนาที่รับใช้สังคม ดดยก่อตั้งดรงเรียนยุวชนรับใช้สังคม เยียวยาความเสียหายจากสงคราม และพัฒนาวงการสงฆ์ด้วยการสอน และนำเสอน้อเขียต่อสภาบันพุทธชั้นสูงด้วยคติว่า การกระทำและปัญญา ต้องไปด้วยกัน หรือ คณะดั่งกันและกัน โดยปฎิบัติตามสิกขาบท 14 ประการ ซึ่งเลือกเฟ้นมาจากแก่นคำสอนในพระพุทธศาสนา
ในช่วงนั้นเป็นช่วงที่คุกรุ่นด้วยไฟสงครา และท่านตระหนักถึงการต่อสุ้เพื่อสันติภาพโดยรณรงค์ให้แก้ปัญหาที่ต้นเหตุคือรณรงค์ให้หยุดการสนับสนุสงครามโดยเฉพาะการแทรกแซงของสหรัฐฯ มุ่งเน้นสันติภาพ โดยปลูกจิตสำนึกผุ้คนทั่งดลกจนมารืติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ เสนอชื่อ ติช นัท ฮันห์ เข้ารับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ด้วยเหตุนี้รัฐบาลเวียดนามจึงปฏิเสธการกลับประเทศของท่าน แม้ว่าภายหลังจะมีัการรวมประเทศก็ตาม
เมื่อเวียดนามปฏิเสธการกลับเข้าประเทศ ท่านจึงต้องลีภัยอย่งเป็นทางการไปพำนักที่ประเทศฝรั่งเศส โดยเป็นอาจารย์สอนประวัติสาสตร์ในมหาวิยาลัยและสร้างอาศรมนอกเมืองปารีสเพื่อเขียหนังสือและปลูกพืชสมุนไพร ระหว่งนั้นท่านยังคงทำงานเื่อสันติภาพ และเพื่อผู้ลี้ภัยอย่างสม่ำเสมอ การได้ร่วมทุกข์กับเพื่อนผุ้ลี้ภัีย ทำให้ท่านพบเห็นชะตากรรมของผุ้ตกทุกข์ได้ยากมากมายและมีวิธีการช่วยเหลือได้หลายช่องทาง หลายวิธีการ
หมู่บ้านพลัม ติช นัท อัฯห์ ได้สร้าง "สังฆะ" ชุมชนแห่งการฝึกปฏิบัตเพื่อำเะนินชีวิตอย่างมีสติของพุทะบริษัท 4 ด้วยความตั้งใจที่จะแลกเปลี่ยนพระพุทะศาสนาในดินแดนตะวันตก สังหะ แห่งแรกตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2518 ชื่อว่า อาศรมมันเทศ ตั้งอบู่ทาตอนเหนือของประเทศฝรังเศส จากนั้นได้ย้ยลงไปทางตอนใต้และตั้งชื่อสังฆะแห่งใหม่นี้ว่า หมูบ้านพลัม ตามชื่อต้นพลัมที่ปลูกอยุ่ทั่วผืนดินแก่งนี้
ปัจจุบัน มีชุมชนการปฏิบัติธรรมแห่งหมู่บ้านพลัมกระจายอยู่ในหลายประเทศ อาทิประเทศฝรัี่งเปสศ อเมิริการเอยรมัน ฮ่องกง และล่าสุดที่ประทเศไทย ดดยมีนักบวชกว่า 500 รุป จาก 20 ประเทศทั่วดลก และมีกลุ่มปฏิบัติธรรมตามแนวทางปมุ่บ้านพลัมหรือ "สังฆะ" เกือบหนึ่งพันกลุ่ม กระจายอยุ่ใน 31 ประเทศโลก2thaiplumvillage.org/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=32&Itemid=2
ภาษาเวียดนาม เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนาม เป้นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผุ้อพยพจาเหวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนามอเมริกัน เป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาาาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเชียน แต่นักภาษาศาสตร์บยังคงภาษาเวียดนามให้เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก ซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผุ้พุดมากที่สุด ( 10 เท่าของภาษาที่มีจำนวนคนพุดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื้อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า "จื้อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรดรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารี ชาวฝรั่งเศส โดยเครืองหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต์th.wikipedia.org/wiki/ภาษาเวียดนาม
วันเสาร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
Khmer
อาณาจักรขอมโบราณ ก่อนยุคอาณาจักรขอมโบรารณ (ราวพุทธศักราชที่ 10-19) ซึงกินเพื่อที่ส่วน
ใหญ่ของดินแดนสุวรรณภูมินั้น เคยเป็นดินแดนที่อาณาจักรฟูนัน (ราวพุทธศักราชที่ 5/6-10) มาก่อน ทฤษฎีทางปะวัติศาสตร์โบราณสวนใหญ่เห็นวาอาณาจักรขอมโบราณเกิดยึ้นสืบเนืองจากอาราจักรฟูนันและอาณาจักรเจนละอาณาจักรขอมมีความสัมพันธ์กับทั้งสองอาณาจักรอย่างใกล้ชิด ดดยเฉาพ อาณาจักเจนละอาณาจักรฟูนันมศูนย์กลางอยุ่ที่เมืองอู่ทองและเมืองออกแก้ว (ไม่ทราบแน่ชัด) แต่มีชื่อเรียกในสมัยโบราณว่า "วยาธประ" มีอาณาเขตครอบคลุมดินแดนขอมมาก่อนในภาคกลาง ภาคอีสานของไทย ปัจจุบัน เช่น เมืองอู่ทอง (อ.อู่ทอง สุพรรณบุรี) มีการปกครองแบบเทวราช วัฒนธรรมแบบพราหมณ์ฮินดู หลักฐานที่ขุพบ ได้แก่ เทวรูป เครื่องประดับและเหรียญตรา ฟูนันเจริญรุ่งเรืองช่วงพูธศตวรรษ 6-10 มีความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนแลอินเดีย วัฒนธรรมประเพณีของฟูนันคล้ายคลึงอินเดียมากอิทธิพลของอินเดียเริ่มเข้ามาในอินแดนสุวรรณ๓มิราวพุทธศักราชที่่ 6-7 โดยทางทะเล โดยขึ้นฝั่งบริเวณชายฝังเพื้นที่อินโดจีน ิทธิพลของอินเียวที่เห็นได้ชัด ได้แก่ ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพุทธศิลปกรรมสาขชาต่างๆ เช่น ปฏิมากรรม สถาปัตยกรรมและสาขาอื่นๆ ซึ่งอิทธิพลของอินเียอยู่ในดินแดนสุวรณภูมิมาจีถึงปัจจุบัน
ตามตำนานขอมโบราณ พราหมณืเชื้อสายอินเดียชือ "โกณฑัญญะ" ซึ่งได้มาแต่างงานกับนางพญาขอมได้จักการปกครองอาณาจักรขอมให้เจริญรุ่งเรือง อาณาจักรอื่นๆ ใกล้เคียวได้แก อาณาจักรโครตบูรณ์ (ราวพุทธศักราชที่ 11-15 ) ซึงอยุ่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(ภาคเหนือของไทยและภาคกลางของลาว) ศูย์กลงอยุ่ท่นครพน (เชื่อว่าเมืองหลวงอยุ่บนฝั่งซ้ายขอวแม่น้ำโขง คือท่าแขกของลาว) นับถือศาสนาพุทธเถรวาท มีการสร้างเจดีย์สำคัญ คือ พระธาตุพนม อาณาจักโคตรบูรณืมีดินแดนที่กินพื้ที่จังหวัดอุรธานี หนองค่ย เวียงจันทร์ นครพนม (เจดีย์พระธาตุพนม) อุยบราชธานี และอาณาจักรทวาราวดี (ราวพุทธศักราชที่ 11-16) ที่มีอำนาจในบริวณลุ่มน้ำเจ้าพระยา นอกจากนี้ยังมีอาณาจักรอื่นๆ ในดินแดนสุวรรณภูมิ เช่น อาณาจักรศรีเกษตร (พยู) อาณาจักน่านเจ้า (หนองแส : ราวพุทธศักาชที่ 6/8-17) ของเผ่่าคนไทย อาณาจักรศรีวิชัย (ราวพุทธศักราชที่11-18) อาณาจักรเชียงแสน (โยนกและเงินยาง : ราวพุทธศักราชที่ 9/11-18) ของคนไทยอีกสายหนึง ต่อมาอาณาจักรขอมสามารถอาณาจักรโครตบูรณ์และอาณาจักรทวาราวดีทวาราวดีได้อาณาจักขอมโบราณแบ่งออกเป็น 4 ยุคได้แก่
ื
- อาณาจักรขอมโบราณยุคแรก (ราวพุทธศตวรรษที่ 6/7-11) มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองปราสาทภู เขวงเมืองจัมปาศักดิ์ ประเทศลาว(จากหลักฐานการขุดค้นอาจเป็นอุบลราชธานี) ศูนย์กลางอยู่ที่เมืองอินทรปุระ(กัมปงจาม) ดินแดนกินพื้นที่บริเวณปกาแม่น้ำโขง กัมพุชา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย (สืบต่อมาจากอาณาจักรฟูนัน) บริเวณภาคตะวันออเแียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกของไทยปัจจุบัน รวมทังลุ่มน้ำเจ้าพระยา อาณาจักรขอมโบราณรับวัฒนธรรมมาจากอินเดีย ปกครองแบบเทวราช ระบบจตุสดมภ์ นับถือศาสนาพราหมณ์ มีการสร้างเทวรูปแลประสาทหิน ที่สำคัญคือนครวัด-นครธม ซึ่งนับเป็นสิ่งมหัจรรย์แห่งหนึ่งของโลก รวมทั้งประสาทอื่นๆ ในภาคตะวันออกเียงเหนือของไทยจำนวนมาก
- ยุคสมัยก่อนพระนครหรืออาณาจักรเจนละ ราวพุทธศตวรรษที่ 11-14) กษัตริย์ยุคนี้คือ พระเจ้าชัยวรมันที่ 1 (แยกจากอาณาจักรฟูนัน)
- ยุคเมืองพระนคร (ราว พ.ศ. 1345-1976) มีกษัตริย์ปกครอง 15 รัชกาล ต่อมาอาณาจักรขอมโบราณ ซึ่งยิ่งใหญ่ที่สุดในดินแดนสุวรรณภูมิได้ล่มสลายลง เนื่องถูกกองทัพประเทศสยาม (กรุงศรีอยุธยา) นำโดยพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา : พ.ศ. 1967-1991) ได้เข้ายึดเมืองพระนครได้ ทำให้พระองค์ท่านเป็นพระมหากษัตริย์ไทย ที่ทรงมีพระบราราชานุภาพสูงมากที่สุดพระองค์หนึงของประเทศไทย
- ยุคหลังเมืองพระนคร มีร่องรอยทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฎอยู่ปัจจุบัน ได้แก่ เมืองศรีเทพ(เพรชบูรณ์) เมืองสรีวัตตะปุระ อ. ศรีมหาโพธิ์(ปราจีนบุรี) อำเภอระโนด (สงขลา) rawatzefza2.wordpress.com/กิจกรรมการเรียนรู้โครง/อาณาจักรขอม/อาณาจักรขอมโบราณ/
ภาษาเขมร เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลมาจากภาาาสันสกฤตและภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้มาจากอิทธิพลของศาสนาพุทธและศาสนฮินดู ต่อวัฒนธรรมของชาวเขมรในขณะที่อิทธิพลอื่นๆ เช่น จากภาษาไทย ภาษาลาวและภาษเวยดนามเป้นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาาาและความใกล้ชิดกัในทางภูมิศาสตร์ ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน(ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม) เนื่องจากมไ่มีเสียงวรรณยุกต์
อักรเขมร คือรูปอักษรที่ดัดแปลงมาจากอักษรหลังปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1200-1400) ซึ่งเป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1100-1200) อีกต่อหนึ่ง อักษรปลลวะนี้ เป็นอักษรที่มาจากอินเียตอนใต้ซึ่งเป็นชุดอักษรที่มีกำเนิดมาจากอักษรพราหมี ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช (ราวพุทธ ศตวรรษที่ 3) จารึกอักษรเขมรเก่าสุดพบในปราสาทโบเรีย จ.ตาแก้ว ทางใต้ของพนมเปญ อายุราว พ.ศ. 1154 รูปแบบโบราณของอักษรเขมร ที่เรียกอักษรขอมเป็นแม่แบบของอักษรไทย อักษรลาว อักษรเขมรใช้เขียนภาษาเขมรและมนต์คาถา
อักษรขอม พัฒนามาจากอักษรหลังปัลลวะ ซึ่งพัฒนามาจากอักษรปัลลงะอีกทีหนึ่งเป็นตัวอักษรของราชวงศ์ปัลลวะในอินเดียใต้ภายหลังได้มาติดต่อกับภูมิภาคอุษาคเนย์จึงได้ถ่ายทอดวัฒนธรรมซึ่งรวมถึงตัวอักษรไว้ให้กับกลุ่มคนที่อาศัยอยุ่บรเิวณนี้อีกด้วย ต่อมาอักษรชนิดนี้เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในภูมิภาคนี้ มีวิวัฒนาการต่อไป จากอักษรปัลลวะ เป็นอักษรหลังปัลลงะ หลังจากนั้นก็แตกแขนงเป็นสองสาขาใหญ่ๆ คือ อักษรมอญโบราณ และอักษรขอมโบราณ
อักษรขอมโบราณใช้ในอาณาจักรต่างๆ สองฝั่งแม่น้ำโขงตั้งแต่สมัยก่อนเมืองพระนครต่อมาจึงกลายเป็นอักษรท้องถ่ินในสมัยพระนคร และเป็นต้นแบบของอักษรไทยและอักษรเขมรในปัจจุบัน
เอกลักษณ์ของอักษรขอม คเือ เปลี่ยนบ่าอักษรของอักษรปัลลวะเป็นศกหรือหนามเตย อักษรนี้พัฒนาไป 2 ทิศทาง คือ เป็นอักษรขอม ในประเทศไทย (ใช้เขียนภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาเขมร) และอักษรขอมในประเทศกัมพูชา (ใช้เขียนภาษาเขมร ภาษาบาลี)
อักษรขอมในประเทศไทย พบหักฐานการใช้อักษรขอมโบราณเขียน ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร ในบริเวณภาคอีสาน ภาคกลางและภาคใจ้ ของประเทศทย ปัจจุบัน ระหว่งพุทธศตวรรษที่ 14-16 แต่จะไม่พบเอกสารโบราณประเภทจารึกที่ใช้อักษรขอมโบลราณ ในแถบภาคเหนือตั้งแต่จังหวัดตากขึ้นไป หลักฐานทำนองนี้รวมไปถึงโบราณสถาน ที่เรียกว่า ปราสาทหิน ปราสาทอิฐ และพระปรางค์แบบขอม หรือลพบุรีที่มีอยุ่ทั่วไปในภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคใต้ แต่ไม่เคยปรากฎอยู่ทางภาคเหนือ
ในประเทศทไย อักษรขอมถือเป็นอักษรศักดิ์สิทธิ์ ใช้ในงานด้านศาสนาเป็นส่วนใหญ่อักษรขอมที่ใช้เขียนภาษาบาลีเรียกว่า อักษรขอมบาลี ส่วนที่ใช้เขียนภาษาไทยเรียกว่าขอมไทย ซึ่งมีอักขรวิธีต่างจากอักษรของกลุ่มอื่นๆ ต่อมา อักษรขอมไทยถูกแทนที่ด้วยอักษรไทย ส่วนอักษรขอมบาลียังคงใช้เขียนภาษาบาลีเรื่อยมา แม้จะมีการพัฒนาอักษรไทยและอักษรอริยกะมาเขียนภาษาบาลีก็ตาม อักษรขอมบาลีถูกยกเลิกไปในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงคราม
รูปแบบของอักษรขอมในประเทศไทยทั้งขอมไทยและขอมบาลี แข่งได้เป็น 3 แบบคือ
- อักษรบรรจง เป็นรูปสีเหลี่ยม ทรงมน ใช้เขียนคัมภีร์ทางศาสนา
- อักษรตัวเกษียณ เป็นตัวเแียงทแยง เอียงขวา ใช้บันทึกคำอธิบาย หรือเขียนหวัด
- อักษรเฉียงขอมหรือเฉมเขม คล้ายอักษรเขมรแบบตัวเชรียง รูปสระและการประสมสระต่างไปจาก 2 แบบ ข้างต้นth.wikipedia.org/wiki/อักษรขอม
อักษรขอมไทย สามารถพบได้ในคัีมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ตำรายา ตำราคาถาอาคม รูปยันต์ต่างๆ โดยมากปรากฎในแถบภาคกลาง และอาจพบได้บ้างในภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
พยัญชนะมีทั้งหมด 35 ตัว ดดยแต่ละตัวมีทั้งรูปตังวเต็มกับตัวเชิงหรือพยัญชนะซ้อน มีการจัดบ่งเป็นวรรตามระบบภาษาสันสกฤต
ตัว ด ใช้ ฑ หรือ ตแทน, ตัว ฝ ใช้ผ แทน, ตัว ซ ใช้ ฌ ช หรือ ส แทน, ตัว บ และ ฟ นิยมนำรูปตัว (ป) ของอักษรขอมมาเขียนแทน บ และเพิ่มหางขึ้นเป็นรูปตัว (ป) ส่วนตัว ฟ ใช้รูปตัว (พ) ของอักษรขอมมาเติมหางเช่นกันเป็นรูป แต่ในหลายกรณี รูปตัว ป ของอักษรขอมทั้งที่มีหางและไม่มีหางมักใช้ปะปนกัน บางครั้งแทนเสียง ป บางครั้งแทนเสียง บ
รูปตัว ฝ ใช้อักษรขอม ตัว พ เติมหางเช่นเดียวกับตัว ฟ
ตัว ข ขวด ค คน ฎ ฮ ไม่มีที่ใช้ ดดยใช้ ข ค ฎ และ ห แทน
ตัวสะกด นิยมเขียนด้วยรูปตัวเชิงใต้พยัญชนะต้นหรือสระ เว้นแต่พยัญชนะที่รูปสระหรือตัวควบกล้ำอยู่ข้างล่างอยู่แล้วจึงใช้รูปตัวเต็ม
สระ แบ่งเป็นสระลอยกับสระจม รูปสระลอยใช้เขียนคำที่มีเสียง อ มีทั้งหมด 8 ตัว ได้แก่
จากซ้าย อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
รูปสระจมหรือประสมคล้ายกับอักษรไทยปัจจุบัน ที่ต่างไปมีดังนี้
สระเอีย-นิยมเขียนด้วยตัวเชิงของตัว ย ดฺยว = เดียว หรือใช้ทั้งสระ เอ + อิ(อี) + ตัวเชิงของ ย เช่น เสีย = เสีย
สระเอืด มีทั้งแบบที่ใช้รูปสระ เอ + อิ + อ เช่น เพิอ = เพื่อ และ เอ + อิ (อี) + ตัวเชิงของ อ เช่น เงื่อน + เงื่อน
เธอ+ เํธอ และใช้สระเอ + อี +ตัวเชิงของ อ เมื่อมีตัวสะกด เช่น เตือม= เติม หรือ ตัดตัวเชิงของ อ ใช้ตัวเชิงของตัวสะกดแทน
สระเออ ใช้สระ เอ กับตัวเชิงของ อ เมื่อไม่มีตัวสะกด เช่น
สระอัว -้ ไม้หันอากาศกับตัวเชิงของ ว เมื่อไม่มีตัวสะกด หรือใช้ตัวเชิงของ ว อย่างเดียวเมื่อมีตัวสะกด เช่น ตวย = ด้วย
วรรณยุก การใช้ไม่แน่นอนมีทั้งที่ไม่เติมวรรณยุกต์ ใช้รูปวรรณยุกต์ต่างจากปัจจุบัน หรือใช้เหมือนกัน
ไม้หันอากาศ มีทั้งเขียนบนพยัญชนะต้นและตัวสะกด บางครั้งไม่ใช้ไม้หันอากาสแต่เพ่ิมตัวสะกดเป็น 2 ตัวแทน เช่น วนฺน = วัน, ทงั = ทั้งth.wikipedia.org/wiki/อักษรขอมไทย
ตามตำนานขอมโบราณ พราหมณืเชื้อสายอินเดียชือ "โกณฑัญญะ" ซึ่งได้มาแต่างงานกับนางพญาขอมได้จักการปกครองอาณาจักรขอมให้เจริญรุ่งเรือง อาณาจักรอื่นๆ ใกล้เคียวได้แก อาณาจักรโครตบูรณ์ (ราวพุทธศักราชที่ 11-15 ) ซึงอยุ่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(ภาคเหนือของไทยและภาคกลางของลาว) ศูย์กลงอยุ่ท่นครพน (เชื่อว่าเมืองหลวงอยุ่บนฝั่งซ้ายขอวแม่น้ำโขง คือท่าแขกของลาว) นับถือศาสนาพุทธเถรวาท มีการสร้างเจดีย์สำคัญ คือ พระธาตุพนม อาณาจักโคตรบูรณืมีดินแดนที่กินพื้ที่จังหวัดอุรธานี หนองค่ย เวียงจันทร์ นครพนม (เจดีย์พระธาตุพนม) อุยบราชธานี และอาณาจักรทวาราวดี (ราวพุทธศักราชที่ 11-16) ที่มีอำนาจในบริวณลุ่มน้ำเจ้าพระยา นอกจากนี้ยังมีอาณาจักรอื่นๆ ในดินแดนสุวรรณภูมิ เช่น อาณาจักรศรีเกษตร (พยู) อาณาจักน่านเจ้า (หนองแส : ราวพุทธศักาชที่ 6/8-17) ของเผ่่าคนไทย อาณาจักรศรีวิชัย (ราวพุทธศักราชที่11-18) อาณาจักรเชียงแสน (โยนกและเงินยาง : ราวพุทธศักราชที่ 9/11-18) ของคนไทยอีกสายหนึง ต่อมาอาณาจักรขอมสามารถอาณาจักรโครตบูรณ์และอาณาจักรทวาราวดีทวาราวดีได้อาณาจักขอมโบราณแบ่งออกเป็น 4 ยุคได้แก่
ื
- อาณาจักรขอมโบราณยุคแรก (ราวพุทธศตวรรษที่ 6/7-11) มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองปราสาทภู เขวงเมืองจัมปาศักดิ์ ประเทศลาว(จากหลักฐานการขุดค้นอาจเป็นอุบลราชธานี) ศูนย์กลางอยู่ที่เมืองอินทรปุระ(กัมปงจาม) ดินแดนกินพื้นที่บริเวณปกาแม่น้ำโขง กัมพุชา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย (สืบต่อมาจากอาณาจักรฟูนัน) บริเวณภาคตะวันออเแียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกของไทยปัจจุบัน รวมทังลุ่มน้ำเจ้าพระยา อาณาจักรขอมโบราณรับวัฒนธรรมมาจากอินเดีย ปกครองแบบเทวราช ระบบจตุสดมภ์ นับถือศาสนาพราหมณ์ มีการสร้างเทวรูปแลประสาทหิน ที่สำคัญคือนครวัด-นครธม ซึ่งนับเป็นสิ่งมหัจรรย์แห่งหนึ่งของโลก รวมทั้งประสาทอื่นๆ ในภาคตะวันออกเียงเหนือของไทยจำนวนมาก
- ยุคสมัยก่อนพระนครหรืออาณาจักรเจนละ ราวพุทธศตวรรษที่ 11-14) กษัตริย์ยุคนี้คือ พระเจ้าชัยวรมันที่ 1 (แยกจากอาณาจักรฟูนัน)
- ยุคเมืองพระนคร (ราว พ.ศ. 1345-1976) มีกษัตริย์ปกครอง 15 รัชกาล ต่อมาอาณาจักรขอมโบราณ ซึ่งยิ่งใหญ่ที่สุดในดินแดนสุวรรณภูมิได้ล่มสลายลง เนื่องถูกกองทัพประเทศสยาม (กรุงศรีอยุธยา) นำโดยพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา : พ.ศ. 1967-1991) ได้เข้ายึดเมืองพระนครได้ ทำให้พระองค์ท่านเป็นพระมหากษัตริย์ไทย ที่ทรงมีพระบราราชานุภาพสูงมากที่สุดพระองค์หนึงของประเทศไทย
- ยุคหลังเมืองพระนคร มีร่องรอยทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฎอยู่ปัจจุบัน ได้แก่ เมืองศรีเทพ(เพรชบูรณ์) เมืองสรีวัตตะปุระ อ. ศรีมหาโพธิ์(ปราจีนบุรี) อำเภอระโนด (สงขลา) rawatzefza2.wordpress.com/กิจกรรมการเรียนรู้โครง/อาณาจักรขอม/อาณาจักรขอมโบราณ/
ภาษาเขมร เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลมาจากภาาาสันสกฤตและภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้มาจากอิทธิพลของศาสนาพุทธและศาสนฮินดู ต่อวัฒนธรรมของชาวเขมรในขณะที่อิทธิพลอื่นๆ เช่น จากภาษาไทย ภาษาลาวและภาษเวยดนามเป้นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาาาและความใกล้ชิดกัในทางภูมิศาสตร์ ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน(ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม) เนื่องจากมไ่มีเสียงวรรณยุกต์
อักรเขมร คือรูปอักษรที่ดัดแปลงมาจากอักษรหลังปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1200-1400) ซึ่งเป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1100-1200) อีกต่อหนึ่ง อักษรปลลวะนี้ เป็นอักษรที่มาจากอินเียตอนใต้ซึ่งเป็นชุดอักษรที่มีกำเนิดมาจากอักษรพราหมี ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช (ราวพุทธ ศตวรรษที่ 3) จารึกอักษรเขมรเก่าสุดพบในปราสาทโบเรีย จ.ตาแก้ว ทางใต้ของพนมเปญ อายุราว พ.ศ. 1154 รูปแบบโบราณของอักษรเขมร ที่เรียกอักษรขอมเป็นแม่แบบของอักษรไทย อักษรลาว อักษรเขมรใช้เขียนภาษาเขมรและมนต์คาถา
อักษรขอม พัฒนามาจากอักษรหลังปัลลวะ ซึ่งพัฒนามาจากอักษรปัลลงะอีกทีหนึ่งเป็นตัวอักษรของราชวงศ์ปัลลวะในอินเดียใต้ภายหลังได้มาติดต่อกับภูมิภาคอุษาคเนย์จึงได้ถ่ายทอดวัฒนธรรมซึ่งรวมถึงตัวอักษรไว้ให้กับกลุ่มคนที่อาศัยอยุ่บรเิวณนี้อีกด้วย ต่อมาอักษรชนิดนี้เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในภูมิภาคนี้ มีวิวัฒนาการต่อไป จากอักษรปัลลวะ เป็นอักษรหลังปัลลงะ หลังจากนั้นก็แตกแขนงเป็นสองสาขาใหญ่ๆ คือ อักษรมอญโบราณ และอักษรขอมโบราณ
อักษรขอมโบราณใช้ในอาณาจักรต่างๆ สองฝั่งแม่น้ำโขงตั้งแต่สมัยก่อนเมืองพระนครต่อมาจึงกลายเป็นอักษรท้องถ่ินในสมัยพระนคร และเป็นต้นแบบของอักษรไทยและอักษรเขมรในปัจจุบัน
เอกลักษณ์ของอักษรขอม คเือ เปลี่ยนบ่าอักษรของอักษรปัลลวะเป็นศกหรือหนามเตย อักษรนี้พัฒนาไป 2 ทิศทาง คือ เป็นอักษรขอม ในประเทศไทย (ใช้เขียนภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาเขมร) และอักษรขอมในประเทศกัมพูชา (ใช้เขียนภาษาเขมร ภาษาบาลี)
อักษรขอมเขมร |
ในประเทศทไย อักษรขอมถือเป็นอักษรศักดิ์สิทธิ์ ใช้ในงานด้านศาสนาเป็นส่วนใหญ่อักษรขอมที่ใช้เขียนภาษาบาลีเรียกว่า อักษรขอมบาลี ส่วนที่ใช้เขียนภาษาไทยเรียกว่าขอมไทย ซึ่งมีอักขรวิธีต่างจากอักษรของกลุ่มอื่นๆ ต่อมา อักษรขอมไทยถูกแทนที่ด้วยอักษรไทย ส่วนอักษรขอมบาลียังคงใช้เขียนภาษาบาลีเรื่อยมา แม้จะมีการพัฒนาอักษรไทยและอักษรอริยกะมาเขียนภาษาบาลีก็ตาม อักษรขอมบาลีถูกยกเลิกไปในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงคราม
รูปแบบของอักษรขอมในประเทศไทยทั้งขอมไทยและขอมบาลี แข่งได้เป็น 3 แบบคือ
- อักษรบรรจง เป็นรูปสีเหลี่ยม ทรงมน ใช้เขียนคัมภีร์ทางศาสนา
- อักษรตัวเกษียณ เป็นตัวเแียงทแยง เอียงขวา ใช้บันทึกคำอธิบาย หรือเขียนหวัด
- อักษรเฉียงขอมหรือเฉมเขม คล้ายอักษรเขมรแบบตัวเชรียง รูปสระและการประสมสระต่างไปจาก 2 แบบ ข้างต้นth.wikipedia.org/wiki/อักษรขอม
อักษรขอมไทย สามารถพบได้ในคัีมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ตำรายา ตำราคาถาอาคม รูปยันต์ต่างๆ โดยมากปรากฎในแถบภาคกลาง และอาจพบได้บ้างในภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
พยัญชนะมีทั้งหมด 35 ตัว ดดยแต่ละตัวมีทั้งรูปตังวเต็มกับตัวเชิงหรือพยัญชนะซ้อน มีการจัดบ่งเป็นวรรตามระบบภาษาสันสกฤต
รูปพยัญชนะตามผังอักษรข้างต้นถอดเป็นพยัญชนะไทยได้ดังนี้
วรรค กะ (แถวที่ 1 จากบน) ก ข ค ฆ ง
วรรค จะ (แถวที่ 2) จ ฉ ช ฌ ญ
วรรค ฎะ (แถวที่ 3) ฎ ฐ ฑ ฒ ณ
วรรค ตะ (แถวที่ 4) ต ถ ท ธ น
วรรค ปะ (แถวที่ 5) ป ผ พ ภ ม
เศษวรรค (แถวที่ 6) ย ร ล ว ศ
(แถวที่ 7) ษ ส ห ฬ อ
รูปพยัญชนะอักษรขอมไทยน้อยกว่อักษรไทย 9 ตัว โดยรูปพยัญชนะที่ขาดไป 9 คือ ข ขวด ค คน ซ ฎ ด บ ฝ ฟ และ ฮ ซึ่งการเขียนคำที่มีพยัญชนะที่ขาดไปเป็นตังนี้ตัว ด ใช้ ฑ หรือ ตแทน, ตัว ฝ ใช้ผ แทน, ตัว ซ ใช้ ฌ ช หรือ ส แทน, ตัว บ และ ฟ นิยมนำรูปตัว (ป) ของอักษรขอมมาเขียนแทน บ และเพิ่มหางขึ้นเป็นรูปตัว (ป) ส่วนตัว ฟ ใช้รูปตัว (พ) ของอักษรขอมมาเติมหางเช่นกันเป็นรูป แต่ในหลายกรณี รูปตัว ป ของอักษรขอมทั้งที่มีหางและไม่มีหางมักใช้ปะปนกัน บางครั้งแทนเสียง ป บางครั้งแทนเสียง บ
รูปตัว ฝ ใช้อักษรขอม ตัว พ เติมหางเช่นเดียวกับตัว ฟ
ตัว ข ขวด ค คน ฎ ฮ ไม่มีที่ใช้ ดดยใช้ ข ค ฎ และ ห แทน
ตัวสะกด นิยมเขียนด้วยรูปตัวเชิงใต้พยัญชนะต้นหรือสระ เว้นแต่พยัญชนะที่รูปสระหรือตัวควบกล้ำอยู่ข้างล่างอยู่แล้วจึงใช้รูปตัวเต็ม
สระ แบ่งเป็นสระลอยกับสระจม รูปสระลอยใช้เขียนคำที่มีเสียง อ มีทั้งหมด 8 ตัว ได้แก่
จากซ้าย อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
รูปสระจมหรือประสมคล้ายกับอักษรไทยปัจจุบัน ที่ต่างไปมีดังนี้
สระเอีย-นิยมเขียนด้วยตัวเชิงของตัว ย ดฺยว = เดียว หรือใช้ทั้งสระ เอ + อิ(อี) + ตัวเชิงของ ย เช่น เสีย = เสีย
สระเอืด มีทั้งแบบที่ใช้รูปสระ เอ + อิ + อ เช่น เพิอ = เพื่อ และ เอ + อิ (อี) + ตัวเชิงของ อ เช่น เงื่อน + เงื่อน
เธอ+ เํธอ และใช้สระเอ + อี +ตัวเชิงของ อ เมื่อมีตัวสะกด เช่น เตือม= เติม หรือ ตัดตัวเชิงของ อ ใช้ตัวเชิงของตัวสะกดแทน
สระเออ ใช้สระ เอ กับตัวเชิงของ อ เมื่อไม่มีตัวสะกด เช่น
สระอัว -้ ไม้หันอากาศกับตัวเชิงของ ว เมื่อไม่มีตัวสะกด หรือใช้ตัวเชิงของ ว อย่างเดียวเมื่อมีตัวสะกด เช่น ตวย = ด้วย
วรรณยุก การใช้ไม่แน่นอนมีทั้งที่ไม่เติมวรรณยุกต์ ใช้รูปวรรณยุกต์ต่างจากปัจจุบัน หรือใช้เหมือนกัน
ไม้หันอากาศ มีทั้งเขียนบนพยัญชนะต้นและตัวสะกด บางครั้งไม่ใช้ไม้หันอากาสแต่เพ่ิมตัวสะกดเป็น 2 ตัวแทน เช่น วนฺน = วัน, ทงั = ทั้งth.wikipedia.org/wiki/อักษรขอมไทย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...