วันจันทร์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Maekongrelation

           ปฏิญญาเซบูว่าด้วยการเร่งรัดจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายในปี 2015 ส่งผลให้ประชคมอาเวยน ประกอบด้วย ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ทั้งนี้อาเซียนได้มีการรับรอง แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน  โดยแผนงานนี้จะมุ่งเน้นถึงประเด็นการชจัดปัญหาความยากจนและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ที่สืบเนื่องมาจากความผันผวนทางเศราฐกิจ
          เป้าหมายของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนมีเป้าหมายในการดำเนินการ 5 ประการ ได้แก่
          - ทำให้ประชาคมอาเวียน นั้นมีประชาชนเป้นศูนย์กลาง และเป็นสังคมที่มีความรับผิดชอบ มีความเื้ออาทรต่อกัน ซึ่งจะนำมสู่ ความเป็นหนึ่งเดียวกันในภูมิภาค

          - ทำให้คุรภาพชีวิตของประชาชในภูมิภาคน้นดีขึ้น เน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งต่อตัวประชชนเองและสิงแวดล้อม
          - เน้นการส่งเสริมและคุ้มครองในเรื่องสิทธิมนุษยชน ความยุติธรรมทางังคมการเคารพในสิทธิเสรีภาพขึ้นพื้นฐาน ความเท่าเทียมกันทางเพศ อันเป็นพื้นฐานของการพัฒนามนุษย์และสังคม
          - เน้นความเคารพในความหลากหลายทางวัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ของประชาชนชาติต่างๆ ในประเทศสมชิกอาเวยโดยได้เน้นถึงการให้คุณต่าร่วมกันรวมถึงการปรับตัวให้เข้ากับสถานการ์ต่างๆ ในปจจุบัน
          - เน้นการลดช่องว่างทางสังคมของประชาชนในอาเซียนโดยให้มีการพัฒนาไปในแนวทางเดียวกันwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4001&filename=aseanknowledge
          โดยรวมแล้วกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถจำแนกออกเป็น 3 กลุ่ม วัฒนธรรมหลัก ตามลักษณะที่ตั้ง ซึ่งสะท้อนวิถีชีวิตวัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม ดังนี้
           กลุ่มวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง ประกอบด้วย ไทย ลาว เขมร พม่า เวียดนาม ซึ่งกลุ่มประเทศเหล่านี้พุดภาษาในตระกูล ไท-กะได  ได้แก่ ประเทศ ไทย ลาว ตระกูลภาษามอญ-เขมร ได้แก่ ประเทศ เขมร และ เวียดนาม และ จีน-ทิเบต สาขาย่อยทิเบต-พม่า
          กลุ่มวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง มีประเพณีและวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน เช่น ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นการเฉลิมฉลองการขึ้นปีใหม่ของการเพาะปลูกเป็นต้น การแสดงรามเกียรติ์ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากอินเดีย จากเรื่อง รามยณะ ในกลุ่มวัฒนธรรมนี้ จะได้รับอิทธิพลจากอินเดียทางด้านวัฒนธรรม โดยเฉพาะเขมร ซึ่งแต่ก่อนอาณาจักรขอมโบราณ นับถือศาสนาฮินดู ปกครองด้วยระบอบสมมุติเทพ ก่อนจะมาเสียราชธานีให้กับอโยทยา เวียดนามจะได้รับอิทธิพลจากจีนมากกว่าประเทศอื่น เพราะเคยตกอยู่ภายใต้การปกครองของจีนเป็นเวลานาน ในประเทศอื่นๆ ในกล่มวัฒนธรรมนี้ อิทธิพลของวัฒนธรรมจีนจะเข้ามากับชนกลุ่มน้อย หรือผุ้ที่อพยพลงมาจากจีนและนำวัฒนธรรมประเพณีเข้ามาด้วย
          ทางด้านภาษา ภาษามอญเป็นภาษาที่เก่าแก่ในภูมิภาคนี้ หลักแหล่งเดิมของชาวมอญอยุ่ในประเทศพม่าปัจจุบัน เนื่องจากแพ้สงครามต่ออาณาจักรพุกาม และเรื่อยมา กระทั่งถูกพม่ากลืนชาติ ชาวมอญจึงอพยพมายังประเทศไทยในปัจจุบัน แต่ในทางกลับกัน ประเพณีวัฒนธรรมต่างๆ ได้แทรกซึมเข้าสู่พม่า กระทั่งพม่าต้องยอมรับประเพณีนั้นเป็นของตน เช่น ประเพณีสงกรานต์เป็นต้น
       
 ส่วนภาษาพม่านั้นจัดอยู่ในกลุ่มภาษาจีน-ทิเบต สาขาย่อย ทิเบต-พม่า ภาษาถิ่นและสำเนียง ภาษาพม่ามาตรฐานคือสำเนียงย่างกุ้ง ภาษาถิ่นในพม่าภาคเหนือและภาคใต้จะต่างจากภาษากลาง ภาษาถิ่นในเขตยะไข่หรือารกั ยังมีเสียง/ร/ แต่สำเนียงย่างกุ้งออกเสียงเป็น /ย/ ภาษาพม่าแบ่งอย่างกว้างๆ ได้ 2 ระดับ คือระดับทางการใช้งานวรรณคดี งานราชการและวิทยุกระจายเสียงระดับไม่เป็นทางการใช้ภายในครอบครัวและเพื่อ พระภิกษุชาวพม่ามักพุดกันเองด้วยภาษาบาลีซึ่งได้รับอิทธพิบจากพุทธศาสนา
          ไทย กับลาวนั้น เป็นสองประเทศที่ใช้ภาษาในกลุ่มไท-กะไดเป็นภาษาราชการ กลุ่มภาษาไท-กะไดนั้น มีแหล่งกำเนิดจากตอนใต้ของจีนและเรื่อยลงมาถึงภาคกลางของไทยในปัจจุบัน
            ความหลากหลายของตระกูลภาษาไท-กะไดในทางตอนใต้ของประเทศจีนบ่งบอกถึงมีความสัมพันธ์กับถิ่นกำเนิดของภาษา ผู้พูดภาษาสาขาไทอพยพจากตอนใต้ของจีนลงทางใต้เข้าสู่เอเซียตะวันออกเฉียงใต้แต่คร้ังโบราณ เข้าสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยและลาวบริเวณนี้เป็นบริเวณที่พบผุ้พูดภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียติก
               ชื่อ "ไท-กะได" มาจากการจัดแบ่งตระกูลภาษาออกเป็นสองสาขาคือ "ไท" และ "กะได" ซึ่งเลิกใช้แล้วเนื่องจากกะไดจะเป็นกลุ่มภาษาที่เป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีกลุ่มภาษาไทรวมอยุ่ด้วย ในบางบริบทคำว่ากะไดจึงใช้เีรียกตระกูลภาษาไท-กะไดทั้งตระกูล แต่บางบริบทก็จำกัดการใช้คำนี้ให้แคบลง โดยหมายถึงกลุ่มภาษาขร้าที่เป็นส่วนหนึงของตระกุลภาษานี้
              กลุ่มภาษามอญ-เขมร เป็นกลุ่มของภาษาพื้นเมืองในแถบอินโดจีน อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกเช่นเดียวกับ กลุ่มภาษามุนดาในอินเดีย การแบ่งกลุ่มย่อยของภาษาในกลุ่มนี้ เมื่อ พ.ศ. 2517 มีดังนี้
            - กลุ่มตะวันออกได้แก่ ภาษาเขมรที่ใช้พูดในกัมพุชา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย และภาคใต้ของเวียดนาม ราว 15-22 ล้านคน กลุ่มภาษาเบียริก ในภาคใต้ของกัมพุชา กลุ่มภาษาบะห์นาริก ในเวียดนาม กัมพุชาและลาว กลุ่มภาษากะตู ในลาวภาคกลางกลุ่มภาษาเวียดติกในเวียดนาม
            - กลุ่มเหนือ ได้แก่ภาษากาสีในรัฐเมฆาลัย อินเดีย กลุ่มภาษาปะหล่อง ในชายแดนจีน-พม่า และภาคเหนือของไทย กลุ่มภาษาขมุในลาวภาคเหนือ กลุ่มภาษาม้งในเวียดนามและจีน กลุ่มภาษาปยูในจีน
            - กลุ่มใต้ ได้แก่ กลุ่มภาษามอญในพม่าและไทย กลุ่มภาษาอัสเลียนในภาคใต้ของไทยและมาเลเซีย กลุ่มภาษานิโคบาร์ในหมุ่เกาะนิโคบาร์
            - กลุ่มที่จำแนกไม่ได้ ได้แก่ภาษาบูกัน บูซินชัว เกเมียฮัวและกวนฮัวในจีน
               เวียดนามใช้ตระกูล กลุ่มภาษาเวียตติก หรือ กลุ่มภาษาเวียต-เหมื่อง เป็นสาขาของตระกูลออกโตรเอเชียติกซึ่งรวมภาษาเวียดนามและภาษาเหมือง ไว้ในกลุ่มนี้ ภาษาเวียดนามจัดอยุ่ในตระกูลออสโตรเอเชียติกซึ่งรวมภาาาเวียดนาม และภาษาเหมื่อง ไว้ในกลุ่มนี้ ภาษาเวียดนามจัดเขาอยุ่ในตระกูลออสโตรเอเชียติกเมื่อ พ.ศ. 2493 มีคำยืมจากภาษาจีนและกลุ่มภาษาไทมากจนปัจจุบันกลายเป็นภาษาคำโดดที่มีวรรณยุกต์คล้ายกับภาษาไทยหรือภาษาจีนสำเนียงทางใต้มากกว่าภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอื่นpi-nu.blogspot.com
       

วันอาทิตย์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Group Cultural (ASEAN)

            ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของอาเซียน
            ในทางประวัติศาสตร์ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจาอินเดียและจีน ซึ่งแต่ละประเทศต่างก็รับเอาวัฒนธรรมจากทั้งสองชาตินี้เข้ามาในระดับที่แตกต่างกัน เช่น ไทยและลาวได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียเป็นส่วนใหญ่ ส่วนเวียดนามได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมมาจากจีนเป็นส่วนใหญ่ โดยรวมกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถจำแนกออกเป็ส 3 กลุ่มวัฒนธรรมหลัก ตามลักษณะที่ตั้ง ซึ่งสะท้อนวิถีชีวิตวัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม ด้งนี้
          - กลุ่มวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง ไทย-ลาว-เขม-พม่า-เวียดนาม
            ลุ่มน้ำโขงเป็นที่อยุ่อาศัยของหลายชุมชนที่มีอาณาเขตติดต่อกันหลายประเทศนับเป็นแปล่งอารยธรรมที่สำคัญซึ่งมีประเพณี ดนตรี วัฒนธรรม ความเชื่อ ค่านิยม ทั้งที่มีความคล้ายคลึงและแตกต่าง ด้วยลักษณะทางภูมิาสตร์ที่ใกล้เคยงกัน รวมทั้งมีการไปหาสู่ มีการต้าขาย และกิจกรรมอื่นๆ ร่วมกันอย่างสมำเสมอและต่อเนื่อง ส่งผลให้วัฒนธรรมของแต่ละประเทศ มีทั้งที่แสดงออกถึงลักษระเฉพาะของตนเอง ขณะที่มีความคล้ายคลึงในบางส่วนของการดำเนินวิุถีชีิวิต กล่าวได้ว่าไทย ลาว กัมพูชามีรากวัฒนธรรมเดียวกัน จึงมีความพ้องของวัฒนธรรมมากว่า พม่าและเวียดนามซึ่งได้รับอิทธิพลจากจีน ในที่นี้ ขอหยิบยกตัวอย่างมรดกร่วมทางวัฒนธรรม อาทิ
             การแสดงรามเกียรติ์ เป็นมรดกร่วมทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นของอาเซยน ต้นเค้าของเรื่องรามเกี่ยติ์น่าจะมาจากเรื่อง รามายณะของอินเดีย ซึ่งเป็นนิทานที่แพร่หลายอยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้ ต่อมาอารยธรรมอินเดียได้แพร่หลายเข้ามาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้เรื่องรามายณะแพร่หลายไปทั่วภูมิภาค ได้ปรับเปลี่ยนเนื้อหาให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมของประเทศนั้นจนกล่ายเป็นวรรณคดีประจำชาติไป ดังปรากฎในหลายๆ ชาติ เช่น ลาว พม่า กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย ล้วนมีวรรณคดีเรื่องรามเกี่ยติ์เป็นวรรณคดีประจำชาติทั้งสิ้น
           
นาฎศิลป์และดนตรี การแสดงรำของ ไทย ลาว เขมรมีความคล้ายคลึงกัน รวมทั้ง เคืรองดนตรีที่ได้รับอิทธิพลซึ่งกันและกัน แต่มีการปรับเปลี่ยนให้เข้ากับวัฒนธรรมประเพณีของประเทศนั้นๆ ทั้งนี้ ด้วยสภาพภูมิศาสตร์ และลักษระการประกอบอาชีพที่เป็นเกษตรกรรม ส่งผลต่อวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่ในแถบใกล้เคียงกัน
              ประเพณีสงกรานต์ เป็นประเพณีปีใหม่ของประเทศไทย ลาว กัมพูชา พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไตแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน ศรีลังกาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย และเป็นประเพณีเก่าแก่ซึ่งสืงทอดมาแต่โบราณคู่มากับประเพณีตรุษ จึงมีการเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึงประเพณีส่งท้ายปีเก่า และต้อนรับปีใหม่ คำว่า "ตรุษ" เป็นภาษาทมิฬ แปลว่า "การสิ้นปี"
           พิธีสงกรานต์ เป็นพิธีกรรมที่เกิดขึ้นในสมาชิกในครอบครัว หรือชุมชนบ้านใกล้เรือนเคียง แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนไปสู่สังคมในวงกว้าง และมีแนวโน้มที่จเปลี่ยนทัศนคติ และความเชือไป ในความเชื่อดั้งเดิมใช้สัญลักษณ์เป็นองค์ประกอบหลักในพิธี ได้แก่ การใช้น้ำเย็น ใช้น้ำรดให้แก่กันเพื่อความชุ่มชื่น มีกาขอพรจากผุ้ใหญ่ การำลคกและกตัญญุต่อบรรพบุรุษที่ล่งลับ ในชีวิตสมัยใหม่ของสังคมไทยเกิดประเพรีกลับบ้านในเทศกาลสงกรานต์ นับวันสงกรานต์เป็นวันครอบครัว ในพิธีเดิมมีการสรงน้ำพระที่นำสิริมงคล เพื่อให้เป็นการเริ่มต้นปีใหม่ที่มีความสุข
            กลุ่มวัฒนธรรม มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน ดารุสซาลาม สิงคโปร์
            เป็นกลุ่มประเทศที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม แต่ก็มีประชาชส่วนหนึ่งนับถือศาสนาพุทธ คริสต์ และฮินดุด้วยสัดส่นที่แตกต่างกันไป ตังนั้น วัฒนธรรมประเพณี ศิลปะ การแสดง จะมีความคล้ายคลึงกัน ในขณะที่สิงคโปร์เป็นสังคมผสมผสานระหว่างจีน มาเลย์ อินเดีย ดังน้้น จึงมีความหลากหลายของวัฒนธรรม ตัวอย่างของมรดกวัฒนธรรมร่วมในกลุ่มนี้ ได้แก่
             การใช้ภาษา การแต่งกาย ชุมชนที่นับถือศาสนาอิสลามจะแต่งกายคล้ายคลึงกัน เช่น กลุ่มคนภาคใต้ล่าง ประชาชนชาวมาเลเซีย อินโดนีเซีย
           
 การแสดงหนังตะลุง หรือ แวแยง ซึ่งหมายถึง ศิลปะการเชิดหนังหรือหุ่นเป็นสิ่งที่สแดงถึงวัฒนธรรมร่วมของประเทศในภูมิภาคอาเซียน เช่น ไทย อินโดนีเซีย หนังตะลุงมีต้นกำเนิดมาจากเกาะทั่วไป หนังตะลุงจากทุกที่จะต่างกันอ้วยขนาดรูปร่างและรูปแบบ แต่จะมีความเหมือนกันคือจะทำจากหนังวัวและมีคันชัก และเล่นประกอบดนตรีเคืรองทองเหลืองเช่น ฆ้อง
            ขณะที่สิงคโปร์มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ อีกทั้งสวนใหญ่ยังยึดถือธรรมเนียมปฏิบัติดั้งเดิม ทำให้สิงคโปร์มีวัฒนธรรมหลากหลาย ทั้งทางด้านอาหาร การแต่งกาย ตลอดจนการเซ่นไหว้วิญญาณบรรพบุรุษ และความเชื่อในเรื่องเทพเจ้าที่แตกต่างกันไ ปชาวจีนส่วนมากบูชาเจ้าแม่กวนอิม กวนอูเทพเจ้าแห่งความยุติธรรม รวมถึงเทพเจ้าจีนองค์อื่นๆ ขณะที่ชาวฮินดูบูชาเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ เป็นต้น
             กลุ่มวัฒนธรรม ฟิลิปปินส์
             ถึงแม้ว่า ภูมิประเทศของอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ จะมีความคล้ายคลึงกัแต่วัฒนธรรมของฟิลปปินส์เป็นการผสมผสานกันระหว่างตะวันตกและตะวันออก ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะวัฒนธรรมฟิลิปปินส์ที่ได้รับอิทธิพลจากสเปน ซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมมาเป็นะยะเวลานาน ในขณะเดียวกันก็ได้ปสานวัฒนธรรมพื้นเมือง ตัวอย่างของมรดกวัฒนธรรมกลุ่มนั้
             มีการใช้ภาษามากว่า 170 ภาษา นาฎศิลป์ดนตรี สเปนเป็นชาติตะวันชาติหนึ่งที่มายึดครองอินแดนในเอเชียเป็นระยะเวลายาวนาน ดดยเฉพาะประเทศฟิลิปปินส์ และสเปนพยายามสร้างฟิลิปปินส์ ซึ่งมีชาวพื้นเมืองเดิมเป็นชาวเกาะที่นับถือศาสนาอิสลามให้เป็นตัวแทนของสเปนในภูมิภาคตะวันออก ด้วยเหตุนี้สเปนจึงนำเาอประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนศาสนาเข้ามาครอบคลุมชาวพ้นเมือง ศิลปะการแสดงตามแบบฉบับของสเปนจึงปรากฎขึ้นในดินแดนของประเทศฟิลิปปินส์และเมื่อชาวพื้นเมืองฟิลิปปินส์ได้มีการติดต่อกับชาวพื้นเมืองมลายูซึ่งนับถือศาสนาอิสลามด้วยกัน จึงทำให้นาฎศิลป์ได้แพร่ขยายเข้ามาในดินแดนมลายูด้วย การแต่งกาย ชุดแต่งกายประจำชาติของฟิลิปปินส์ ชายสวมเสื้อที่เรียกว่า บารอง หญิงแต่งชุดกระโปรงยาว สวมเสื้อแขนสั้นจับจีบ แล้วยกตั้งขึ้นเหนือไหล่ คล้ายปีกผีเสื้อ เรียกว่าชุด ลาลินตาวัก ซึ่งได้รับอิทธิพลจากตะวันตก
            ประเพณี ฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมจากสเปนและเม็กซิโก จะเห็นได้จากความเชื่อในศาสนาคาธอลิกงานประเพณีทางศาสนาในทุกปี ฟิลิปปินส์จะมีงานรื่นเริง เรียกว่า บาร์ริโอ เฟียสตาร์ เป็นการฉลองนักบุญของเมือง หมู่บ้านและเขตการปกครองต่างๆ มีการประกอบพิธีทางศาสนา การเดินขบวนในเมืองฉลองนักบุญ การจุดพลุไฟ การประกวดความงาม และการเต้นรำ รวมทั้งมีการตีไก่...
              - http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4001&filename=aseanknowledge
             

วันเสาร์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Hmong- Mien

ปฏิทิน ม้ง
            ตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน หรือ แม้ว-เย้า เป็นตระกูลภาษาเล็กๆ ที่ใช้กันทางตอนใต้ของประเทศจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้พุดกันในแถบภูเขาสูงตอนใต้ของจีน เช่น มณฑล กุ้ยโจว หูหนาน ยูนนาน เสฉวน กวางสี และมณฑลหูเป่ย ที่เรียกกันว่า ชาวเขา ในขณะที่ชาวจีนฮั่นตั้งถ่ินฐานอยู่ตามลุ่มแม่น้ำ เมื่อ 300-400 ปีที่ผ่านมา ชาวม้งและเมียนจำนวนมากได้อพยพเข้ามาตั้งถ่ินฐานในประเทศไทย ลาว เวียดนาม และพม่าและเนื่องจากสงครามอินโดจีน ชาวม้งบางส่วนได้ลี้ภัยจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปอยู่ที่ประเทศออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และอีกหลายประเทศ
         ม้ง หมายถึง อิสระชน เดิมอาศัยอยุ่ในประเทศจีน ต่อมาชาวจีนเข้ามาปราบปราม เป็นเหตุให้อพยพลงมาถึงตอนใต้ของจีน และเขตอินโดจีน ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และตอนเหนือของประเทศไทย ประมาณ พงศ. 2400 โดยมีสองกลุ่มได้แก่ ม้งน้ำเงินและม้งขาว ไม่ชอบให้เรีกว่าแม้ว โดยถือว่าเป็นการดุถูกเหยียดหยาม ประชากรของม้งในประเทศไทย มีมากเป็นอันดับ 2 รองจากกะเหรี่ยง ตั้งถิ่นฐานอยุ่ตามภูเขาสูง หรือที่ราบเชิงเขาในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน แพร่ ลำปาง กำแพงเพชร เลย พิษณุโลก เพชรบูรณื สุโขทัย และตาก
        ในอดีม้งอาศัอยอยู่ตามภูเขาอยุ่ตามธรรมชาติ ม้งต้องตรากตรำทำงานหนักอยู่แต่ในไร่เท่านั้น ทำให้ม้งไม่มีเวลาที่จะดุแลตัวเองและครอบครัว ดังนั้นชีวิตความเป้ฯอยู่ของม้งจึงเป้นแบบเรียบง่าย เพราะคลุกคลีกับธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่เท่านั้น ชีวิตประจำวันของม้งคือ จะทำไร่ ทำสวน และหารายได้เล็กน้อยเพื่อจุนเจือครอบครัว ส่วนเรื่องอาหารก็จะเป็นเรื่องเรียบง่าย
         ในการกินอาหาร ม้งนิยมใช้ตะเกียบซึ่งรับมาจากธรรมเนียมจีน ส่วนเหล้าจะนิยมดื่มกันในงานเลื้องต่างๆ เช่น งานแต่างงาน งานเลี้ยงญาติ อาจเป็นญาติของภรรยาที่มาเยี่ยม ฝ่ายฐาติทางสามีจะต้องรินแก้วเหล้าแจก ครั้งละ 2 แก้ว โดยเชื่อกันว่าจะทำให้คู่สามีภรรยาอยุ่ด้วยกันตลอดไป ก่อนจะดือมเหล้าแต่ละคนจะพูดว่า "ผมจะดื่มเพื่อทุกคน" และจะต้องคว่ำจอก หรือคว่ำแก้วเมื่อหมดแล้ว ม้งจะนิยมดื่มเหล้าครั้งเดียวหมดแก้ว มีการดื่มซ้ำวนเวียนหลายคร้ง ผุ้ที่มิใช้นักอื่มย่อมจะทนไม่ได้อาจของใหบุคคลอื่นช่วยดื่มแทนก็ได้ เหล้าจะทำกันเองในปมู่บ้าน ซึ่งทำจากข้าวโพด ข้าว หรือข้าวสาลี ม้งให้เกียรติแก่ผุ้ชาย เพราะฉะนั้นผุ้หญิงจึงรับประทานอาหาร หลังผุ้ชายเสมอ การประกอบอาหารของม้งสวนใหญ่จะเป้ฯในลัการะการต้ม ทอด และ ม้งยังมีความสามารถในการถนอมอาหาร ึ่งในการถนอมอาหารสามารถถนอมได้หลายแบบ เช่น การหมัก การดอง...
       
 ภาษาม้ง อยุ่ในตระกูลม้ง-เมี่ยน หรือ แม้ว-เย้า ใช้กันในชาวม้งในเอ่เซียตะวันออกเแียงใต้ และบางส่วนของจีนจัดเป็นภาษาคำโดด โดยหนึงคำมีเสียงพยั๙ญชนะต้น สระ และวรรณยุกต์ ไม่มีเสียงตัวสะกด มีวรรณยุกต์สนธิหรือการผสมกันของเสียงวรรณยุกต์เมื่อนำคำมาเรียงต่อกันเป็น ประโยค ในประเทศไทยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม
         ภาษาม้งเขียว หรือ มั้งจั้ว ภาษาม้งเขียว หรือ ภาษาม้งจั็ว ภาษาม้งตะวันตก มีผุ้พูดกว่าหนึ่งล้านสองแสนคน พบในจีน หนึ่งล้านคน ซึ่งรวมชาวบูนูที่เป็นชนกลุ่มเย้าแต่พูดภาษานี้เป็นภาษาแม่ 29,000 คนเข้าไปด้วย ในบริเวณกุ้ยโตจว เสฉวน และยูนนาน พบในลาว 145,000 คน (พ.ศ. 2538) ทางภาคเหนือ พบในพม่า 10,000 คน พบในไทย 33,000 คน ในจัวหวัดตาก น่าน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เพชรบูรณ์ เชียงราย พะเยา เลย สุโขทัย แพร่ กำแพลเพชร อุทัยธานี พบในเวียดนาม ทางภาคเหนือ พบได้บ้างในจังหวัดทางภาคใต้เช่น จังหวัดดักสัก มีผุ้พูดภาษานี้ในฝรั่งเศสและสหรัฐอ้วย
       
  ภาษาม้งขาว หรือ ม้งเต๊อว ภาษาม้งขาว หรือ ภาษาม้งเด็อว มีผุ้พูดทั้งหมด 514,895 คน พบในจี สองแสนสามหมื่นคน  ทางตะวันตกของกุ้งโจว ทางต้ของเสฉวน และยูนนาน พบในลาว หนึ่งแสนหกพันคน ทางภาคเหนือ พบในไทย สามหมื่นสองพันคน ในจังหวัดเพชรบูรณ์ ตาก แม่ฮ่องสอน เชียงราย น่าน พิษณุโลก เลย สุโขทัย กำแพงเพชร แพร่ พระเยา อุตรดิตุถ์ ลำปาง ในเวียดนามพบทางภาคเหนือพบได้บ้างในจังหวัดทางภาคใต้เช่น จังหวัดดักลัก มีผุ้พุดภาษานี้ในฝรั้งเศส และสหรัฐอเมริกาด้วย..
            เมี่ยน (เย้า ) ปรากฎครั้งแรกในเอกสารบันทักของจีน สมัยราชวงศืถัง โดยปรากฎในชื่อ ม่อ เย้า มีความหมายว่าไม่อยู่ใต้อำนาจของผุ้ใด เล่ากันว่า เมื่อประมาณ 2000 กว่าปีมาแล้วบรรพชน ได้ตั้งถิ่นฐานอยุ่ในที่ราบรอบทะเลสาปตงถิง แถบแม่น้ำแยงซี ยอมอ่อนน้อมให้ชนชาติผุ้ปกครองรัฐ และไม่ยินยอมอยุ่ภายใต้การบังคับกดขี่ของรัฐ จึงได้ทำการอพยพเข้าไปใในป่าลึกบนภูเขาสูง ได้ตั้งถิ่นฐานสร้างบ้านด้วยมือของเขาเอง เพื่อปกป้องเสรีภาพจึงถูกขนานนามว่า ม่อ เย้า ซึ่ง เหยา ซี เหลียน ได้พันทึกไว้ในเหลียงซูต่อมาในสมัยราชวงศ์ซ่งคำเรียกนี้ถูกยกเลิกไปเหลือแต่คำว่า "เย้า" เท่านั้น..
         ชาวเมี่ยนมีอิสระเสรีในการเลือกคู่ครอง โดยไม่มีการบังคับกัน เมี่ยนมีประเพณีเที่ยวาว ซึ่งได้ยึดถอืปฏิบัติมาจนทุกวนนี การเที่ยว สาวนั้นไม่ได้มีเพียงการพูดจาเกี่้ยวพาราสีเท่านั้น แต่เมื่อหญิงสาวชาวเมี่ยนพอใจหนุ่มใดเป็นพิเศษ ก็อาจจะร่วมหลับนอนกับชายคนนั้นได้ภายในห้องนอนของตนเอง
          ครอบครัวเมี่ยน มักไม่ค่อยมีการหย่าร้อง (การมีชู้เป็นเรื่องน่าอับอายสำหรับเมี่ยน) ผุ้ชายชาวเมี่ยนมีศักดิ์เหนือกว่าสตรีและเด็กในครอบครัว เวลากินอาหาร จะจัดให้ผุ้ชายก่อน สตรีและเด็กจะมากินที่หลัง ภรรยาต้องเคารพสามี ตื่นก่อนนอนที่หลัง
       
ลักษณะบ้านเรือน นิยมตั้งหมุ่บ้านบนไหล่เขา บริเวณต้นน้ำลำธารสุงประมาณ สามถึงสามพันห้าร้อยฟุต ซึ่งอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าหมุ้บ้านม้งและลีซอ หมุ่บ้านเมี่ยนมีขนาดเล็กประมาณ 15 หลังคาเรือน มีการโยกย้ายหมู่บ้านบ่อยๆ ในช่วงเวลา 10-15 ปี แต่บางแห่งตั้งอยู่อย่างถาวร..
          ภาษาเมี่ยน มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาม้งมากว่าภาษาชาวเขาอื่นๆ ภาษาเขียน เมี่ยนได้รับอิทธิพบจากจีน เป็นคำเดียวโดด ๆ ไม่มีภาาาเขียนเป็ฯของตนเองเมี่ยนที่อยุ่ในเมืองไทยส่วนใหญพุดภาษาไทยเหนือหรือคำเมืองพอรู้เรื่องบางคนพุดภาษาไทยกลาางได้ ใช้ภาษาฮั่นเป็นตัวอักษรในภาษาเขียน แต่รูปแบบต่างจากภาษาฮั่นมาตรฐาน คนที่มีอายุพูดภาษาจีนกลางและจีนฮ่อได้ ผุ้ชายชาวเมี่ยนมีคำนำหน้าว่า "เลา" ส่วนผุ้หญิงมีคำนำหน้าว่า "อ่ำ" บุตรชายคนแรกเรียก ต่อนโห หรือ ต่อนเก๊า ลูกสาวคนแรกเรียก อ่ำม๋วย ...

                  - www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/hmong.html
                  - hmong21.net/hmong&moob/hm0010.php#.WYW-TITyjIW
                  - th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน
                  - www.openbase.in.th/node/1012
                  - prezi.com/wgesocpzwbg-/presentation/



วันศุกร์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Tagish Language (Tagalong + English)

              มีการใช้ภาษามากกว่า 170 ภาษา โดยส่วนมากหรือเกือบทั้งหมดนั้นเป็นตระกูลภาษาย่อยมาลาโบ-โปลินีเซียนตะวันตก แต่ในปี พ.ศ. 2530 รัฐธรรมนูญได้ระบุให้ภาษาฟิลิปปิโน และภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ
             โดยฟิลิปปินส์นั้น มีภาษาประจำชาติ คือ ภาษาตากาล็อก (จกาการพุดคุญกับชาวฟิลิปปินส์ รวมถึงนั่งดุรายการทีวีและฟังจากสถานีวิทยุ ทราบได้ว่า ชาวฟิลิปปินส์ มีการใช้ภาษาที่เรียกว่า ทากรีส(Tagalog + English) คือพูดตากาล็อกคำอังกฤษคำ ผสมกันไปในประโยคสนทนา แต่เป็นที่เข้าใจกันในหมู่ของประชาชน แม้แต่ในรายการทีวีและรายการวิทยุ
             ภาษาฟิลิปปินส์ หรือ ภาษาฟิลิปิโน เป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการภาษาหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์คู่กับภาษาอังกฤษกำหนดเมื่อ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตากาล็อก เมื่อ พฤศจิการยน พ.ศ. 2480 สถบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตาการล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นที่มีการใช้เป็นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พงศ. 2504 ภาษานี้เป็ฯที่รู้จักในชื่อ ปิลิปิโน และเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาฟิลิปปินส์เมื่อ พ.ศ. 2515
       
  ภาษาตากาล็อกเป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสดตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับ ภาษาอินดดนีเซเีย ภาษามาเลย์ ภาษาฟิจิ ภาาาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮิติ ภาษาซามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาษากลางภายในประทเศ มีผุ้พุดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว่า
        ε และ o นอกจากนั้นมีสระประสมเพ่ิมอีก 4 สียง คือ aI, oI, aU,iU พยัญชนะในภาษาตากาล็อกไม่มีเสียงลมแทรก มีการเน้นเสียงหนักภายในคำที่ทำให้เสียงสระยาวขึ้นด้วย
          โฮเซ่ รีซัล วีรบุรุษของชาวฟิลิปปินส์ ผู้ต่อสู้กับเจ้าอาณานิคม ผ่านทางงานเขียนและเป็นผุ้จุดประกายการต่อสู้เพื่อเอกราชของฟิลิปปินส์ นักปฏิวัติ ติดต่อรีซัลให้เข้าร่วมปฏิวัติด้วยความรุนแรงแต่เขาปฏิเสธ เขาถูกสเปนตัดสินประหารชีวิต เมื่อ 26 ธันวาคม การประหารชีวิตมีขึ้นในตอนเช้าวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2439 ทำให้รีซัลกลายเป็นวรีบุรุษของฟิลิปปินส์ไปในที่สุด
  ภาษาตากาล็อกมีหน่วยเสียง 21 เสียง เป็นเสียงพยัญชนะ 16 เสียง เสียงสระ 5 เสียง ก่อนการเข้ามาของชาวสเปน ภาษาตากาล็อกมีเสียงสระเพียง 3 เสียง คือ a, i, u เอมีคำยืมจากภาษาสเปนจึงเพ่ิมสระอีก 2 เสียง คือ
         บทกวีลาตาย
          ก่อนถูกประหารชีวิต เขาเขียนบทกวีลาตายไว้ ขนาดยาว 14 บาท เป็นภาษาสเปนชื่อ mi último adiós บทกวีนี้ได้รับการส่งเสริมให้เเแปลเป็นภาษาต่างๆ ทั่วโล รวมทั้งภาษาท้องถิ่นของฟิลิปปินส์โดยสถาบันประวัติศาสตร์แห่งชาติฟิลิปปินส์ ปัจจุบันแปลเป็นภาษาต่างๆ มากว่า 100 ภาษารวมทั้งภาษาไทย..


 "Mi Ultimo Adios".. บทอำลาสุดท้าย


ลาก่อน แผ่นดินที่รักยิ่งของแัน ดินแดนแห่งตะวันอันอบอุ่น
ไข่มุกแห่งทะเลบูรพา สวนอีเอนของพวกเรา
ด้วยความปิติ ฉันของมอบชีวิตที่แสนเสร้าและหมองมัวของฉันให้กับเธอ
และขอให้มันเจิดจรัสยิ่งขึ้น มีชีวิตชีวาย่ิงขึ้น มากที่สุดเท่าที่มันจะมีได้
เพื่อที่แันจะมอบมันให้กับเธอ เพื่อเธอจะได้มีความผาสุขชั่วกัปกัลป์
ในสนามรบ ท่ามกลางความรุนแรงของการต่อสู้ 
ผุ้คนมอบชีวิตให้กับเธอ โดยปราศจากความลังเลและความเจ็บปวด
ณ หนใด ไม่สำคัญ แท่านแห่งเกียรติยศ สถานที่อันศึกดิสิทธิ
แดนประการ ทุ่งร้าง เขตปรกปักษื หรือทัฒฑสถาน
มันไม่มีความแตกต่างกันเลย หากว่าเป็นความต้องการของมาตุภูมิ
ความตายของฉันเปรียบเสมือนแสงแรกแห่งอรุณ
และแสงเรืองรองสุดท้ายของวารวัน ที่ส่องสว่างหลังจากค่ำคืนอันมืดมน
ถ้าเธอต้องการสีเพื่อย้อมอรุณรุ่ง
รินเลือดของฉัน และ้วระบายลงให้ทั่ว
จากนั้นจึงสาดส่องด้วยแสงแรกของแผ่นดิ
ความฝันของฉัน เมื่อแรกเติบใหญ่จากวัยเยาว์
ความฝันของฉันเมืองครั้งวัยแรกรุ่น เต็มเปี่ยมไปด้วยพลังที่จะค้นหา
เพื่อที่จะได้พบกับเธอ อัญมณแห่งทะเลบูรพา
ดวงตาที่ดำขลับ คิ้วที่รับกับหน้าผาก ปราศจากรอยขมวด
ใบหน้าที่เรียบลื่น และผุดผ่องไร้รอยราคี
ชีวิตของฉันเต็มไปด้วยจินตนาการ ความเร่าร้อนของฉัน เปี่ยมไปด้วยแรงปรารถนา
มาเถิด! เสียงร่ำร้องจากวิญญาณของฉันเรียกหาเธอ มันจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของเธอ
มาเถิด! มันช่างแสนหวานที่จะได้เติมเต็มใหนสิ่งทีเธอตอ้งการ
ตายเพ่อกำเนิดชีวิตให้กับเธอ อยู่ใต้ฟ้าของเธอจนลมหายใจสุดท้าย
และอยู่ใต้ผืนดินที่มีมนต์ขลังของเธอ เพื่อหลับไปชั่วนิรันดต์
หากวันใดเธอเห็นสายลมอยุ่เหนือหลุ่มศพของฉัน
สายลอที่ผ่านพัดดอกไม้ที่เอนลู่ ท่ามกลางพงหญ้าที่รกร้าง
ขอเธอนำมันมาเคยงริมฝีปาก และโปรดจุมพิตดวงจิตของฉัน
ใต้หลุมศพที่หนาวเย็น ฉันจะรับรู้ได้ผ่านสายลม
ลมหายใจที่อบอุ่นของเธอ สัมผัสแห่งความรักและอาทร
ขอให้ดวงจันทร์ทอแสงนวลใยโอบไล้ฉัน
ขอให้อรุณฉายทาทาบฮันด้วยแสงทองของวันใหม่
ขอให้สายลมผ่านพัดเสียงครวญคร่ำ
และถ้าจะมีนกมาเกาะที่ไม้กางเขนที่เหนือหลุมศพ
ขอให้มันขับขานบทเพลงแห่งสันติสุขแด่เถ้ากระดูกของฉัน
ขอให้ดวงตะวันแผดเผาไอหมกให้ลอยขึ้นสู่ฟ้า
และด้วยเสียงตระโกนไล่หลังของแัน จะทำให้ท้องฟ้าแจ่มใส
ขอให้เพื่อนหลั่งน้ำตาให้กับเป้าหมายในชีวิตของฉัน
และในตอนบ่ายที่เงียบสงบเมื่อใครสักคนหนึ่งสวดภาวนา
ฉันจะภาวนาไปพร้อมกัน โอ มาตุภูมิของฉันขอให้แันได้พำนักอยู่กับพระผู้เป็นเจ้า
และโปรดภาวนาให้กับผุ้เคราะห์ร้ายที่ได้พรากจากให้กับผุ้ที่ได้รับความทุกข์ยากจากความอยุติธรรม
ให้กับเหล่าแม่ของเราที่ต้องร้องไห้ด้วยความขมขื่น
ให้กับเหล่ากำพร้าและแม่หม้าย ให้กับผุ้ที่ถูกจับไปทัณฑ์ทรมาน
ฉันจะภาวนาพร้อมกับเธอ เพื่อให้เธอได้รับการชำระบาปจากพระองค์
และเมื่อรัตติกาลที่มือมิดปกคลุมไปทั่วสุสาน
และมีเพียงผุ้ที่ตายจาก ทอดร่างอย่างสงบอยู่ ณ ที่แห่งนี้
อย่ารบกวนการพักผ่านของพวกเขา อย่ารบกวนความสงบสุขของพวกเขา
ถ้าเธอได้ยินเสียงดีดสีธเธอร์หรือเสียงพิณดังแว่วมา
นั่นคือฉันเอง แผ่นดินที่รัก ฉันกำลังบรรเลงกล่อมเธอ
และในวันที่หลุ่มศพของแนถูกลืมเลือน
ปราศจากไม้กางเขนหรือป้ายบอกขื่อเป็นที่สังเกตอีกต่อไป
ขอให้มันถูกกวาดถูกขุดรื้อทิ้งไป
และขอให้เถากระพูกของฉันผุพังสูญสลาย
กลายเป็นธุลีกลับคืนสู่ผืนแผ่นดิน
ไม่เป็นไรหรอกถ้าเธอจะลืมเลือนฉันไป
ในอากาศ ในท้องฟ้า ในหุบเขา รอบตัวเธอ ฉันจะข้ามผ่าน
ฉันจะเป็นเสียงพิสุทธิ์สำหรับเธอ
กลิ่นที่หอม แสงสว่าง สีสันอันงดงาม เสียงกระซิบ บทเพลง เสียงกรน 
จะคอยย้ำแก่นแท้ของศรัทธาของฉันตลอดไป
มาตุภูมิที่รักยิ่งของฉัน ผุ้ซึ่งเสียใจกับความทุกข์ที่ฉันได้รับ
ฟิลิปปินส์ที่รัก โปรดได้ฟังการอำลาเป็นครั้งสุดท้ายจากฉัน
ฉันต้องจากทุกคนไปแล้ว พ่อ แม่ และเธอ ที่รักของฉัน
ฉันจะไปยังสถานที่ ที่ซึ่งไม่มีใครต้องเป็นทาส ไม่มีทรราชผุ้กดขี่
ที่ซึ่งศรัทธาจะไม่ถุกทำลาย และที่ซึงปกครองโดยพระผุ้เป็นเจ้า
ลาก่อนครับพ่อ ลาก่อนครับแม่ ลาก่อนพี่น้องที่รักทุกคน
เพื่อนสมัยยังเด็ก เพ่อในที่คุมขัง
ขอบคุณที่แันจะได้พ้นจากวันที่น่าเบื่อหน่าย
ลาก่อน ทุกคนที่ฉันผ่านพบ เพื่อนผุ้ซึ่งทำให้ชีวิตของแันสดใสทุกคน
ลาก่อน ผู้เป็นที่รักของฉันทุกคน
การตายคือการพักผ่อนนิจนิรันดร์

                                                                                                                                ... โฮเซ่ ริซัล

th.wikipedia.org/wiki/ภาษาฟิลิปีโน
http://fldeptsa.blogspot.com/2012/07/tagalog.html
/th.wikipedia.org/wiki/ประเทศฟิลิปปินส์#.E0.B8.A0.E0.B8.B2.E0.B8.A9.E0.B8.B2
th.wikipedia.org/wiki/โฮเซ_รีซัล
         

วันพฤหัสบดีที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Melayu Language

           
 ภาษามลายู เป็นภาษาหลฃักภาษาหนึ่งในตระกุลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซยน มีผุ้พุดประมาณ สองถึงสองร้อยห้าสิบล้านคน (ปี พ.ศ. 2552) โดยเป้นภาษาแม่ของผุ้คนตลอดสองฟากช่องแคบมะละกา ซึ่งได้แก่ ชายฝั่งค่บสมุทรมลายูของมาเลเซียและชายฝั่งตะวันออกของเกาะสุมาตราของอินโดนีเซย และได้รับการยอมรับเป็นภาษาแม่ในชายฝั่งตะวันตกของซาราวะก์ ละกาลีมันตันตะวันตกในเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้ยังใช้เป็นภาษาการต้าในภาคใต้ของ ฟิลิปปินส์ ซึ่งได้แก่ ต่อนใต้ของคาบสมุทรซัมบวงกา, กฃลุ่มเกาะซูลู และเมืองบาตาราซาและบาลาบัก (ซึงมีชาวมุสลิมอาศัยอยุ่เป็น่วนใหญ่) ทางทิศตะวันตกเฉียงใใต้ของเกาะปาลาวัน
           ในฐานที่เป็นภาษาประจำชาติ หรือ ของรัฐเอกราชหบายรัฐ ภาษามลายู มาตรฐานที่ชื่อทางการแตกต่างกันไป ในบรูไนและสิงคโปร์เรียกว่า "ภาษามลายู" ในมาเลเซียเรียกว่า "ภาษามาเลเซีย" และอินโดนีเซียเรียกว่า "ภาษาอินโดนีเซีย" อย่างไรก็ตาม ในหลายพื้นที่ทางตอนกลางและตอนใต้ขอ
เกาะสุมาตราที่ซึ่งภาษามลายูเป็นภาษาพื้นเมือง ชาวอินโดนีเซียจะเรียกภาษานี้ว่า "ภาษามลายู"และมองว่าเป็นภาษาหนึ่งในบรรดาภาษาประจำภูมิภาคของตน

           ภาษามลายูมาตรฐาน (หรือที่เรียกว่าภาษามลายูราชสำนัก) เคยเป็นวิธภาษามาตรฐานในวรรกรรมของรัฐสุลต่านมะละกาและยะโฮร์สมัยก่อนอาณานิคม ดังนั้น บางครั้งจึงเรียกว่าภาษานี้ว่าภาษามลายูมะละกา, ภาษามลายูยะโฮร์ หรือาษามลายูเรียว (หรือชื่ออื่นๆ ที่ใช้ชื่อเหล่านี้ประกอบกัน) ะพื่อแยกให้แตกต่างกับภาษาอื่นๆ อีกหลายภาษาในกลุ่มภาษามลายู จากข้อมูลของเอ็ทนอล็อก วิธภาษามลายูต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันมีรายชื่อเป็ฯภาษาแยกต่างหาก(รวมถคงวิทธภาษาโอรังอัซลีในมาเลเซยตะวันตก) มีความสัมพันะ์ใกล้เคียงกับภาษามลายูมาตรฐานมากจนอาจพิสูจน์ได้ว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีภาษามลายูการต้าและภาษาครีโอล จากภาษามลายูอีกจำนวนมากซึ่งมีพืนฐานจากภาษากลางที่พัฒนามาจากภาษามลายูตามแบบแผนดั้งเดิมเช่นเดียวกับภาษามลายูมากัสซาร์ ซึงปรากฎวว่าเป็นภาษาผสมth.wikipedia.org/wiki/ภาษามลายู
            ...ภาษาอินโดนีเซียกับภาษามาเลเซียก็เหมือกับภาษาฮินดีที่พูดกันในอินเดีย และภาษาอูร์ดุที่พูดกันในปากีสถาน ที่แต่ก่อนงอ่นชะไรย้อนหลังกลับไปในอดีต คือ ภาษาเดียวกัน ศัพท์จำนวนมากมาจากภาษาสันสกฤต กระทั่งราชวงศ์โมกุลเข้ามาปกครองอินเดีย ก็นำศัพท์ต่างๆ ทางภาษาเปอร์เซียเข้มาใช้ ต่อมาสัดส่วนของศัพท์ภาษาเปอร์เซียเร่ิมมีมากกว่าภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดีที่มีภาษาเปอร์เซียปนอยู่เป็นจำนวนมากก็กลายเป็ฯภาษาอุร์ดู ในตอนแรกๆ คนที่ใช้ภาษาฮินดีกับภาษาอูร์ดูยังพูดจาปราศรยกันรู้เรื่อง แต่เมื่อวันเวลาหมุนเวียนเปลี่ยนไปมีศัพท์แสงทางเปอร์เซียเข้ามาเพิ่มขึ้น คนที่ใช้ภาษาฮินดีกับอูร์ดู ก็เิร่มพุดกันไม่รู้เรื่องแล้ว

              ภาษาฮินดีใช้ตัวอักษรเทวนาครี ส่วนภาษาฮินดีที่มีภาษาเปอร์เซียปนอยุ่มากจนกระทั่งกลายเป็นภาษาอูร์ดู นำตัวอักษรอาหรับแบบเปอร์เซียมาใช้ในการเขียนภาษาทั้งสองก็ย่ิงห่างต่างกันไปเรื่อยๆ จนตอมากลายเป็น ภาษาคนละอย่าง พูดเขียนกันไม่รู้เรื่อง...
             กลับมาที่ภาษามาเลเซียและภาษาอินโดนีเซีย..
             แต่ก่อนง่อนชะไร ภาษาทั้งสองก็คื อภาษามลายูเดียวกัน แตกต่างกันอยู่บ้างตรงที่ภาษามลายูที่ใช้กันในอินโดนีเซียได้รับอิทธิพล จากภาษาสันสกฤต เพราะสมัยก่อนแถวเกาะชวาเป็นศูนนย์กลาางของศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธที่มีต้นกำเนิดมาจากอินเดีย ในขณะที่ภาษามลายูในมาเลเซียได้รับอิทธิพจากอิสลาม ตามรัฐสุลต่านอิสลามแห่งมะละกา จนภาษาอาหรับซึ่งเป็นภาษาแห่งศาสนาอิสลามถูกนำมาใช้เป็นภาษาแห่งวิทยาการแทนที่ภาษาสันสกฤตในแถวมาเลเซีย
             ที่เปนเช่นนี้เพราะ อีสลามมิซาซี หรือ "กระบวนการทำให้เป็นอิสลามมากขึ้น" เกิดขึ้นเข้มข้นในมาเลเซีย ผู้คนมาเลเซียนิยมใช้ศัพท์แสงในภาษาอาหรับแทนที่ภาษาสันสกฤต แต่กระบวนการทำให้เป็นอิสลามมากขึ้น ไม่ได้เกิดเข้มข้นในอินโดนีเซียผุ้คนจึงใช้ภาษามลายูที่ยังคงใช้ศัพท์แสงเดิมๆ ที่มารจากภาษาสันสกฤต
             แม้กระนั้นก็ตาม ความแตกต่างของภาษามลายูที่ใช้ในสองประเทศในสมัยก่อนตอนโน้นก็ยังไม่มีความแตกต่างกันมาก จนกระทั่ง อังกฤษและฮาลแลนด์เข้ามเป็นเจ้าอาณานิคมแบ่งกันปกครอง อังกฤษได้มาเป็ยนเจ้าเข้าครองมาเลเซีย ส่วนพวกดัตช์แห่งฮอลแลนด์ เป็นเจ้าเข้าปกครองอินโดนีเซีย ตั้งแต่นั้น ภาษาทั้งสองที่เริ่มเติบโตกันออกไปคนละแบบ ศัพทืแสงต่างๆ ทารงภาษาอังกฤษถูกนำไปใช้ในภาษมลายูที่พูดกันในมาเลเซียส่วนศัพท์ภาษดัตช์ก็ถุกเข้าำปใช้ในภาษามลายูในอินโดนีเซีย ทำให้ภาษมลายุในมาเลเซียและในอินโดนีเซียต่างกันมากขึ่้น
             ในมาเลเซีย ผุ้คนยังใช้ ปีจาแบท ที่หมายถึงสำนักงาน แต่คนอินดดนีเซียเอาศัพท์ภาษาดัตช์เข้ามาใช้เป็น แคนเทอ เมื่อคนมาเลเซียจะพุดถึงห้อ้ง ก็ใช้คำว่า บิลิก แต่คนอินดดนีเวีเยใช้ถาษาอิงไปทางภาษาดัตช์ว่า คามาร์ คนมาเดลเซียหยิบหนังสือพิมพ์ฉบับนี้ชูขึ้นพรัอมทั้งพุดว่า อัคบาร์ ทว่าคนอินโดนีเซเียกลับใช้ภาษาดัตช์ที่หมายถึงหนังสือพิมพ์ว่า โคแรน
            สัพท์นภาษาดัตชืเข้ามปะปนอยู่ในภาษามลายุที่ใช้ในอินโดนีเวียมากวธจนคนมาเลเซียฟังมไม่รู้เรื่อง คนอินโดนเีวเยเองก็ชินกับภาษามลายู ที่มีศัพท์ภาษาดัตช์เข้ามาปะปนซะจนฟังภาษามลายูที่ใช้กันในมาเลเซียไม่รู้เรื่อง
             ปี พ.ศ. 2480 อินโดนีเซียได้รับเอกราช ก็ใช้ตัวอักษรดรมันในการเขียนภาษามลายูแบบินโดนีเซีย ในตอนนั้น ภาษามลายูที่ใช้กันในประเทสมาลาย (มาเลเซีย) ยังใช้ตัวอักษรภาษาอาหรับ จนกระทั้งต่อมา มาเลเซียได้รับเอกราช จึงนำ ตัวอักษรดรมันมาใช้เขียนแทนภาษาอาหรับ แต่การสะกดตัวอักษรโรมันของภาษามาเลเซยต่างจากภาษาอินโดนีเซียมาก ...www.thairath.co.th/content/227488
             ภาษามลายูบรูไน เป็นภาษาประจำชาติของประเทบรูไนและเป็นภาษากลางในพื้นที่บางส่วนของมาเลเซียตะวันออก ภาษานี้ไมใช่ภาาราชการของยรูไน (ซึ่งใช้ภาษามลายูมาตรฐานเป็นภาษาราชการ) แต่มีบทบาทสำคัญในสังคมและกำลังแทนที่ภาษาของชนกลุ่มน้อยภาษาอื่นๆ ภาษามลายูบรูไนมีผุ้พุดประมาน สองแสนหกคน พบในบรูไนประมาณ สองแสนหนึ่งหมื่นคน ในบริเวณเมืองหลวงและตามแนวชายฝัง พบในประเทศมาเลเซยประมาณ ห้าหมื่นหนึ่งพันคน ในบริวเณชยฝั่งทางตอนเหนือเบอไลต์บน และบริเวณแม่น้ำตูเดาของรัฐซาราวะก์และในรัฐซาบะฮ์
             ภาษามลายูบรูไนจัดอย่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามลายโย-โปลินีเซีย สาขามาลาโย-ซุมบาวาสาขาข่อยมลายูอิก เช่นเดียวกับภาษามเลเซียและภาษาอินโดนีเซียแต่เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากภาษเกอดายันซึ่งเป็นภษาของขนพื้นเมืองกลุ่มหนึ่งในบรูไน จึงมีคำสัพท์หลายคำที่แตกต่างไปจากภาษามลายูมาตรฐาน..th.wikipedia.org/wiki/ภาษามลายูบรูไน
              ภาษามลายูเป็นภาษาที่สำคัยและใช้กันอย่างกว้างขวางในอาเวียนรองจากาษาอังกฤษ และเป็นภาษาราชการของ 4 ประเทศ คือ มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไนและสิงคโปร์  ภาษามลายูหรือมลายูกลางเป็นอีกหนึ่งในภาษาประจำชาติของสิงคโปร์
             
... เนื่องจากสิงคโปร์เป็นพหุสังคม ดังนั้น การสร้างความเป็นอันเหนึ่งอันเดียวกันระหว่างกลุ่มชาติต่างๆ จึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับความอยุ่รอดของประเทศ แต่เิดิมรัฐบาลมีนโยบายรักษาความเป็นกลางทางด้านเชื้อชาติ หลักเลี่ยงการเอ่ยถึงประเด็นความแตกต่างทางด้านศาสนา ภาษา เชื้อชาติ แต่ในทศวรรษที่ 1990 เป็นต้นมา รัฐบาลมีนโยบลายสร้างความสามดุลระหว่างกลุ่มเชื้อชาติต่างๆ โดยสนับสนุนให้แต่ละกลุ่มมีสมาคมหรือกลุ่มผลประโยชน์ของตนเอง โดยรัฐบาลใช้กลุ่มเหล่านี้เป็นเวทีให้รัฐบาลดำเนินนโยบายของรัฐให้ประสบความเร็จ..
                 เมื่อแยกตัวออกมาเป็น "สาธารณรัฐสิงคโปร์" รัฐมีนโยบายให้แต่ละชาติพันธุ์รักาาไว้ซี่งวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของตนเอง แต่ว่าจะต้องมีส่วนร่วมกันในการมีเอกลักษรืของความเป็นชาติ หลังการแยกตัวเป็นอิสระ มรกดอย่างหนึ่งที่ติดตัวมาจนถึงปัจจุบันคือ การใช้ภาษามลายูเป็นภาษาประจำชาติ แต่ชาวมลายุได้กลายเป้นชนกลุ่มน้อยของสิงคโปร์ไป โดยชนกลุ่มใหญ่คือคนเชื่อสายจีน และการที่แต่ละกลุ่มเชื้อชาติมีความหลากหลายทางภาษาพุดก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำใหภาษาอังกฤษเข้ามามีบทบาทมากข้นเรื่อยๆ  นอกจากภาษาอังกฤษแล้วรัฐบาบยังมีนดยบายให้ครอบครัวจีนหันมาใช้ภาษาจีนกลางมากขึ้นแทนที่จะใช้ภาษาถิ่นจีนที่มีมากมาย แต่ด้วยนโยบายเชนนี้ในระยะต่อมาได้ส่งผลทำหใ้มีลักระของการไปทำลายวัฒนธรรมเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์โดยเฉพาะในด้านภาษา ดังนั้นรัฐบาลจึงได้กำหนดนโยบายให้ภาษาประจำชาติพันธุ์เป็นภาษาที่สอง เหตุผลคือการเียนภาษาอังกฤษมากเกินไปทำให้คนสิงคโปร์ไม่รู้สึกถงความเป็นชาติพันธุ์ของตนเอง..http://www.sac.or.th/databases/southeastasia/subject.php?c_id=8&sj_id=69
           

วันพุธที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Bahasa : Interview ( Hilang Bahasa, Hilang Bangsa, Hilang Bangsa Hilang Agama)

            หลังจากความรุนแรงปะุทขึ้น เมื่อสิบกว่าปีก่อน มีการณรงค์ในหมู่คนท้องถ่ินให้เกิดการฟื้นฟูภาษามลายูและตัวอักษรยาวี พร้อมกับการรณรงค์เผยแพร่มลายูปาตานีให้แพร่หลาย ผู้สนับสนุนภาษามลายูมักล่าวซ้ำแล้วซ้ำเล่าว่า Hilang Bahasa, Hilang Bangsa, Hilang Bangsa Hilang Agama ถอดความได้ว่า "ชนใดไร้ภาษา ชนนั้นสิ้นเชื้อชาติ เมื่อสิ้นเชื่อชาติ ย่อมสิ้นศานา
             ทวีพร คุ้มเมธา ผุ้สือขาวประชาไท รายงานการใช้ภาษาและอัตลักษณ์มลาูกับความขัดแย้งและความรุนแรงเกี่ยวพันในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยสัมภาษณ์ อาณา ชินทาโร (Hara Shintaro) ผู้เชี่ยวชาญภาษามลายูและนักวิจารณ์การเมืองในภาคใต้ ชินทาโรเป้นนักวิชาการชาวญี่ป่นุที่อาศัยอยุ่ภาคใต้ของประเทศไทยตั้งแต่ปี 2542 และสอนที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีเป็นเวลาหลายปี ในปัจจุบันเป็นนักวิชาการอิสระด้านมลายูศึกษา เขานิยามตัวเองว่าเป็นคนนอกที่อยู่ "ภายใน" ชุมชนปาตานี
             ประชาไท เป็นหนังสือพิมพ์ ออนไลน์ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2547 โดย จอน อึ้งภากรณ์ นำเสนอข่าวสารทั่วไป โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับสังคม การเมือง สิทธิมนุษยชน บทสัมภาษณ์และข้อเขียนของนักวิชาการ นักเคลื่อนไหว องค์กรสิทธิ และองค์กรพัฒนาเอกชน ผู้อำนวยการปัจจุบันคือ จีรนุช เปรมชัยพร บรรณาธิการคตือ ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข
             ประชาไท เป็นเว็บไซต์ที่มีผุ้เข้าชมจากประเทศไทยมากเป็นอันดับที่ 3,889 (ปี 2557) จากการจัดอันดับโดยอเล็กซา..
             เว็บบอร์ดประชาไท เป็นพื้นที่แยกต่างหากจกหนังสือพิมพ์ประชาไท ที่เปิดเพื่อให้สาธารณะแลกเปลี่ยนกันเรื่องสังคมและการเมือง เว็บบอร์ดประชาไทปิดตัวลงเมือ 31 กรกฎาคม 2553 โดยจรีนุช เปรมชัยพร ให้เหตุผลในจดหมายถึงผุ้อ่านและสมาชิกเว็บบอร์ดว่าเป็นเพราะสถานการณ์การจับกุมผู้โพสต์แสดงความคิดเห็นในพื้นที่ออนไลน์เกิดขึ้นอย่างต่อนเนื่องในช่วงดังกล่าว ทั้งนี้เป็นข่าวและไม่เป็นข่าวจากข้อกล่าวหา "เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ" ด้วย พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์, พ.ร.ก. สถานการณ์ฉุกเฉิน และกฎหมาอาญามาตรา 112...th.wikipedia.org/wiki/ประชาไท
           
ทวีพร : คุณเห็นว่าสถานการณืของภาษามลายูในปาตานีในปัจจุบันเป็นอย่างไร ?
ชินทาโร : ในด้านคุณภาพ ผมของอะิบายว่า ขณะนี้แทบจะไม่มีเจ้าของภาษามลายูปาตานีที่สามารถสนทนาเป็นเวลานานโดยไม่ได้รับอิทธิพลจากภาษาไทย ทั้งในรูปแบบของการยืมคำหรือวลร กรเปลี่ยนรหัสภาษา Code-Switching หรือแม้กระทั่งการเปลี่ยนภาษา Language Shift
           นี้คือความจริงที่ขมขื่นมาก แต่ที่สำคัญคือ ภาษามลายูปาตานีอ่อนแอ ผมอธิบายว่า ภาษามลายูปาตานีเข้าชั้นผุ้ป่วยไอซียู จำนวนผุ้พุดภาษามลายูปาตานีกำลังลดลงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเมืองและคลังคำก็ลดลงด้วย เพราะคำเดิมถูกแทนที่ด้วยคำยืมจากภาษาไทยจำนวนมาก จนกระทั่งการสนทนาระหว่างผู้ใช้ภาษามลายูปาตานีกับภาษามลายูแบบมาเลเซียหรืออินโดนีเซียนั้นเข้าใจกันยากแล้ว จำนวนผุ้ที่ไม่สามารถเขียนหรืออ่านภาษามลายูปาตานีเพิ่มขึ้นอย่างน่าตกใจ และสังเกตได้ว่ามีการใช้อักษรไทยเป้นตัวเขียนภาษามลายูปาตานีในสื่อสังคมออนไลน์อย่างชัดเจน
ทวีพร :     ภาคประชาสังคมอภิปรายเรื่องการส่งเสริมกรใช้ตัวอักษรยาวี ซึ่งส่วนใหญ่ใช้เฉพาะในปาตานีบางคนลอกว่าคนปาตานีควรละทิ้งตัวอักษรและนำตัวอักษรรูมี (อักษณโรมัน) มาใช้ เืพ่อให้ทันกับโลกมลายูทีเหลือ คุณคิดอย่างไร ?
ชินทาโร : ผมสนับสนุนการใช้อักษรยาวีเพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง ประการแรก ประสบการณ์ในอดีตของ ชาวมลายูปาตานีแตกต่างจากผุ้พุดภาษามลายูในประเทศมาเลเซียหรือประเทศอินโดนีเซีย เช่น เขาใช้ตังอักษรโรมันอย่างเป้นทางการเมืองประเทสเป็นเอกราช แต่ชาวมลายูปาตานีไม่เคยมีการจัดระบบการเรียนรู้อักษรโรมันอย่างเป็นระบบ ในทางตรงกันข้ามอักษรยาวีเป็นที่แพร่หลายและใช้ในสถาบันการศึกษาตามขนบจารีตในพื้นที่ เช่น ในโรงเรียนตาดีกา และโรงเรียนปอเนาะ
         
มวีพร คุ้มเมธา
ดังนั้น การใช้ระบบกาเรขเียนใหม่หรือระบบการเชียนที่ใช้ตัวอักษรต่างประเทศ เช่น อักษรโรมันหรือระบบการเขียนด้วยอักษรไทยที่มีคนคิดขึ้นมา (ซึ่งผมต่อต้านโดยสิ้นเชิง)  ไม่มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติเท่ากับการส่งเสริมอักษรยาวี ซึ่งอย่งน้อยคนส่วนมากในพื้นที่ยังอ่านได้ เมื่อเรามีระบบการเขียนที่ใช้กันในวิถีปฏิบัติแล้ว และเราจะนำสิ่งอื่นเข้ามาเพื่ออะไร
            นอกจากนี้ อักษรยาวียังมีคุณค่าทางวัฒนธรรมบางอย่างผูกพันกับอัตลักษณ์มลายูปาตรนีอักษรยาวีได้สูญเสียสถานะของการเป้ฯระบบการเขียนหลักในส่วนอื่นๆ ของโลกมลายู แม้ในประเทศมาเเซียที่เคยใช้อักษรยาวีกันอย่างแพร่หลาย ในขณะนี้ปาตานีคือสถานที่เดียวในโลกมลายู ซึ่งภาษามลายูเขียนด้วยอักษรยาวีมีสถานะเด่นกว่าภาษามลายูเขียนด้วยอักษรโรมัน
ทวีพร :      คุณคิดว่าความพยายาสนับสนุนอัตลักษณ์มลายูของรัฐไทยช่วง 10 ปีที่ผ่านมาเป็นอย่างไร ?
ชินทาโร :  ก็ยังดีกว่าไม่ทำอะไรเลย แต่ก็เหมือนกับนโยบายที่ดีอื่นๆ คือไม่ได้นำไปปฏฺิบัติอย่างทั่วถึง
                   ศูนย์อำนวนการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) โดยเฉพาะสมัยที่พันตำรวจเอก เอกทวี สอดส่อง เป็นเลขา ศอ.บต. ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสำคัญๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษามลายู รวมทั้งการจัดตังสถาบันภาาามลายูแห่งประเทไทย บางคนอธิบายว่าสภานี้เทียบเท่าสถาบันภาษาและวรรณคดรแห่งชาติมาเลเซีย ด้านหนึ่งก็จริง แต่เราไม่ควรมองข้ามความจริงที่ว่าสถาบันภาษามลายูประเทศมาเลเซียมีการคุ้มครองทางกฎหมายสามชั้น คือสถานะของภาษามลายูเ็นภาษาประจำชาติ ซึ่งบรรจุไว้ในรัฐธรรมนูญ มีพระราชบัญญัติภาษาซึ่งกำหนดว่าหน่วยงานภาครัฐทุกแห่งจะต้องใช้าษามลายู และพระราชบัญญัติสถาบันภาษาและวรรณคดีแห่งชาติมาเลเซีย เป็ฯกฎหมายรองรับสถานะของตัวสถาบันเอง ในประเทศไทยสภาภาษามลายูแห่งประเทศไทยไม่มีฐานทงกฎหมายใดๆ รองรับนอกจากนี้ ก็ควรจะเน้น่าการดำเนินการด้านภาษามลายูในประเทศไทยยังอยู่ในระดับผิวเผินมาก ในแง่ของป้ายในหน่วยงานภาครัฐจำนวนไม่น้อยที่ยังไม่มีป้ายภาษามลายู ป้ายภาษามลายูที่มีอยู่เฉพาะด้านหน้าอาคารแต่ไม่ไม่ป้ายภายในอาคาร
ทวีพร : สถานการณ์ภาษามลายูในประเทศอื่นๆ เป็นอย่างไร และได้รับผลกระทบจากการเป็นอาณานิคมอย่างไร ?
ชินทาโร : เนื่องจากมาเลเซียและอินโดนีเซียได้รับเอกราช ภาษามลายู (มาเลเซีย) และภาษาอินโดนีเซียได้รับเลือกให้เป็นภาษาประจำชาติ ภาษามลายูมีสถานะชัดเจนระบุไว้ในรัฐธรรมนูญของประเทศทั้งสอง จากนั้นรัฐบาลของทั้งสองประเทศก็ส่งเสริมภาษาอย่างแข็งขัน ด้วยนโยบายภาษาเชิงสร้างสรรค์และการวางแผนภาษา กระบวนการนี้เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งสำหรับภาษา เช่น ภาษามลายูซึ่งขาดโอาสในการพัฒนาในช่วงเวลาล่าอาณานิคมที่ผ่านมานับร้อยๆ ปี เพราะภายใต้อาณานิคม ภาษาพื้นถิ่นไม่ได้รับสถานะทางการใดๆ ภายใต้การบริหารของเจ้าอาณานิคมหรือในการศึกษาาชั้นูงซึ่งยังครอบงำโดยเจ้าอณานิคม
                เมื่อเทียบกับภาษาอื่นๆ เช่นภาษาญี่ปุ่นหรือภาษาไทยที่ขาดประสบการณือาณานิคม (มแ้ว่าญี่ปุ่นถูกครอบครองโดยสหรัฐอเมริกาเป็นเวลาห้าปีหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ) ภาษาได้ับการพัฒนาเรื่อยๆ และสามารถนำมาใช้ในทางปฏิบัติได้ทุกสาขา รวมทั้งกิจการภาครัฐ การศึกษาชั้นสูงขึ้นและอื่นๆ โดยไม่จำเป็นต้องให้รัฐบาลตั้งใจพัฒนาภาษา แต่ในโลกของชาวมลายู ทุกตารางนิ้ยของแผ่นดินอยู่ภายใต้อาณานิคม ภาษาพื้นถ่ินทุกภาษาถูกตัดโอกาสในการพัฒนา สถานการณ์เปลี่ยนไปต่อเมื่อประเทศเป็นเอกราช และหนึ่งในภาษาท้องถิ่น (ในบริบทนี้คือภาษามลายูและภาษาอินโดนีเซีย) ได้รับการยอมรับเป็นภาษาราชการของประเทศการรับรู้นี้จะนำไปสู่สถานะของภาษาที่มีการรับรองในรัฐธรรมนูญ พร้อมกับการพัฒนาและสนับสนุนจากรัฐในรูปแบบของการวางแผนภาษา ภาษาอินโดนีเซียได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในตัวอย่างที่ประสบความสำเร็จที่สุด้านการวางแผนภาษา จนปัจจุบันเป็นภาษาที่สามาถใช้งานได้จริงเต็มรูปแบบในทุกด้าน เมื่อเทียบกับภาษามลายูที่มีความเข็มแข็ง ภาษามลายูปาตานียังอ่นแอกว่ามาก การใช้ภาษาและคุณภาพภาษากำลังอยู่ในขาลง
ทวีพร : ภาษามลายูมีความสำคัญต่ออัตลักษณ์ปาตานีอย่างไร ?
ชินทาโร : สำหรับคนบางคน ภาษาอาจมิใช้เครื่องบ่งชี้อัตลักษณ์ที่สำคัญที่สุดเสมอไป ในบางสังคมค่อนข้าใช้ภาษาเดียว เช่น ในประเทศญี่ปุ่นหรือสังคมไทย ภาษากระแสหลักคอืภาษาที่โดดเด่น มีความแข็งแรง และเป็นภาษาที่ใช้กันโดยไม่มีการตั้งคำถาม
                 แต่ในโลกมลายู ซึ่งมีการใช้ภาษาแบบพหุภาษา มีผุ้ใช้ภาษาได้หลายภาษาจำนวนมาก ภาษามลายูอยู่ร่วมกันกับภาษาอื่นๆ รวมทั้งภาษาของเจ้าอาณานิคม ในอีกแง่หนึ่ง การสื่อสารในโลกมลายูได้รับประทโยชน์จากการพัฒนาของภาษามลายู เนื่องจากภาษามลายูซึมซับคำยืมจำนวนมากจากภาษาต่างประเทศ รวมทั้งตระกูลภาษาสามชั้นที่สำคัญๆ ที่สุด คือ ภาษาสันสกฤต ภาษาอาหรับ และภาษายุโรป (โดยเฉพาะภาษาอักงฤษ และในกรณีของอินโดนีเซีย คือภาษาดัตช์)
                 อย่างไรก็ตาม อิทธิพลจากภาษาเจ้าอาณานิคมและการจัดระบบการนำคนนอกเข้าในพื้นที่ โดยเฉพาะคนจีนและอินเดียในยุคอาณานิคม คุกคามสถานะของภาษาพท้นถ่ินในโลกมลายู โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษามลายู การล่มสลายของภาษามลายูจากที่เคยเป็นภาษาทางการของรัฐสุลต่านมลายูในหมู่เกาะและคาบสมุทร จนกลายเป็นเพียงแค่หนึ่งในภาษาพื้นถ่ิน มีผลกระทบอย่างลึกซึ้งต่อการพัฒนาของชาวมลายู กล่าวง่ายๆ คือในยุคอาณานิคม ภาาามลายูขาดโอกาสในการพัฒนาไปตามกลาเวลาที่ก้าวล่วงไป จนนักภาษาศาสตร์ชาวมลายู (ซึ่งบังเอิญเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ปริญญาโทของผม) กล่าวว่า ก่อนมาเลเซียเป็นเอกราช ภาษามลายูเป็นแค่ ภาษาตลาดหรือภาษาร้านน้ำชาที่ปราศจากสถานะใดๆ ทั้งในฐานะภาษาราชการหรือภาษาในสถาบันการศึกษาชั้นสูง"
                 ภายใต้สภานการณ์เช่นนี้ ผมเชื่อว่า มันเป็นธรรมชาติมากที่ภาษามลายูซึ่งชัดเจนว่าถูกคุกคามจากคนภายนอก/เจ้าอาณานิคม จะถูกถือว่าเป็นตัวบ่งชี้ทางอัตลักษณ์ที่สำคัญมากที่สุดอย่างหนึ่งของชาวมลายู และคอนเซปต์นี้ก็สามารถนำไปใช้กับคนมลายูปาตานีได้
                 ที่เป็นเช่นนี้เพราะสถานการณ์เฉพาะในประเทศไทย ชุมชนที่พุดภาษามลายูสามารถหายไปในบางกรณีซึ่งแตกต่างจากส่วนอื่นๆในโลกมลายู ยกตัวอย่างเช่น จังหวัดสตูลเป็นพื้นที่ของผุ้พูดภาษามลายูประมาณหนึ่งศตวรรษที่ผ่านมา แต่ในขณะนี้จะมีเพียงหมู่บ้านที่อยู่ติดกับมาเาเลเซียที่ยังคงพูดภาษามลายู (ในรูปภาษามลายูด้วยสำเนียงสตูล) ชุมชนพื้นเมืองที่พุดภาษามายูในเมืองสงขลา ตามเอกสารที่เจ้าหน้าที่ดัตช์บันทึกไว้ ระบุว่าสงขลามีชื่อเสียงโด่งดังว่าเป็นถ่ินที่มีภาษามลายูที่ดี (ดีจนเจ้าหน้าที่ดัตช์ตัดสินใจที่จะศึกษาภาษามลายูที่สงขลา) แต่ภาษามลายูก็สูญหายไปจากสงขลาเป็นเวลานานแล้ว
ทวีพร : มีข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมภาษามลายูในปาตานีอย่างไรบ้าง?
ฮารา ชินทาโร
ชินทาโร : การหายไปของาภาษามลายูไม่ได้เป็นฝันร้ายที่ยังห่างไกลของผุ้คลั่งไคล้ภาษาศาสตร์ แต่เกิดขึ้นในความเป็นจริงแล้ว ส่วนใหญ่เนื่องจากความจริงที่ว่าภาษามลายูไม่มีสถานะทางกฎหมายไดๆ ในประเทศไทย
                  ที่กล่าวมานี้ไม่ได้หมายความว่า ต้องท้าทายสถานะของภาษาไทย ในฐานะภาษาประจำชาติภาษาเดียว (ซึ่งผมเองก็เคารพข้อนี้เต็มที่) ไม่ว่าทางใดทางหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ความพยายามที่จะส่งเสริมภาษาใดๆ ย่อมยังคงอยู่ในระดับตื้นเชิน ตราบใดที่ภาษานั้นไม่ได้รับการสนับสนุนด้วยระบบกฎหมาย ยกตัวอย่างเช่น ไม่มีภาษาอื่นใดี่ไม่ใช่ภาษาไทยได้รับอนุญาตให้ใช้เป็นภาษาราชการร่วมในท้องถิ่นในปาตานี ถ้าจะทำให้บรรลุได้ ก็ต้องมีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายบางอย่างให้เกิดขึ้นด้วย ต้องเปิดโอกาสให้มีการอภิปรายเชิงลึกเพื่อส่งเสริมภาษามลายูในปาตานีได้อย่างมประสิทธิภาพ
                  อย่างไรก็ตาม ทัศนคติและการตั้งธงไว้ก่อนของเจ้าหน้าที่ไทยยังเป็นอุปสรรคเสมอๆ ข้อจำกัดในปัจจุบันเกี่ยวกับเสรีภาพในการพูดทำให้สถานการณ์ร้ายแรงมากขึ้น ถ้ามีคนเสนอว่า ควรให้ใช้ภาษามลายูเป็นภาษาราชการในท้องถ่ิน ผู้พุดอาจถูกตีตราว่าเป็นผู้เข้าข้างกลุ่มติดอาวธ และอาจจะถูกล่าวหาว่าเป็นภัยคุกคามต่อคตวามม่นคงของชาติ ในระยะยสั้นนี้ อย่าง้อยในด้านหนึ่งรัฐไทยได้สร้างเ่งื่อนไขความขัดแย้งเสียเอง
                  ถ้าเราต้องการส่งเสริมภาษามลายูจริงจังควรเร่ิมดำเนินการขึ้นตอนจ่างๆ ี่จะต้องทำทันที อย่างไรก็ตาม คนในท้องถิ่นส่วนใหญ่มีความสุขแคเพียงการตำหนิรัฐไทยและนโยบายเชิงรุกและปราบปราม (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอดีต) ต่อการสูญเสียอัตลักษณ์มลายู รวมทั้งภาษามลายู แต่ยังไม่มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ก่อผลใดๆ นอกจากการเล่ินเกมหาแพะรับบาป ในขณะที่ตัวเองแทบไม่ได้ทำอะไรที่จะส่งเสริมคุณภาพของภาษามลายูในพื้นที่ในทางปฏิบัติ
                 รัฐไทยควรจะฉลาดพอที่จะตระหนักว่าปัญหาภาษาเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของตัวตนคนมลายูปาตานี หากรัฐพยายามอย่างจริงใจในการแก้ปัญหานี้ รัฐสามารถลดหนึ่งในเงื่อนไขสำหรับการต่อสู้ของกลุ่มติดอาวุธได้หนึ่งเงื่อนไขเป็นอย่างน้อยprachatai.com/journal/2016/07/66854
                  
          

วันอังคารที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Bahasa ; Confict Part 3

           ในปี พ.ศ. 2490 ฮัจญีสุหลง อับดุลกอเดร์ ต่วนมีมาลย์ (โต๊ะมีนา) โต๊ะอิหม่ามผู้เป็นผุ้นำทางความคิดของชาวปาตานีได้ยื่นข้อเรียกร้องเจ็ดข้อตอ่รัฐบาลไทย โดยข้อสามและข้อสี่ เป้นข้อเรียกร้องเกี่ยวกับภาษามลายู
            "ข้อ 3 ให้ใช้ภาษามลายูและภาษาไทยเป้นภาษาราชการของสี่จังหวัด (ชายแดนภาคใต้), ข้อ 4 ให้ภาษามลายูเป็นภาษากลางของการสอนในโรงเรียนชั้นประถมศึกษา" ข้อเรียกร้องเพื่อสิทธิและความเป็ฯธรรมในการมีส่วนร่วมการในปกครองของคนมลายูทั้งเจ็ดข้อทำให้ฮัจญีสุหลงถูกเพ่งเล็งจากรัฐไทย ถูกตั้งข้อหากบฎ และถูกจับติดคุก ต่อมาในปี พ.ศ. 2497 เขาถูกฆ่าตาย ศพของเขาถูกซ่อนทำลาย ไม่มีเจ้าหน้าที่รัฐคนใดต้องรับผิดชอบ ชะตากรรมของฮัจญีสุหลงทำให้คนมลายูกลุ่มหนึ่งตัดสินใจนับอาวุธต่อสู้
            "ท่านฮัจญีสุหลงไม่ได้ใช้แบตเตอร์รี่แบบแยกส่วนิในภาษากิจกรรมทางศาสนาอิสลาม และความต้องการต่าง ๆ ตามบริบทของท้องถ่ิน บทเรียนากกรณีการถุกบังคับสูญหายของฮัจญีสุหลงหลังยื่นข้อเรียกร้องเจ็ดข้อต่อทางการทยเป็นสวนหนึ่งที่ทำให้ขบวนการสรุปว่า เมื่อกระบวนการสันติวิธีไม่สามาถบรรลุเป้าหมายซ้ำยังถุกกดปราบจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ การต่อสุ้ด้วยอาวุธจึงถุกนำมาใช้" อาบูฮาฟิซ อัลฮากืม แกนนำคนหนึ่งของ มารา ปาตานี องค์กรรมของชบวนการต่อสู้เพื่อเอกราช ให้สัมภาษณ์กับประชาไท
              ความทรงจำในปี 2547ความจำเป็นในกาเปิดพื้นที่ทางภาษาและวัฒนธรรม ดังที่ปรากฎในรายงานของคณะกรรมการอิสระเพื่อความสามานฉันทแห่งชาติ ตั้งขึ้นในสมัยรัฐบาล ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งสระปว่า มีเงื่อนไขสองอย่างที่ทำให้ความรุแแรงงยังมีอยู่ในสามจังหวัดชายแดภาคใต้ โดยหนึ่งในสองนั้นเกี่ยวกับภาษามลายู "เงื่อไขทางวัฒนาธรรม คือ ลักษณะเฉพาะทางศาสนาและชาติพันธ์นฃในพื้นที่คือศาสนาอิสลาม ภาษามลายู และประวัติศาสตร์ปัตตานี สิ่งเหล่านี้เป็นเงื่อไยในสังคมซึ่งทำหน้าที่ให้ความชอบธรรมกับการใช้ความรุนแรงหรือทำให้ผุ้คนไม่น้อยยอมรับหรือเห้นด้วยกับฝ่ายที่ใช้ความรุนแรง ทั้งหมดนี้ทำให้ผู้ก่อความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้อาศัยเงื่อนไขทางชาติพันธ์ผสานกับสษสนามาเป้นข้ออ้งให้ควมชอบธรรมกับการใ้ควมรุนแรงในการตอสู้เพื่อเป้าหมายของตนในนามของอัตลักษณ์ความเป็นมลายูมุสลิม" และมีขอเสนออย่างชัดเจนให้ "ประกาศให้ภาษามลายูเป็ฯภาษาทงาน อีกภาษาหนึ่งในจังหวัดชายแดนภาคใต้
              "... หะยีสุหลงเกิดขึ้นเมื่อปีที่แล้ว 2438 ที่กำปงอาเนาะรู มณฑลปัตตานี บิดาส่งไปเรียนศาสนาที่นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบย เมื่อสำเร็จการศึกษาและมีบุตรกับภรรยาคนที่สอง จึงตัดสินใจเินทางกลับมายังประเทศไทย
              หะยีสุสุหลง ตั้งใจจะกลับมาเผยแพร่ศาสนาที่มณฑลปัตตานีอันเป็นบ้านเกิด ได้เดินทางกลับมาเมือปี พ.ศ. 2470 ก่อนจะพบว่าชาวมุสลิมที่นั่นยังมีสภาพความเป็นอยุ่ที่แร้นแค้นและนบถือภูมิผีอยู่เป้นจำนวนมาก ซึงขัดกับหลักทงศาสนาอิสลามอย่างรุนแรง จึคงเกิดเป็นแรบันดาลใจให้ก่อตั้งโรงเรียนสอนศาสนา หรือปอเนาะ ขึ้นมาเป็นแห่งแรก ด้วยเงินเริ่มต้นที่รวบรวมหามาได้ สามพันห้าร้อยบาท ต่อมาเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พงศ. 2475 ในรัฐบาลที่มีพระยพหลพลหยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี หะยีสุหลงได้เดินทางเข้าสู่พระนครเพื่อของความช่วยเหลือจากทางรัฐบาล ก็ได้เงินช่วยเหลือจากภาครัฐมาอีก สามพันห้าร้อยบาท รวมเป็นเจ็ดพันบาท ปอเหนาะแก่งแรกในประเทศไทยจึงถือกำเนิดขึ้นมา
             หะยีสุหลง ได้เกี่ยวพันกับทางการเมืองและความขัดแย้งในพื้นที่ซึ่งมีผลกระทบต่อความมั่นคงของราชอาณาจักร เมื่อเป็นผุ้นำเสนอข้อเรียกร้อง 7 ข้อ ที่ให้ความเป็นธรรมและสอดคล้องกับวิุีชีิวิตของชาวมุสลิมในพื้นที่ ต่อรัฐบาลไทยที่มี พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เป้นนายกรัฐมนตรี ขณะที่ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการอิสลามจังหวัดปัตตานี เมื่อปี พ.ศ. 2490 แต่ต่อมาได้เกิดการรัฐประหารขึ้นเมือปลายปีเดียวกัน ได้มีกรเปลี่ยนขั้นรัฐบาลมาเป็นขั้วของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งมีอุดมการณ์ทางการเมืองแตกต่างจากขั้วอำนาจเดิม ข้อเรยกร้องทั้ง 7 ข้อ ของหะยีสุหลงถูกเพ็งเล็งว่าเป้ฯกบฎกระด้างกระเดืองต่อความมั่นคงของราชอาณาจักร จนในที่สุดถูกจำคุกในข้อหาปลุกระดมและก่อการกบฎเพื่อแบ่งแยกดินแดน ซึ่งหะยีสุหลงถูกจัดสินใหจำคุกเป็น สีปี แปดเดือน โทษฐานกล่วร้ายรัฐบาลในเอกสารที่แจกจ่ายยังประชาชนในท้องถ่ิน ส่วนโทษฐานแบ่งแยกดินแดน ศาลพิจารณาให้ยก
              เมื่อพ้นโทษออกมา หะยีสุหลงก็ยังถุกคุกคามจากอำนาจรัฐ จนกระทั่งในเช้าตรู่ของวันสุกร์ที่ 13 สิงหาคม พงศ. 2498 หลังจากเสร็จจากละหมาด ในตอนเช้า หะยีสุหลงพร้อมกับ อาหมัด โต๊มีนา บุตรชายคนโตวัน 15 ปีำหน้าที่เป็นล่ามภาษาไทยเนื่องจากหะยีสุหลงไม่สามาถพูดภาษาไทยได้ ได้เดินทางออกจากบานพักส่วนตัวที่จังหวัดปัตตานี ไปยังกองบัญชาการตำรวจสันติบาลที่จังหวัดสงขลา พร้อมก้วยพรรคพวกอีก 2 คนรวมเป็น 4 คน ก่อนที่ทั้งหมดจะหายสอบสูญไปอย่างไร้ร่องรอย นำมาซึงความเชื่อว่าทั้งหมดถูกฆาตกรรมทางการเมืองด้วยผีมือของตำรวจ ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ภายใต้การบัญชาการของ พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจและรัฐมนตรีว่ากรกระทรวงมหาดไทย ผุ้ซึ่งเป็นเสือมือขวาสำคัญของจอมพล ป. นายกรัฐมมนตี ซี่งเรื่องราวการหายตัวไปของหะยีสุหลงเป็ยข่าวอย่างครึกโครม โดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ไปจนถึงมาเลเซีย และสิงคโปร์
             ทางครอบครัวภราดรและนายเด่นโตด้เดิทนทงเข้าสู่พระนครเพื่อติดตามเรื่องราว ก็ไม่ได้ความคืบหน้าใดๆ แต่ก็ได้รับทราบเพียงว่าเป็นการฆาตกรรมทงการเมืองโดยบุคคลของภาครัฐเองจากปกาคำของ ท่านผุ้หญิ่งละเดเอียด พิบูลสงคราม ภริยาจอมพล ป. จนกระทั่วมีการัฐประหาร ในปี พ.ศ. 2500 รัฐบาลเปลี่ยนขั้ยอีกครั้ง จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ได้มีการื้อฟื้คดีนี้ขึ้นอีกครั้ง ในที่สุดนายตำรวจผุ้ลทมือในการฆาตกรรมครั้งนั้นก็รับสารภาพว่าได้สังหารบุคคลทั่ง 4 ในบังกะโลริมทะเลสาบสงขลาจากคำสั่งโดยตรงทางโทรศัพท์ของรัฐบาลในขณะนัน ผ่านทางผุ้บังคับการตำรวจ จ.สงขลา ด้วยการใช้เชือกรัดคอและคว้านท้องศพทั้งหมดและอำพรงด้วยการนำศพไปผูกไว้กับแท่งซีเมนต์ในทะเลสาบสงขลา ใกล้กับเกาะหนู เกาะแมว ซึ่งต่อมาได้มีการงมหาศพแต่ด้วยระยะเวลจึงไม่พบศฑหรือเศษซากใดๆ..."th.wikipedia.org/wiki/หะยีสุหลง
         
 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)
           ในยุคพ. ต.ต. ทวีพิชิตเป็นเลขาธิการหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ระหว่างปี 2554-2557 ได้มีการเปิดพื้นที่ทางภาษาและวัฒนธรรมมลายูอย่างมีนัยยะสำคัญ จัดตั้งช่องทีวีภาษามลายู 24 ชม. วิทยุภาษามลายู 24 ชม. โดย สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดยะลา การจัดตั้งสถบันภาษามลายูแห่งประเทศไทย เพ่อพัฒนาและส่งเสริมการใช้ภาษามลายูในประเทศไทย และริเริ่มการใสภาษามลายู ตัวยาวี ในป้ายสถานที่ราชการอย่างไรก็ตาม ช่องทีวีภาษามลายู 24 ชม. ก็ถูกล้มเลิกไปหลังรัฐประหาร และเมื่อคณะรัฐประหารย้าย พ.ต.อ. ทวี ไปประจำสำนักนายกรัฐมนตรีก็ไม่ได้มีความคืบหน้อันใดอีก
          ในภาษาไทย (ไทย - มลายูถิ่น)2555 ซึ่งพัฒนาโดยสถาบัวิจัยภาษาและวัมนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล มุ่งป้าไปที่เด็กอนุบาล 1-ประถม 6 ที่พูดภาษามลายูเป็นภาษาแม่หัวใจหลักคือกาเรียนโดยใช้ภาษามลายูถ่ินเชื่อมโยงไปยังภาษาไทย ผ่านเครื่องมือที่สำคัญที่สุดคือ ระบบการเขียนภาษามลายูโดยอักษรไทย ในชั้นอนุบลาลเด็กจะเรียนรุ้การเขียนและสะกดภาษามลายูโดยใบ้สระและพยัญชนะไทย ซึ่งมีกาเพิ่มเสียงเข้าไปอีกแปดเสียง... เมื่อเด็กเข้าใจการเขียนและสะกดอักษรไทยแล้ว จึงเร่ิมเรียนภาษาไทย และเรียนวิชาอื่นๆ เป็นภาษาไทยตาลำดับ โครงการดังกล่วอ้างว่า วิธีการเรียแบบนี้ทำให้เด็กมลายูมีความสุขในการเรียน และมีผลการเรียนดีขึ้น
          สุวิไล เปรมศรีรัตน์ นักวิจัยมีที่มาจากข้อเสนอแนะของคณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ ซึ่งได้เสนอต่อรัฐบาลให้จัดการศึกษาที่เหมาะสมกับฐานทางภาษาและวัฒนธรรมท้องถ่ิน โครกงรดังกล่าวจะ "ช่วยรักษาอัตลักาณ์ความเป็นคนไทยเชื้อสายมลายูไว้ได้ในกระแสแก่งการเปลี่ยนแปลงในสังคมปัจจุบัน ตามความปารถนาของเจ้าของภาษาแล้ว ยังช่วยให้เด็กได้เรียนออย่างมีความสุข"
           ทำให้เด็กเรียนภาษาอังกฤษได้ดีขึ้น แต่ก็มีผุ้มองว่าคือความพยายามที่ให้คนมลายูลิทิ้งอักษรยาวี
           ฮาราบอกว่าเขาไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับภาษาอังกฤษอความตั้งใจทำลายอักษรยาวี และการกลืนให้เป็นไทย ไม่เป็นไปตามความต้องการของประชาชน ส่วนสภาบันภาษามลายูประจำประเทศไทยก็ไม่ได้มีผลงานอะไรเป็นที่ประจักษ์ในการส่งเสริมภาษา "เป็นการเอาผุ้เชียวชาญภาาามลายูไอยู่ในสังกัดศอ.บต.เอาไว้โชว์เพื่อนบ้านและแขกต่างชาติ เป็นแค่ปลือก แต่ไม่เคยมีการแตะทีแก่นของปัญหาเกี่ยวกับภาษาเลย"
            ฮาราคิดว่าโครงการสร้างความไม่พอใจให้ประชาในพื้นที่อย่างยิ่ง เพราะประชาชมองว่าเป็นการดูถูกภาษาท้องถ่ินซึงมีการใช้ในพื้นที่มากว่าหนึ่งศตวรรษแล้ว "ผมคิดว่ ดครงการนี้เป้นผลเสียต่อการสร้างสันตภาพ" ฮารากล่าว และว่า "นี่คืออีกรูปแบบหนึ่งของเมืองขึ้นทางวัฒนธรรม ไม่เคยมีการแก้ปัญหา แต่เป็นการสร้างปัญหาใหม่" เขาเสริมว่า แม้ช่วงที่ ทวี สอดส่อง เป็นเลขาฯ สอ.บต. มีความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเกี่ยวกับภาษามลายูหลายอย่าง แต่ก็ค่อนข้างฉาบฉวย ไม่จริงใจ เช่น การก่อตั้งสถาบันภาษามลายูแห่งแระเทศไทย ซึ่งมีผู้เรียบว่ามีสถานะเทียบได้กับสถาบันภาษาและวรรณกรรมแห่งชาติมาเลเซีย แต่สถาบันดังกล่าวก็ไม่ได้มีสถนะทางกฎหมายรองรับเหมือนที่มาเลเซียน ส่วนปายราชการต่างๆ ก็มีเพียงแค่ด้านนอกอาคารเป็นส่วนใหญ่แทบไม่มีด้านในอาคารเลย
          เสนอว่ารัฐไทยควรทำให้ภาษามลายูมีสถานะทางกฎหมายรองรับ เช่น การันตีในรัฐธรรมนูญในฐานะภาษาของชนกลุ่มน้อย หรือการให้สถาบันเพื่อการพัฒนาภาษามลายูที่สถานะทางกฎหมายรองรับ และการมีแผนการเรียนและพัฒนาภาษามลายูที่รัฐสนับสนุน เขากล่าวว่า นี่เป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้ภาษามลายูในมาเลเซียและอินโดนีเซียกลับมามีสถานที่เข้มแข็งหลังได้รับเอกราช
           มารา ปาตานี เสนอหยุดกลุ่มชาติทางภาษา อาบูฮาฟิซ อัลฮากีม แกนนำมารา ปาตานีบอกกับประชไทยว่า ประเด็นภาษามลายูนั้นเป็นประเด็นหลักประเ้ด็นหนึ่งที่มาราปาตานีจะหยิบยกขึ้นมาพุดคุยระหว่างการพูดคุยสันติภาพกับรัฐบาลไทย เมื่อการพุดคุยยกระดับสู่การพูดคุยอย่างเป็นทางการเขาเห็นว่า สาเหตุหลักของความเสื่อมถอยของภาษามลายูในปาตานีคือนโยบายกลืนชาติของรัฐไทย ซึ่งขัดขวางการเรียนการสอน และการใช้ภาษามลายูในระดับทางการ สื่อสารมวลชนก็มีส่วนรองลงมา "หลัง
จากที่สยามได้ใช้นโยบายกลืนชาติ "รัฐไทยนิยม" ภาษามลายูได้ถูกทำให้เสือมถอยลงและลดความสำคัญอย่างเป็นระบบ" อาบูฮาฟิซกล่าว และว่า ปัญหานี้สามารถแก้ไขได้ไม่ยาก เพียงเปลี่ยนนโยบายรัฐเป็นไปในทางตรงกันข้าม เขายังได้พูดถึงฮัจญีสุหลงว่า ได้มอกการณ์ไกลเห็นถึงปัญหานี้ "เมื่อฮัจญีสุหลงเสนอข้อเรียกร้องเมื่อ 60 ปีก่อน ซึ่งรวมถึงข้อเสนอด้านภาษามลายู ท่านคงได้คาดการณ์ไว้แล้วว่า ถ้าปัญหาไม่ได้ถูกแก้ไข ชะตากรรมของภาษามลายูจะหมดหวัง เราได้เห็นแล้วว่า มันเป็นจริงในปัจจุบัน"
           เมื่อถามถึงความพยายามของรัฐไทยในการส่งเสริมภาษามลายูในช่วงสิบปีที่ผ่านมา อาบูฮาฟิซเห็นว่า เป็นที่น่าชื่นชมกับความพยายาม แต่ความพยายามดังกล่วไม่ได้เป็นเพราะรัฐไทยเห็นถึงความต้องการของคนปาตานีแต่เพื่อตอบสนองต่อเหตุผลด้านเศราฐกิจและการเมืองต่อภูมิภาคอาเซียน
          เมื่อถามว่ ในฐานะขบวนการเพื่อเอกราช เขามาองอนาคตของภาษาในปาตานีอย่างไร หากปาตานีได้เอกราชหรือได้สิทธิในการปกครองตัวเอง เขากล่าวว่า มองเห็นคนปาตานีพุดได้ถึงสี่ภาษา คือ ภาษามลายู ในฐานะภาษาของคนส่วนใหย่ในปาตานี, ภาษาอาหรับ เพราะเป็นหน้าที่ของชาวมุสลิมที่ต้องรู้ภาษาอาหรัีบ, ภาษาไทย ในฐานภาษาของชนกลุ่มน้อยในปาตานี, ภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นภาษาสากล แต่ถ้าสกหรับคนไทยพุทธ คงไม่จำเป็นต้องรู้ภาษาอาหรับ
          อาบูฮาฟิซกล่าวว่า เขามองว่า เด็กมาลยูจะเรียนรู้ทั้งอักษรรูมีและยาวี เพราะทั้งสองอย่างมีประโยชน์และมีความสำคัญ และจากประสบการณ์ส่วนตัวของเขา ความรู้ด้านอักษรยาวีทำให้เรียนภาษาอาหรับได้เร็ว และความรู้ด้านอักษรรูมทำให้เรียนภาษาอังกฤษได้เร็วเช่นกัน
          เมื่อถามว่า ในฐานะสมาชิกขบวนการคนหนึ่ง หากปาตานีได้รับเอกรชหรือได้สิทธิปกครองตนเอง เขามีจินตนาการถึงภาาาทางการเและภาษาทำงานที่ใช้ในปาตานีเป็นเช่นไร อาบูฮาฟิซตอบว่า "ถ้าปาตานีได้สิทธิปกครองตนเอง ถ้าไม่ได้เอกราช ก็ไทยและมลายู แต่ถ้าได้เอกราชก็มาลยูและอาหรับ แต่ทั้งอสงกรณี ภาษาอังกฤษจะเป็นภาษาสากล" http://prachatai.org/journal/2016/06/66072
         

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...