วันอังคารที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2560

"The Race between Education and Technology"...

              ในหนังสือที่โด่งดังชือ The Race between Education and Technology ผุ้เขียนคือ Claudia Goldin และ Lawrence Katz กล่าวว่า ศตวรรษที่ 20 ที่ผ่านพ้นไปแล้วอาจเรียกได้ว่าเป็น "ศตวรรษแห่งทรัพยากรมนุษย์" ในช่วงต้นศตวรรษนั้น การศึกษาในประเทศต่างๆ เป็นเรื่องสำหรับคนชั้นสูงที่มีฐานะเศรษฐกิจพอที่จะไปศึกษาในโรงเรียน แต่นับจากช่วงปลายๆ ศตวรรษท20 แม้แต่ประเทศที่ยากจนที่สุด รัฐก็ยังให้บริการด้านการศึกษาพื้นฐานแก่ประชาชนทัี่วไป ในบางประเทศที่ยากจีน รัฐบังให้บริการด้านการศึกษาแก่ประชาชนที่สูงกว่าระดับประถมศึกษา
              การที่ประเทศต่างๆ ล้วนมีนดยบายจัดให้มีการศึกษาอย่างแพร่หลายแก่ประชาชนทั่วไป เพราะในปัจจุบัน การเติบโตทางเศราฐกิจจำเป็นต้องอาศัยประชากรที่มีการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นผุ้ใช้แรงงาน ผุ้ประถกอบการ ผู้จัดการธุรกิจ หรือพลเมือง แรงงานที่มีการศึกษาสูงขึ้นทำให้เกิดผลิตภาพแรงงานที่สูงตามไปด้วย การเปลี่ยนแปลงทางเทคโยดลยีที่รวดเร็วมากในปัจจุบันก็ย่ิงต้องการแรงงานที่มีการศึกษามากขึ้นในทุกๆ ระดับ ประเทศที่ต้องการมีรายได้สูง และประชากรมี
านทำเกือบทั้งหมดทุกคน จะต้องมีระบบการศึกษาที่สร้างทักษระแก่ประชากรทุกคน ไม่ใช้เฉพาะบางคน
             ปัจจุบันนี้ ประเทศต่างๆ ล้วนตระกนักเป็นอย่งดีว่า ทุนมนุษยืที่มีอยุ่ในประชากรแต่ละคน คือปัจจัยพืท้นฐ,านที่สำคัญของการสร้างความมั่งคั่งทางเสณาฐกิจของประเทศ ปัจจับสร้างความมั่งคั่งอื่นๆ เช่น วัตถุดิบ เทคดนโลยี หรือเงินทุน สามารถหาได้ในตลาดดลก แต่ประเสิทะิภาพของแระงงานจนั้นแต่บะประเทศต้องกสร้างขึ้นมาเอง แรงงานที่มีการศึกษาสูงขั้นจะเป้นแรงงานที่มีประสทิะิภาพมากขึ้นเป้ฯแรงงานที่สามารถเรียนรุ้เทคโนโลยีการผลิตใหม่ๆ และสำหรับคนบางคนแล้ว การศึกษาที่มากขึ้นยงทำให้สมารถสร้างเทคโนโลยีใหม่ ๆ ขึ้นมาอีกด้วย
            โลกในปัจจุบันที่ประเทศต่างๆ เชื่อมโยงทางเสรษบกิจระหว่างกันมากขึ้น เพราะการค้าเสรี รวมทั้งงินทุนและความคิดเคลื่อนย้ายอย่างอิสระ การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน กลายเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ประเทศต่างๆ สามารถรักษาการเติบดตทางเศรษฐกิจได้อย่างต่อเนื่อง แต่การสร้างความได้เปรียบทางเศรษฐกิจนั้นมีอยู่ 2 แนวทาง แนวทางหนึ่งคือการทำให้สินค้าของตัวเองมีราคาถูกในตลาดดลก ประเทศที่ใช้แนวทางนี้มักใช้วิะีการลดค่าเงินให้ถุกลง
            อีกแนวทางหนึ่งคือ การสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จาสกการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ โดยอาเศัยแรงงานที่มีทักษณะสูงแนวทางนี้จะทำให้ประทเศนั้นสามารถรักษาฐานะการเป็นประเทศรายได้สุงแบะมีการจ้างงานเต็มที่ ประเทศที่มีแนวทางนี้จะมีนโยบายว่า การที่คนในประเทศจะมีรายได้สูง คุณภาพทรัพยากรมนุษย์จะต้องมีคุณภาพ รัฐสนับสนุนนายจ้างให้ใช้แรงงานทมีคุณภาพในอุตสาหกรรมการผลิต ประเทศรายได้สุงอย่าง เยอรมัน สิงคโปร์ สวีเด และญี่ปุ่น ล้วนมีนโยบายแบบบูรณาการ ที่รวมการพัฒนาเศราบกิจ ตลาดแรงงาน และการศึกษามาเป็นนโยบายเดียวกัน
           เยอรมันกับแรงงานคุณภาพ เมื่อ 70 ปีที่แล้ว เยอรมันเป้นประเทศพ่ายแพ้สงครา ประเทศถูกทำลายราบคาบเกินกว่าที่คนในปัจจุบันจะจินตนาการออกว่าเสียหายมากมายขนาดไหน บ้านเรือน 10 ล้านหลังถูกทำลาย เมืองสำคัญๆ ถูกทำลายจนหมด 90% ของโรงงานอุตสาหกรรมทางใต้ของเยอรมันเลิกกิจการ ผลผลิตทางอุตสาหกรรมมีเพียง 5 % ของกำลังการผลิตเดิม
            ทุกวันนี้ เยอรมันเป้นประเทศที่มีเศณาฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโฃลก และใหญ่ที่สุดของยุโรป รายได้ต่อหัวของประชาชนอยู่ที่ 48,200 ดอลลาร์ (2016) ยอดส่งออกปีหนึ่งมีมุลค่า 1.2 ล้านล้านดอลลาร์ หรือเทียบเท่ากับมุลค่าเศราบกิจของรัีสเซียทั้งประเทศ ค่าแรงขั้นต่ำตามกฎหมายอยุ่ที่ช่ั่วโมงละ 8.84 ยูโร กล่าวกันว่าหากรวมค่าสวัสดิการต่างๆ ค่าแรงคนงานเยอรมัีน 1 คน จ้างคนงานเวียดนามได้ 49 คน
             ความเสียหายจากสงครามทำให้ภาคส่วนต่างของสังคมเยอรมันผนึกกำลังกันเพื่อกอบกุ้เศราฐกิจประเทศ ที่ต่อมากลายเป็นพันธะข้อผูกพันที่เรียกกันว่า "หุ้นส่วนทางสังคมไ ซึ่งประกอบด้วย นายจ้าง แรงงาน และรัฐบาล หุ้นส่่วนไตรภาคีนี้จะดำเนินการร่วมกันในการกำหนดนโยบายเสราฐกิจสำคัญๆ เช่น การกำหนดค่าจ้างที่สูงขึ้นเป็นระยะๆ ทำให้อุตสาหกรรมเยอรมันต้องมุ่งสู่การแข่งขันทีุ่ณภาพของผลิตตภัฒฑ์ไม่ใช่ที่ราคา นดยบายความมั่นคงในการจ้างงาน ทำให้นายจ้างต้องลงทุนในการฝึกฝนแรงงานตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เพราะนายจ้างรุ้ดีว่า แรงงานที่ทำงานกับองค์กรเป็นเวลายาวนาน ทำให้นายจ้างสามารถได้ผลตอบแทนกลับคือนมาจากการลงทุนด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน
           แต่สิ่งที่เป็นจุดเด่นด้านการศึกษาเยอรมันคือ ระบบการพัฒนาทักษะฝีมือนนักเรียน ที่ใช้ังคับกับนักเรียนทั้งหมด ยกเว้นนักเรียนที่จะศึกษาต่อระดับมหาวิทยาลัย ใน ปี 1869  เยอรมัีนมีแนวทางปฏิบัติให้นายจ้างส่งพนักงานให้ไปศึกษาต่อ เพื่อเรียนรุ้เพ่ิมเติมและฝึกงานมากขึ้น สิ่งนี้เป็นจุดเริ่มต้นของระบบการศึกษาแบบคุ่ขนารน ที่ประกอบด้วยการเรียนกับการฝึกงาน ดดยรับบาลกับนายจ้างรับผิดชอบร่วมกนการดำเนินงาน
            ในปี 1938 เยอรมันมีกฎหมายฉบัยแรกเรื่อง ระบบการฝึกงานด้านอาชีวศึกษา ดดยกำหนดให้การศึกษาด้านอาชีวะต้องมีการฝึกงาน กฎหมายนี้ทำให้การศึกษาแบบคุ่ขนานเป้นแบบภาคบังคับที่ใช้กับนักเรียนสายอาชีวะทั้งหมด ในปี 1969 เยอรมันมีกฎหมายขือ การฝึกงานด้านอาชีวะ กำหนดให้นักเรียนที่จบชั้นมัะยมและไม่ศึกษาต่อระดับมหาวิทยาลัยจะต้องเป็นนักเรียนฝึกงานในหลักสูตรวิชาชีพใดวิชาชีพหนึ่ง ที่มีทั้งหมด 480 หลักสูตร
           
นักศึกษาสายอาชีวะจะต้องสมัครดดยตรงกับบริษัทที่ต้องการจะฝึกงาน บริษัทต่างๆ จะรับนักศึกษาฝึกงาน ดดยดุจากผลการเรียนและจดหมายแนะนำจากอาจารย์ที่สอน สัญญาการฝึกงานมีระยะเวลา -3 ปี ช่วงการฝึกงาน ในสัปดาห์หนึ่ง นักศึกษาใช้เวลาเรนยน 1 วันที่สถาบันการศึกษา และอีก 4 วันที่ดรงงานของนายจ้าง ช่วงฝึกงาน นักศึกษาจะได้รับ "ค่าแรงฝึกงาน" หลังจากการฝึกงานสิ้นสุดลงจะมีการสอบข้อเขียนและประเมินผลงานการฝึกงาน นักศึกาาที่สอบผ่านจะได้รับใบรับรองการฝคกงานที่ทุกบริษัทในเยอรัมนในการยอมรับการศึกาาแบบฝึกงานของเยอรมัน เป็นระบบการดำเนินงานร่วมกันระหว่างหุ้นส่วนทางสังคม กฎหมายปี 1969 กำหนดหลักการต่างๆ เรื่องกาฝึกงาน หลักสูตรการฝึกงานกำหนดดดยรัฐบาลกลาง มาตรฐานการฝึกงานกำหนดโดยนายจ้าง สหภาพแรงงานเจ้าหน้าที่รัฐ และผุ้เชี่ยวชาญการฝึกอบรม การฝึกงานของนักศึกษาตามท้องถ่ินต่างๆ จะดำเนินการโดยสภาหอการต้าและอุตสาหกรรม เพราะบริษัทต่างๆ ล้วนเป้ฯสมาชิกของสภาอุตสาหกรรม
            เพราะฉะนั้น การศึกษาแบบฝึกงานของเยอรมัน จึงเป้ฯระบบที่เป้นดำเนินงานของประเทศทั้งหมด การฝึกงานจะครอบคลุมทุกสาขาอาชีพเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและบิรการ ทำให้เยอรมันมีแรงงานที่มีทัีกษระมากที่สุดในดลก การว่างงงานของเยาวชนต่ำและคนที่เข้าสุ่ตลาดแรงงานครั้งแรกทมีความเชื่อมัี่นในความสามารถของตัวเอง การเตรียมการอย่งดีเลิศของเยอมันเพื่อผลิตแรรงงานที่มีคุณภาพดังกล่าวจึงเป็นกุญแจสำคัญต่อความสำเร็จทงเศราฐกิจ
          ญี่ปุ่นกับการสร้างแรงงานฝีมือ
           ญี่ปุ่นก้มีาสภาพเดียกับเยอรมนี ในช่วงสงครามดลกครั้งที่ 2 เสณาฐกิจญี่ปุ่นถูกทำลาย แต่หลังสงคราม ปัจจัยที่สร้างความมหัศจรรย์ทางเสณาฐกิจของญี่ปุ่น ก้เป็นปัจจัยเดียวกันทีสร้างความสำเร็จให้กับเยอมนี การฟื้นฟูเศราฐกิจไม่ได้มราจากการสร้างดรงงานอุตสาหรรมขึ้นมาใหม่เท่านั้น แต่ญี่ปุ่นยังสร้างสถาบันสังคมที่จะมาขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้มุ่งสู่การผลิตสินค้ามีคุณภาพและมุลค่าูง สถาบันสังคมดังกล่าวมีความหมายแบบเดียวกับที่เยอมนีเรียกว่า "หุ้งส่วนทางสังคมไ
          เดิมนั้น นักธุรกิจนายทุนของญี่ปุ่นก็มุ่งแสวงหากำไรสูงสุดแบบเดียวกับนายทุนที่มุ่งกำไรสูงสุดในสหัฐฯ หลังสงคราม ระบบความร่วมมือระหว่างฝ่ายบริหารับแรงงานของญี่ป่นุ ไม่ไ้เกิดขั้นทันที่ทันใด แต่การแพ้สงครามทำให้ประเทศเกิดวิกฤติ ภาคธุรกิจจึงตระหนักว่า จะต้องรวมกับภาคส่วนเศราฐกิจอื่นๆ เพื่อสร้างชาติขึ้นมา และยอมรับว่าเป้าหมายของภาคธุรกิจเอกชนจะต้องเป็นส่วนหนึ่งของผลประโยชน์ประเทศที่ใหญ่กว่า จึงเป็นที่มาของความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ-ภาคเอกชน-แรงงาน
           ความร่วมมือและฉันทานุมัติระหว่งหุ้นส่วนทางสังคมดังกล่าว ทำให้ญี่ปุ่นมีเป้าหมายการแข่งขันทางธุรกิจที่ไม่ได้อยุ่ที่ค่าแรงถูกญี่ปุ่่นไม่มีระบบการกำหนดค่าแรงระดับชาติแบบเดียวกับเยอรมนี แต่ญี่ปุ่่นมีเป้าหมายต้องการให้ค่าแรงในประทเศสูงขึ้น ทำให้ธุรกิจอุตสาหกรรมต้องหันไปใช้กลยุทธ์การผลิตสินค้าคุณภาพสูง และหาทางให้ธุรกิจสามารถมีผลกำหรจากสภาพที่ต่าแรงในประเทศสูง
          หน่วยงานรัฐของฐี่ปุ่น คือ กระทรวงการต้าและอุสาหกรรมระหว่างประเทศ หรือ MITI จะเป็นผุ้กำหนดวิสัยทัศน์ของอนาคตญี่ป่นุ โดยผ่านการปรึกษาหารือกับภาคธุรกิจและแรงงาน MITI ตั้งขึ้นใาเมือปี 1927 แต่ภายหลังจากสงครามเข้ามามีบทบาทโดดเด่นในการกำหนดนโยบายอุตสาหกรรมของญีปุ่่น เยอรมนนั้นแตกต่างจากญี่ปุ่่น คือ รัฐไม่มีแนวทางการพัฒนาเศราฐกิจแบบเป็นทางการแต่กระบวนการทางการเมืองแผนกลยุทธ์ธุรกิจของรัฐท้องถ่ินต่างๆ และความรวมมือของหุ้นสวนทางสังคมทำให้เยอรมนีมีเป้าหมายการพัฒนาเศราฐกิจ แบบเดียวกับญี่ปุ่น
          ญี่ปุ่นและเยอรมนรีมีวิธีที่แตกต่างกันในการสร้างแรงงานที่มีคุณภาพ แต่ทั้งสองประเทศก็สามารถบรรลุเป้หมายนี้เหมือนกันความแตกต่างอยู่ที่ความสัมพันะ์ระหว่างแรงงานกับอุตสาหกรรมที่จ้างงาน เยอรมนีมีธรรมเนียมมาตั้งแต่โบราณในเรื่องระบบการฝึกงาน หากถามว่าทำงานอะไร คนเยอรมันจะตอบว่าเป้นช่างเทคนิค เพราะเคยฝึกงานสาขานี้มาก่อน แต่คนญี่ป่นุจะตอบว่าทำงานกับมิตซูบิชิหรือโตโยต้า บริษัทเยอรมันคาดหมาย่ว่าแรงงานใหม่ๆ จะมีทักษะในงานที่จ้างและมอบหมายให้ทำส่วนนายจ้างญี่ปุ่่นคาดหมายว่า ลูกจ้างใหม่จะสามารถเรียนรู้และทำงานใหม่ได้ดี รวมทั้งเมื่อย้ายไปทำงาฝ่ายอื่นๆ ของบริษัท
        ญี่ปุ่นไม่มีระบบการศึกษาแบบอาชีวะที่โดดเด่นแบบเยอรมนี บริษัทต่างๆ รับคนงานให่จากนักเรียนที่จบมัธยมศึกษาตอนปลายโดยดูจากคุณสมบัติที่เป็นความสามารถทั่วไป การที่ธุรกิจรับพนักงานจากคุณสมบัติทั่วไปดังกล่าว ทำให้ญี่ปุ่นต้องวางหลักสูตรการศึกษาระดับโรงเรียนให้มีมาตรฐานสูงมาก ส่วนริษัทใหญ่ๆ จะมีหลักสูตรการฝึกฝนอบรมแก่พนักงานใหม่ใด้านจ่างๆ เช่น โตโยต้าจะให้พนักงานใหม่เข้ารับการอบรมเป็นเวลา 2 ปี ในเรื่องอิจิตอล อิเล็กทรอนิกส์ กอนที่จะเข้าไปทำงนในโรงงานเป็นต้น
          ระบบการจ้างงานจนเกษีณของริษัทยักษ์ใหญ่ และวิธีทำงานที่ให้พนักงานย้ายไปทำงานฝ่ายต่างๆ ของบริษัท ทำให้นายจ้างเต็มใจที่จะลงทุนเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงาน เพราะเห็นว่าเป็ฯการลงทุนที่สามารถคืนผลตอบแทนกลับมาได้ คนงานญี่ปุ่นเองก็มีทัศนคติที่กระตือรอือร้นต่อการเข้ารับการอบรมอย่างต่อเนื่อง เพราะเห็นว่าการร่วมงานกับบริษัทขนาดใหญ่ เหมือนกับตัวเองเป็นสมาชิกคนหนึ่งของครอบครัว กาทำงานในองค์การเหมือนกับตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของการทำงานเป็นทีม ทักษระความสามารถของกลุ่มคณะทำงาน จึงเป็นรากบานที่สร้างควาสำเร็จของบริษัทญี่ป่่น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการควบคุมคุณภาพหรือการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัฒฑ์อย่างต่อเนื่อง
         กล่าวโดยสรุป ความสำเร็จของญี่ปุ่นเกิดจากปัจจัยหลายอย่าง เช่น ห้น่วนทางสังคมเห็นพื้องที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมจากการแข่งขันด้านคุณภาพ ระบบการจ้างงานจนเกษียณ ผลประโยชนืของคนงานเป้นอันหนึ่งอันเดียวกัผลประโยชน์องค์กร ระบบการศึกาาที่มีคุณภาพสูง การลงทุนอย่างต่อเนื่องของธุรกิจเพื่อพัฒนาทักษะคนงาน และความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายแรงงานกับฝ่ายบริหารที่อาศัยการปรึกาาหารือ เป็นต้น ปัจจัยเหล่านี้ล้วนสะท้อนอยู่ในเนื้อหาและการทำหน้าที่ของคนี่ปุ่นในองค์กรต่างๆ
          ระบบการศึกษาจะสะท้อนรูปแบบระบบเศรษฐกิจแบบกลไกตลาดของแต่ละประเทศ สหรัฐเมริกาที่มีเศราฐกิจกลไกตลาดเสรีการศึกษาจะเป็นระบบการเรียนรู้เพื่อสร้างความสาารถเฉพาะตัวของนักเรียน ส่วนเยอรมนีและญี่ปุ่นที่มีเศรษฐกิจกลไกตลาดเพื่อสังคม การศึกาาจะมุ่งสร้างทักษะวิชาชีพแก่นักเรียนทุกคน เพื่อให้คุณภาพของประชากรเป็นองค์ประกอบสำคัญของการสร้างความมั่งคั่งทางเศรา,กจิอของประเทศ...thaipublica.org/2017/07/pridi56/
           

วันจันทร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Education

            การเปิดเสรีด้านการศึกษาในระดับภูมิภาคอาเซียน การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเพื่อก้าวสู่ประชาคมเศรษบกิจอาเซียนในปี 2558 นับเป็นเรื่องสำคัญและเร่งด่วนของประเทศนวันนี้ ในช่วง
หนึ่งปีที่ผ่านมาผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าร่วมโครงการวิจัยเรื่องการพัฒนาบุคลากรและผลิตภาพบุคลากรเพื่อรองรับการเปิดเสรีอาเซียน ซึ่ง รศ.ดร. พัชราวลัย วงศ์บุญสิน อาจารย์ประจำวิทยาลัยประชากรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นหัวหน้าโครงการ และคณะผุ้วิจัยประกอบด้วยอาจารย์หลายท่่านจากวิทยลัยประชกรศาสตร์คณะเศรษฐศาสตร์ และคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาบัย โดยในส่วนของผุ้เขียนได้เน้นศึกษาการเปิดเสรีการศึกษาระดับอุดมศึกษา ร่วมกับ อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
             สำหรับโครงการวิจัยนี้ มีที่มาจากแนวคิดว่าการเปิดเสรีด้านการศึกษาจะส่งผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายองค์ความรู้ภาษา และวัฒนธรรม และจะมีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ดังนั้นภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาจึงจำเป้นต้องปรับตัวเพื่อเตียมความพร้อมสำหรับสถานการณ์ที่กำลังเปลี่ยนแปลงหลายท่านคงทราบว่า บริการด้านการศึกษานับเป็นสาขาหนึ่งของการค้าบริการในบริบทของการต้าระหว่างประเทศ ซึ่งการเปิดสรีด้านการสึกษาของไทย จัได้ว่าอยู่ในบริบทแวดล้อม 2 ระดับ ได้แก่
            1. ระดับพหุภาคี โดยอยู่ภายใต้ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการต้าบริการ ขององค์การค้าโลกหรือที่เรารู้จักกันในนาม WTO
            2. ระดับภูมิภาคอาเวีน โดยอยู่ภายใต้ความตกลงการต้าบริการของอาเซียน โดยการเปิดเสรีการต้าบริการในระดับภมูิภาคอาเซียน อิงหลักการตามความตกลงทั่วไปว่าด้วยการต้าบริการขององค์การการต้าโลก แต่เน้นให้เป็นไปในลักษณะที่กว้างและลึกกว่าที่ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ผูกพันไว้ภายใต้ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการตาบริการขององค์การการต้าดลก ซึ่งการเปิดเสรีการต้าบริการของอาเวียน มีการจัดทำข้อผูกพันในด้านการเข้าสู่ตลาด และการปฏิบัติเยี่ยยงคนชาติ และมีรูปแบบการต้าบริการ 4 รูปแบบ ได้แก่
             รูปแบบที่ 1 ได้แก่การให้บริการข้ามพรมแดน ยกเตัวอย่งเช่น การที่ประเทศมาเลเซียสั่งซื้อโปรแกรมเพื่อการศึกษาจากประเทศสิงคโปร์
             รูปแบบที่ 2 ได้แก่ การบริโภคบริการในต่างประเทศ เช่น การที่นักศึกษาจากประเทศลาวเดินทางไปศึกษาต่อระดับปรญญาโทที่ประเทศอินโดนีเซีย
             รูปแบบที่ 3  ได้แก่ การจัดตั้งธุรกิจเพื่อให้บริการ เช่น การที่มหาวิทยาลัยจากประเทศไทยไปตั้งสาขาที่ประเทศพม่า
             รูปแบบที่ 4  ได้แก่ การเคลื่อยย้ายบุคลากร เช่น การที่ครูจากประเทศฟิลิปปินส์เดินทางไปสอนภาษาอังกฤษที่ประเทศเวียนดนาม
               ทั้งนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนมีลัษณะการเปิดเสรีด้านการศึกษาที่เป็นไปในรูปแบบเดียวกับหลุ่มประเทศสมาชิกองค์การการต้าโลก โดยมีการเปิดเสรีในระดับที่มากกว่าสำหรับรูปแบบการต้าบริการรูปแบบที่ 1 และ 2 เมื่อเทียบกับรูปแบบที่ 3 และ 4 โดยหลายประเทศมีข้อจำกัดสำหรับรูปแบบการต้าบริการรูปแบบที่ 3 และยังแทบจะไม่มีการเปิดเสรีในกรณีของรูปแบบที่ 4
               ประเทศไทยมีระดับการเปิดเสรีด้านการศึกาามากน้อยเพียงใดคำตอบคือค่อนข้างมาก ประเทศมีข้อผูกพันการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกาาในทุกระดับการศึกษา และในหลายประเภทของการศึกษาในแต่ละระดับโดยจัดว่ามีจำนวนของระดับและประเภทของการศึกษาที่มีข้อผูกพันการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกาามากกว่าประเทศส่วนใหญ่ในอาเวียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งระดับมัธยมศึกาาและระะับอุดมศึกาาประเทศไทยมีข้อผูกพันที่คีอบคลุมทุกประเภอของการศึกษาใน 2 ระดับนี้http://www.thai-aec.com/697
              เปิดเสรีการค้าบริการการศึกาาอาเซียนระเบิเวลาธุรกิจการศึกษาไทย
              ...ปัจจุบัน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ตระหนักถึงผลกระทบของการรวมตัวเป็นประชาคมอาเวียนต่ออุดมศึกษาไทย ซึ่งเป็นประเด็นที่กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบัยที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) ให้ความสำคัญในฐานะที่เป็นปัจจัยโดยตรงต่อการจัดการอุดมศึกษา จึงเป็นที่มาของยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ซึ่งจัดทำขึ้นจากผลการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ การระดมความเห็นจากกลุ่มเป้าหมายต่างๆ โดยยึดตามกรอบการพัฒนาของอาเซียน โดยเฉพาะการเป็นประชาคมอาเซียน ซึงประกอบด้วย
               การเพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิตให้มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล
               การพัฒนาความเข้มแข็งของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาประชาคมอาเซียน
               การส่งเสริมบทบาทของอุดมศึกาษไทยในประชาคมอาเซียน
               "ภาษา" อุปสรรคการแข่งขัน แม้รัฐบาลไทยจะมีนโยบายประกาศตัวเป็น "ศูนยกลางการศึกษาในภูมิภาค" หรือ "ฮับการศึกษา" ประกาศประลองความเป็น "ฮับ" กับมาเลเซีย แต่เมื่อต้องก้าวเข้าไปผูกพันในตลาดเสรีตามแยนการสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเวียนที่ทั่วทั้งภูมิภาคจะเป็นตลาดเดียวกัน มีแรงงานเคลื่อย้ายข้ามไปมากันได้ และการก่อตั้งธุรกิจในต่างประเทศ โดยมีการคุ้มครองจากหลักากรปฏิบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับการอนุเคราะห์ยิ่ง ทำหใ้ตลาดการศึกษาระหว่างสถาบันอุดมศึกษาภาคคเอกชนในภูมิภาคนี้น่าจะคึกคักและตื่อนเต้นไม่น้อย
             เมื่อเปรียบยเทียบสมรรถนะความสามารถในการแข่งขันเพื่อสะท้อนสถานภาพการศึกษาของประเทศไทยยังพบด้วยว่า ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษาไทยมีผุ้จบระดับอุดมศึกษาเพียง 18% อยู่ในอันดับที่ 43 และความามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของไทยยังด้อยคืออยู่ในอันดับที่ 51
            การถ่ายโอนความรุ้ระหว่างมหาวิทยาลัยกับภาคฑุรกิจ ได้อันดับที่ 32 และการจัดการศึกษาที่สนองความต้องการของภาคธุรกิจ ได้อันดับที่ 32 ด้วยเกตุนี้จึงต้องมีมาตรการที่ควรดำเนินการเพิ่มเติมแก้ไขปัญหา เตรยมความพร้อม เมื่อต้องเปิดเสรีภาคการต้าบริการด้านการศึกษา และการเป็นตลาดเดียวกันทั่วอาเซียนในอีก 5 ปี ข้างหน้าด้วยมาตรการ อาทิ ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยให้มีระบบวัดผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มีประสิทธภาพ
            การส่งเสริมการผลิดตและพัฒนาอาจารย์ด้านการสอนภาษาอังกฤษ ภาษาของประเทศสมาชิกอาเวียน การส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียน ความรุ้เกี่ยวกับอาเวียน การวิจัยด้านอาเวียน การส่งเสริมการแลกเปลี่ยนนักศึกษา สนับสนุนการถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างสถาบันอุดมศึกษาของไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างต่อเนื่องและเป้นระบบ...http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=21518&Key=hotnews
             

วันอาทิตย์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN :The Basic Education II

           เมียนมาร์ โรงเรียนมนประเทศเมียนมรร์ จะเปิดในเดือนมิถุนายนและปิดในเดือนมิถุนายมและปิดในเดือนมีนาคมในปีถัดไป เด็กๆ ที่มิีอายุ 5 ขวบ ต้องเข้าดรงเรยนประถม รับบาลเมีนยมาร์จะดูแลรับผิดชอบการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เร่ิมขึ้นจากช่วงการศึกษาระดับประถมในระยะเวลา 5 ปี และตามด้วยการศึกษาระดับมัธยมเป้นเวลา 4 ปี และอีก 2 แี สำหรับการศึกษาระดับประถมศึกษาตอนปลาย โดยรวมแล้วรัฐบาลเมียนมาร์จัดให้มีการศึกษาทั่วไปๆ ไปเป็นเวลา 11 ปี นโยบายการศึกษา
           การศึกษาของประเทศเมียนมาร์นั้นได้มุ่งเน้นไปที่การพัฒนาการของเด็กทั้ง 2 ด้าน คือทั้งทางด้านจิตใจ และทางกายควบคู่กับไปและเน้นเรื่องการใช้ชีวิต และพฤติกรรมที่พึงมีต่อสังคม
            วิสัยทัศน์ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวว่า "การศึกษาเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์และเป็นส่วนประกอบนสำคัญ ในคุณภาพชีวิต เป็นเครื่องค้ำประกันคุณค่าทางสังคมและศีลธรรมเป็นเครื่องมือสำหรับผลิตผลทางเศราฐกิจวัตถุประสงค์ด้านสังคมสำหรับการศึกษาในประเทศเมียนมารร์นั้นมีความมุ่งหมายสูง รวมถึงการพัฒนานักเรียนเพื่อการแก้ปัญหา และมีความคิดสร้างสรรค์ นำไปสู่การพัฒนาสถาบันและสังคม ส่งเสริมความเป็นเอกภาพของชาติและขจัดความแบ่งแยก เรียนรุ้ที่จะทำงานร่วมกับผุ้อื่น และพัฒนาความมั่นใจในตนเองจุดมุ่งหมายดังกล่าวของนโยบายการศึกษาของรับบาล ก็เพื่อจะสร้างระบบการศึกษาซึ่งก่อให้เกิดสังคมของการเรียนรุ้ที่สมารถเผชิญหน้ากับคท้าทายในยุคแห่งการเรียนรู้
           นอกจากนั้น กระทรวงการต่างประเทศของเมียนมาร์ที่ได้กล่าวถึงการศึกษาของเมียนมาร์ ดังนี้
            "เด็กในวัยเรียนทุกคนต้องอยู่ในโรงเรียน" และ "การศึกษาสำหรับทุกคน" เป้นคำขวัญซึ่งเป้นแนวทางในการจัดการศึกษาของประเทศเมียนมาร์ เพื่อให้ทันกับยุคข้อมูลข่าวสารในปัจจุบยัน โรงเรียนมัธยมและโรงเรียนประถมศึกษาได้มีการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยให้นักเรียนได้มีความคุ้นเคยกับสืออิเล็กทอรนิกส์ แต่อย่างไรก็ตามวิธีการที่สมบุรณ์แบบ นั่นก็คือการพัฒนาด้านจิตใจ ให้มีศีลธรรมภายในร่างกายที่มีสุขภาพดี โรงเรียนได้ฝึกฝนนักเรียน ใด้านศีลธรรมและพฤ๖ิกรรมการอยู่ร่วมในสััคม เพื่อสนับสนุนจุดประสงค์นี้ต่อไปโรงเรียนของัดจึงได้รับการฟื้นฟูขึ้นมา
              ระดับประถมศึกษา
              การศึกษาในระดับประถมศึกาาเป้นช่วงเรียนแรกของการศึกษาขั้นพื้นฐานและเป้ฯการศึกษาภาคบังคับ ระยะเวลบาเรียนประมาณห้าปีที่ซึ่งรวมในปีที่รับเข้าม แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือประถมศึกษาตอนต้น ตั้งแต่ เกรด 1-3 และระดับประถมศึกาาตอนปลาย คือ เกรด 4 และเกรด 5 ในการับเข้าศึกษาในระดับปรถมศึกษานั้นจะรับนักเรียนที่มีอายุประมาณ 5 ขวบ แต่บลางครั้งก็มีนักเรียนบางคนเข้าเรียนในขณะที่มีอายุเกิน 6 ขวบก็มี และเมื่อจบการศึกษาระดับประถมศึกษาแล้วนักเรียนะต้องผ่านการทดอสอบ
            ระดับมัธยมศึกษา
            ระดับมัธยมศึกษาเป้ฯการศึกษาในช่วงที่ 2 ของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งใในระดับมัธยมศึกษาแบ่งระดับออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (เกรด 6-9) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเกรด 10-11 เมื่อนักเรียนจบระดับมัะยมศึกษาตอนต้น นักรเียนจะต้องผ่านการทดสอบความรู้พื้นฐาของมัะยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย
            ลาว ภายหลังเปลี่ยนการปกครองเมือปี ค.ศ. 1975 (พ.ศ. 2528) เป้นต้นมา ลาวได้ใช้ระบบการศึกาาเป้นปบบ 11 ปี คือ ระบบ 5 3 3 โดยแบ่งออกเป็นระบบการศึกษา 3 ประเภทด้วยกัน คือ
            สามัญศ฿กาา ประกอบด้วย
            - ระดับเตรียมอนุบาลและอนุบาล 3 ปี
            - ประถมศึกษา 5 ปี ใช้เวลาในการศึกษา 5 ปี
            เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมืออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป้ฯการศึกษาภาคบังคับง เด็กทุกคนต้องจบการศึกษาในระดับนี้ แต่ในทางปฏิบัติการศึกษาภาคบังคับจะมีผลดีแต่เฉพาะเด็กในเมืองใหญ่เท่านั้นเนื่องจากลาวมีพื้นที่ประเทศกว้างขวางและประชกรกระจายกัน
            ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี ใช้เวลาในการศึกษา 3 ปี และในอนาคตจะให้เด็กได้เรียนภาษาอังกฤษเพิ่มมากขึ้น
             อาชีวะศึกาา ประกอบด้วย
             - ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและช่างเทคนิค
             - ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
             วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย ประกอบ้ดวย วิทยาลัย มี 38 แห่ง และมหาวิทยาลัย 3 แห่งมหาวิทยาลัยทั้ง 3 แห่งได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาวนครเวียงจันทน์ ซึ่งใช้เวลา 5-7 ปี ประกอบไปด้วย 6 วิทยาเขต 10 คณะวิชา ใน พ.ศ. 2551 ได้เปิดสอนระดับปรญญาเอก เป็นโครงการร่วมมอกับมหาวิทยาลัยเศรษฐกิจของเวียดนาม มหาวิทยาลัยสุพานุวง แขวงหลวงพระบางมหาวิทยาลัยจำปาสัก แขวงจำปาสัก
             การศึกษานอกระบบโรงเรียนแบ่งเป้ฯ 4 ประเภท คือ
             - การฝึกอบรมผุ้ใหญ่ที่อ่านและเขียนหนังสือไม่เป็น
             - การยกระดับวิชาชีพแก่ผุ้ใหญ่และการยกเระดับวิชาชีพแก่เจ้าหน้าที่และพนักงาน
             - การศึกาาภาคเอกชน ที่ทางรัฐบาลอนุญาตให้ทางเอกชนจัดระบบการเรียนการสอนในระดับอนุบาล จนถึงปริญญาตรี ปรญญาโทและปรญญาเอก
             - โรงเรียนสงฆ์ ตั้งอยู่ในหลวงพระบาง ซึงได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐเป็นอย่างดีและเก็บค่าเล่าเรียนในอัตราที่ถุก คือ 35,000 กีบหรือประมาณ 140 บาทต่อปี ทำให้มีผุ้มาบวชเรียนจำนวนมาก แต่จำกัดเฉพาะเพศชายเท่านั้นบ่อเกิดของสิทธิในการศึกษาภาคใต้กรอบนโยบายของลาว
           
.. บางส่วนจาก รวมบทความเรื่อง "การจัดการการศึกษาในประชาคมอาเวียน และคู่เจรจา : สิงคโปร์ บรูไน ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย เวียดนาม พม่า และลาว : จีน อินเดีย ญี่ปุ่น และนิวซีแลนด์", โดยคณะนักศึกษาหลักสุตรศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัฒฑิต ปีการศึกษา 2556 สาขาวิชาการจัดการการศึกษา วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
             กัมพูชา การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และเศราฐกิจสังคม นำไปสู่การปฏิรูปด้านการศึกษาของกัมพุชาก่อนปี พ.ศ. 2518 ได้ยึดระบบการศึกษาแบบฝรั่งเศสซึ่งให้มีการศึกษาภาคบังคับ 13 ปี ( 6+1) ภายหลังปี พงศ. 2522 กระทรวงศึกษาฯ ใช้ระบบการศึกษาแบบ 10 ปี 4+3+3 และต่อมาได้ขยายเป็นแบบ 11 ปี และใช้สืบเนื่องจากปี พ.ศ. 2529 -2539 กระทรวงศึกษาฯ ยังคงดำเนินการพัฒนาระบบการศึกษา มีการปฏิรูปหลักสูตรมีการพัฒนาตำราเรียนใหม่และนำเทคนิคการสอนใหม่ๆ มาหใ้กับครูเพื่อเตรียมสำหรับการนำระบบการศึกษาแบบ 12 ปีมาใช้ 6+3+3 ในปีการศึกาา 2539-2540 โดยระบบใหม่นี้ จะแบ่งเป็นการศึกษาก่อนประถมศึกษา 3 ปี ประถมศึกษา 6 ปี มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี และระดับอุดมศึกษา 4-7 ปี ส่วนการจัดการศึกษาด้านอาชีวะและเทคนิคจัดให้ตั้งแต่ 1 ปี ไปจนถึง 3-5 ปีการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกาานี้บางสถบันการศึกษาอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงเกษตรสาะารรสุขหรือแรงงานการจัดการศึกษานอกระบบจะเน้นการฝึกทักษะให้กับประชาชนsites.google.com/site/kamphucha5089/kar-suksa
              มาเลเซีย รัฐบาลของประเทศมาเลเซียต้องการพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางของความเป็นเลิศทางด้านการศึกษาในภูมิภาคนี้โยมีการวางแผนพัฒนายุทธศาสตร์ด้านการศึกษาอย่างต่อเนื่องผลของการพัฒนาเห้ฯได้ชัดจากการที่มีนักเรียนต่างชาติเดิมนทางเข้ามาศึกษาที่ประเทศมาเลเซียสุงมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง และในปัจจุบันมีนักเรียนนักศึกษาต่างชาติมากถึง 50,000 คน จากประเทศต่างๆ กว่า 100 ประเทศ แสดงให้เห็นถึงความพร้อมของการศึกษาระดับนนาชาติที่มีคุณภาพ ประกอบกับหลักสูตรที่มีความหลากหลายเป็นที่ยอมรับ และมีราคาที่เหมาสมด้วย
              ระบบการบริหารการศึกษาของประเทศมาเลเซีย อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการแบ่งระดับการบริหารเ็น 5 ระดับคือ ระดับชาติ ระดับรัฐ ระดับอำเภอ ระดับกลุ่มโรงเรียน และระดับโรงเรียน การบริหารโรงเรียนระดับชาติอยุ่ในความควบคุมของรัฐบาลกลาง การศึกษาทุกประเภทอุกระดับอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการเพียงกระทรวงเดียว ยกเวนการศึกษาที่มีลักษณะเป้นการศึกษานอกระบบจะมีกรมจากกระทรวงอื่นที่เกี่ยวข้องรับผิดชอบ เช่น กรมแรงงาน กรมเกษตร เป็นต้น
               ระบบการจัดการศึกษาของมาเลเซีย เป็นระบบ 6:3:2 คือระบบการศึกษาของมาเลเซียจัดอยุ่ในระดับที่มีมาตรฐานสุงตามแบบของประเทศอังกฤษ สถาบันการศึกาาส่วนใหย่จะใช้ภาาาอังกฤษเป้นสื่อในการสอน ระบบการเรียน การสอนแบบ ทิวินนิ่ง โปรแกรมเป้ฯระบบที่ได้รับความนิยมอย่างมกเป้ฯการร่วมมือกับสถาบันในประเทศ อเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ แคนนาดา สวิสเซอร์แลนด์ ฯลฯ
               การศึกษาในประเทศมาเลเซียน ระดับประถมศึกษาหลักสุตร 6 ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสุตร 3 ปีการศึกษา, ระดับมัธยมศึกาาตอนปลาย หลักสูตร 2 ปีการศึกษา, ระดับเตรียมอุดมศึกษา หลักสูตร 1 หรือ 2 ปีการศึกษา, ระดับอุดมศึกษา หลักสุตรเฉลี่ยประมาณ 3 ปีครึ่ง ถึง 4 ปีการศึกษาwww.sjworldedu.com/country/malaysia/malaysia-education-system/
              ไทย ระบบกรศึกาาในโรงเรียนของประเทศไทยนั้นจะแบ่งการศึกษาออกเป็น 4 ช่วงชั้น คือ 1 ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3, 2) ตั้งแต่ระดับชั้นที่ 1 ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 3) ระดับชั้นมัธยมึกษาตอนต้น (มัธยมศึกษา 1-3) และ4 คือระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(มัธยมศึกษาปีที่ 4-6) โดยในชั้นที่ 4 นอกจากจะมีการจัดการศึกษาในสายสามัญแล้ว ยังวีการจัดการศึกษาในสายอาชีพด้วย ซึ่งในระดับชั้น ปวช. 1-3 นั้นจะเทียบเท่ากับระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโดยนักเรียนที่เลือกสายสามัญมัมีความตั้งใจที่จะศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ส่วนนักศึกษที่เลือกสายอาชีพมักวางแผนเพื่อเตรียมพร้อมสู่การจ้างงานและศึกษาเพิ่มเติม
           นอกจากนี้นักเรียนตะต้องสอบข้อเขียนของโรงเรียนแล้ว นักเรียนจำเป็นจ้องมีคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ(โอเน็ต) ซึ่งมีการจัดสอบในช่วงปลายภาคเรียนที่ 2 ของชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และปลายภาคเรียนที่ 2 ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ยื่นประกอบในการพิจารณา ส่วนการทดสอบระดับชาติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จะนำไปใช้ใช้ในการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
           ประเทศไทยมีการแบ่งดรงเรียนออกเป็น 2 รูปแบบ คือ โรงเรียนรัฐและโรงเรียนเอกชน โดยโรงเรียนรัฐ นั้นจะบริหารจัดการโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือหน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ได้สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เช่น องค์กรโดยกลุ่มบุคคลหรือมูลนิธิต่างๆ ที่มีใบอนุญาตัดตั้ง ซึ่งโยส่วนใหญ่แล้วมักเป็นโรงเรียนที่มีส่วนเกี่ยวเนื่องกับศาสนาคริสต์ และศาสนอิสลามเป็นหลัก ในเขตชนบทของประเทศไทยนั้นหลายๆ โรงเรียนมีลักษณะเ็นโรงเรียนขยายโอกาศ คือ มีการจัดการเรียนการสอนระดับชั้นประถมศึกษา-ทัธยศึกษาตอนต้น หรืออาจมีการจัดการเรียนการสอนในระดับกาดรศึกษาปฐมวัยด้วยก็ได้ เนื่องจากการขาดแคลนงบประมาณทางการศึกษาแก่โรงเรียนชนบท ส่งผลให้นักเรียนที่อาศัยอยู่ในเขตชนบทเลืหกที่จะเข้ศึกษาต่อในโรงเรียนเอกชนมากกว่าดรงเรียนของรัฐ เนื่องจากมีความเชื่อมั่นว่าคุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียนเอกชนอยู่ระดับมรตรฐานที่ดิ หรือเข้าศึกษาต่อในเขตเมืองของจังหวัดนั้นๆ th.wikipedia.org/wiki/การศึกษาในประเทศไทย#.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.A8.E0.B8.B6.E0.B8.81.E0.B8.A9.E0.B8.B2.E0.B8.82.E0.B8.B1.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B8.9E.E0.B8.B7.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B8.90.E0.B8.B2.E0.B8.99
             
             
           

วันเสาร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN :The Basic Education

          สิงคโปร์ ด้วยวิสัยทัศน์และนโยบายการจัดการศึกษาของสิงคโปร์ที่โดดเด่นทำให้การศึกษาของสาธารณรัฐสิงคโปร์ก้าวรุดหน้าไปกว่าประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค และยังเป็นประเทศที่มีการปรับปรุงนโยบายทางการศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อทันต่อการเปลี่ยนแปลงของวิทยาการใหม่ ๆ ของโลก
          ในปี พ.ศ. 2547 รัฐบาลนำโดยนายลี เชียน ลุง นายกรัฐมนตรีได้ประกาศวิสัยทัศน์ใหม่ด้านการศึกษาที่สอดคล้องไปกับวิสัยทัศน์ TSLN หรือที่รู้จักดันในวลี "Teach Less, Learn More"ที่เน้นการสอนให้น้อยลงแต่ให้นักเรียนเดิดการเรียนรู้มากขึ้น และนำไปสู่การปฏิบัติ นับเป้นการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนการสอนจากที่เน้นปริมาณสู่การเรียนการสอนเป็นการเน้นคุณภาพการสอน โดยเชื่อว่า การสอนที่เน้นปริมาณไม่สามารถนำนักเรียนเข้าสู่กระบวนการเรียนรู้ได้อย่างเพียงพอ ไม่สามารถจุดประกายความอยากรู้อยากเห็น กระบวนการสอนดังกล่าวนี้ ช่วยให้โรงเรียนและครูสามารถเข้าไปถึงแก่นของการเรียนการสอนว่า การสอนนี้สอนเพื่ออะไร สอนอะไร และสอนอย่างไร ด้วยกระบวนการสอนแบบ ที่กล่าวมา จะไม่เหน้นการเรียนการสอนและการวัดผลแบบเดียวเพื่อที่ใช้กับคนหมุ่มาก แต่เป็นการออกแบบการสอนและการวัดผลที่มีความแตกต่างตามความพร้อมและความสนใจของผุ้เรียน เพื่อให้เกิดผลต่อการเรียนรู้ตลอดชีพ
           สิงคโปร์มีการจัดโครงสร้างการบริหารสถานศึกษาออกเป็น 4 ระดับคือ
           - ระดับรัฐ รัฐบาลสิงคโปร์โดยกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้กำหนดนโยบายและวางแผนสู่การปฏิบัติใน 3 หน่วยงาน คือ Profressinal Wings เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบทางด้านวิชาการ Policy Wings เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านนโยบายการศึกษา และ Service Wings เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านงานบริการด้านการศึกษาต่างๆ โดยรัฐจะเป็นผุ้กำหนดหลักสูตรแกนกลาง ที่ใช้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นบฐานแก่ทุกโรงเรียน รวมถึงการดุแลเรื่องการสอบและการประเมินผลระดับชาติทั้ง 3 ระดับ คือ เมือจบชั้นประถมศึกษา มัธยมศึกษา และเตรียมอุดมศึกษาอีกด้วย
           - ระดับเขตพื้นที่การศึกาา ได้รับการมอบอำนาจให้มีหน้าที่ควบคุมดุแลกลุ่มโรงเรียน ที่อยุ่ในเขตเพื่อให้เป้นไปตามวัตถุประสงค์ที่รัฐบาลได้ตั้งขึ้น ว่าได้เกิดการทำงานร่วมมือกันอย่างดี มีการช่วยเหลือกันในกลุ่มอย่างดีหรือไม่ หัวหน้ากลุ่มได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ควรจะเป็นหรือไม่
           - ระดับกลุ่มโรงเรียน ที่เกิดจากการรวมกลุ่มหลายโรงเรรียนเข้าด้วยกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้านวิชาการและทิศทางในการพัฒนาบริหารจัดการโรงเรียนปัจจุบันมีการจัดตั้งกลุ่มทั้งสิ้น 28 กลุ่มครอบคลุมทุกโรงเรียนในประเทศ แต่ละกลุ่มมีโรงเรียนในเครือข่ายประมาณ 10-14 โรง บางกลุ่มก็ประกอบด้วยโรงเรียนระดับประถมศึกษาทั้งหมด บางกลุ่มก็ประกอบด้วยโรงเรียนหลายๆ ระดับมารวมกัน แต่ละกลุ่มจะมีการเลือกหัวหน้า จากผุ้บริหารโรงเรียนต่างๆ ที่มีประสบการณืทำหน้าที่ประสานงานและช่วยกำหนดทิศทงการบริหารจัดการให้แก่โรงเรยนในกุ่ม โดยรัฐได้จัดสรรงบประมาณรายปีโดยตรงให้แก่หัวหน้ากล่่มเพื่อใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนา ดูแล ช่วยเหลือ และแนะนำโรงเรียนในกลุ่ม รัฐบาลจับตามองความสามารถของหัวหน้กลุ่มว่ามีสมรนรถภภาพเช่นไร ใช้วบประมาณได้อย่งมีประสิทธิภาพหรือไม่ หากเป็นไปด้วยดีรัฐก็จะมองอำนาจความรับผิดชอบให้หัวหน้ากลุ่มมากขึ้น พร้อมให้อำนาจในการปกครองดูแลโรงเรียนของหัวหน้ากลุ่มเองได้อย่างมีอิสระกว่าโรงเรียนอื่นๆ
            - ระดับสถานศึกษา สถานศึกษาเป็นหน่วยงานย่อยที่สุดในการจัดการศึกษาที่มีระดับอิสระในการจัดการต่างกัน หากเป็นโรงเรียนแบบอิสระ และ โรงเรียนปกครองตนเอง จะมีอิสระในการดูแลเรื่องการบริหารจัดการบุคลากร การเงิน และวิชาการบางส่วน เช่น การเลือกแบบเรียน และปรับหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของผุ้เรียนมากกว่าโรงเรียนอื่นโดยโรงเรียนเหล่านี้จะต้องมีการจัดตั้งคณะกรรมกาบริหารโรงเรรียนขึ้นโดยได้รับการอนุมัติจากการะทรวงศึกษาธิการก่อน
              อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 เป็นต้นมาที่ได้มีการประกาศวิสัยทัศน์ทางการศึกษา รัฐบาลได้พยายามที่จะเปิดโอกาสให้โรงเรียนอื่นๆ มีความยืดหยุ่นในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะกับความต้องการของนัเรียนมากยิ่งขึ้น
              บรูไนได้กระจายอำนาจการจัดการการศึกษา โดยเปลี่ยนจากการแบ่งอำนาจ สุ่ การมอบอำนาจ โดยมอบอำนาจตามประเภทของงาน คือการให้อำนาจความรับผิดชอบของหน่วยงานส่วนกลางไปยังโรงเรียน แต่ความรับผิดชอบสูงสุดยังอยู่ที่หน่วยงานส่วนลางเช่นการเสริมสร้างกำลงคนขึ้นอยู่กับผุ้นำในโรงเรียนและครูกระทรวงศึกษาธิการได้ให้อำนาจบางบริหารแก่ผุ้นำในโรงเรียนและครูผู้สอน มีการพัฒนาระบบเขตพื้นที่การศึกษาสำหรับระดับประถมศึกษา และระบบกลุ่มดรงเรียนสำหรับระดับมัธยม ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมกับดรงเรียนมากขึ้น รวมทั้งให้ผุ้นำโรงเรียนมีอำนาจในการจัดโครงสร้างสถานศึกษาการจัดโซนสำหรับระดับประถมศึกษาและจัดกลุ่มดรงเรียนระดับมัธยมศึกษาได้มีการแต่างตั้งผุ้นำและจัดต้้งเป็นคณะกรรมการทีมผุ้นำ เพื่อให้สาชิกได้ออกความคิดเห็น ข่าวสาร และวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด มีการอภิปรายประเด็นต่างๆ เพื่อนำไปสู่แผนผฏิบัติการ ผุ้มีส่วนได้เสียของโรงเรียนมีเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระดมสมอง และลงมือปฏิบัติเกี่ยวกับปัญหาทางการศึกษา การปรับปรุงผลการดำเนินงานทั้งด้านวิชาการและไม่ใช่วิชาการ
             ฟิลิปปินส์ พระราชบัญญัติฉบับที่ 9155 เป็นพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2544 ที่เกี่ยวกับการกำกับดูแลการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในประเทศฟิลิปปินส์กำหนด บทบาทและความรับผิดชอบ ของระดับการบริหาร ต่างๆ จากส่วนกลางไปถึงระดับโรงเรียน ด้วยพระราชบัญญัติฉบับนี้ชื่อของกรมวัฒนธรรมการศึกษาและกีฬา ถูกเปลี่ยเป็นกรมศึกษาธิการ และกำหนดบทบาทของสำนักงานในพื้นที่ต่างๆ
            ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ ฉบับดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าหน้าที่หลักของสำนักงานในพื้นที่ต่างๆ คือ การประกันคุณภาพ มีหน้าที่ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของทุกโรงเรียนภายใต้อำนาจของตนและให้การสนับสนุด้านอื่นๆ แก่หน่วยงานระดับอภเภอและโรงเรียน ตามที่พระราชบัญัติการศึกษาแห่งชาติระบุ ครอบคลุมการศึกษาในเด็กปฐมวัย ประถมศึกษาและมัธยมศึกษารวมทั้งระบบการเรียนรู้ทางเลือกสำหรับเด็กและเยาวชนที่ออกจากโรงเรียนและนักศึกษาผู้ใหญ่และรวมถึงการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความต้องการพิเศษ
            โดย พ.ร.บ. ดังกล่าว กำหนดรูปแบบเหตุการณ์ ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ ในบริบทของการบริหารโดยใช้ดรงเรยนเป็นฐาน โดยกำหนด วัตถุประสงค์ "เพื่อสนับสนุนส่งเสริม ความคิดริเร่ม เพื่อการพัฒนาโรงเรียนและศูนย์การเรียนรูให้ประสบความสำเร็จ และยั่งยืน" โดยได้มีการกำหนดโครงสร้างของกรมศึกษาธิการกับหน้าที่ความรับผิดชอบที่กระจายอำนาจใน 4 ระดับ จากระดับรัฐ ไปสู่ระดับเขต ระดับอำเภอ และระดับโรงเรียนโดยเป้นการกระจายอำจไปยังโรงเนรียน แต่ไม่ได้กล่าวถึงคณะกรรมการสภาโรงเรียน
           
กรมศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานภาครัฐพื้นฐานที่รับผิดชอบด้านการศึกษและการพัฒนาอัตรากำลังของชาติ ภารกิจของการพัฒนาหมายถึง การให้การศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพที่มีความเสมอภาคและทุกคนสามารถเข้ารับการศึกษาได้ มีการจัดตั้งมูลนิธิสำกรับการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อให้ทุกคนได้รับการบริการได้ทั่วไปอย่งดี ความรับผิดชอบเบื้องต้นของกรมนี้คือ ริเริ่ม การวางแผน การนำไปปฎิบัติ และประสานความร่วมมือในระดับนโยบาย ความช่วยเหลือในเบื้องต้น มาตรฐาน แผนงานจัดโปรแกรมและโครงการต่างๆ ในพื้นที่ที่เป้นการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบ เป็นการบริหารสถาบันการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งที่เป็นการศึกษาของรัฐและเอกชน ดูแลการจัดตั้งและบริหารจัดการ บำรุงรักษาให้ดีและเพียงพอ บูรณาการระบบการศึกษาเชื่อมโยงกับเป้าหมายของการพัฒนาชาติ
            การกระจายอำนาจบริหารการศึกษาสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ใช้รูปแบบ SBM ซึ่งถูกนำมาใช้ใน 23 หัวเมือง ที่เข้าร่วมในระดับปรถมศึกษา ตามโครงการการศึกาษที่ 3 ในระดับประถมศึกษา ได้รับการสนับสนุน จากธนาคารโลก โครงการจัดหาเงินทุน สำหรับโรงเรียนโครงสร้งพื้นฐานของ การฝึกอบรมการพัฒนาหลักสูตรและตำราเรียน SMB เป็นการกระจายอำนาจการจัดการศึกษาจากกรมศึกษาธิการไปยังสถานศึกษา โดยให้สถานศึกษามีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ มีอิสระและความคล่องตัวในการตัดสินใจกรบริหารจัดการทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากรและการบิหารทั่วไป โดยมีคณะกรรมการสภาโรงเรียน ซึ่งประกอบด้วย ผุ้บริหาสถานศึกษ ตังแทนผุ้ปกครองและขุชน ตัวแทนครู ผุ้ทรงคุณวุฒิ มีส่วนร่วมกันบริหารสถานศึกษาให้เป็นไปตามความต้องการของผุ้รเียนและผุ้ปกครองให้มากที่สุด ทั้งนี้การบริหารจัการที่รับผิดชอบร่วมกันตามภาระงานของสถานศึกษานั้น จะทำให้เกิความเป็นเจ้าของและทำให้ผลการปฏิบัติงานของสถานศึกาาเป็นที่ยอมรับได้
          อินโดนีเซีย จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐวัยด้วยเป้หายหลักของการศึกษาปฐมวัยคือ การพัฒนาด้านร่างกายและจิตใจของนักเรยน เมื่อเด็กต้องกออกมาจากบ้านจากครอบครัวมาเข้าสังคมที่โรงเรียน การจัดการศึกษาระดับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมความพร้อมของผุ้เรียนก่อนเข้าเรียนระดับประถมศึกษา เป็นการเตรียมการพัฒนาการขั้นพื้นฐาน พัฒนาทัศคติ ความรู้ ทักษะ และความคิดริเริ่มรูปแบบของการศึกษาปฐมวัยที่ได้ผลดี ได้แก่การจัดการศึกษาในโรงเรียนอนุบาล หรือสถานอบรมเด็กเล็ก และการเล่นเป้นกลุ่ม การเรียนในโรงเรยนอนุบาลถือเป้นสวนหนึ่งของการศึกษาในระบบ ขณะที่การเรียนรู้จากการเล่นเป็นกลุ่มนั้นจะเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษานอกระบบ การจัดการศึกษาปฐมวัยนี้เป็นการจัดการศึกษาให้กับเด็กอายุระหว่าง 4-6 ขวบ ระยะเวลาเรียน 1-2 ปี ขณะที่การเรียนรุ้โดย "การเล่ินเป็นกลุ่ม" จัดให้เด็กอายุ 3 ขวบ และต่ำกว่า 3 ขวบ
          ถ้าตามพระราชบัญญัติการศึกษาปี 2003 จะแบ่งระดบการศึกษาในโรงเรียนออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา การศึกาาระดับอุดมศึกษา
           การศึกษาขั้นพ้นฐานเป็นการศึกษาภาคบังคัยมี 3 ระดับ ได้แก่ โรงเรียนประถมศึกษา ให้การศึกษาขั้นพื้นฐาน 6 ปี สำหรับนักเรียนอายุ 7-12 ปี, โรงเรียนมะธยมศึกษาตอนต้น จัดกาศึกษา 3 ปี สำหรับนักเรียนอายุ 13-15 ปี, โรงเรียนพิเศษจัดการศึกษาสำหรับนักเรียนที่มีปัญหาความผิดปกติทางด้น
ร่างกายและจิตใจ
            การศึกษาขั้นพื้นฐานมีเป้าหมายเพื่อพัฒนานักรเียนให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นสมาชิกของสังคม พลเมือง และมนุษยชาติโดยรวมทั้งสามาถศึกษาต่อได้ในระดับสุงต่อไป
            เวียดนาม ประเทศเวียดนามต้องการจะพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนชาวเวยดนามให้ดีขึ้นทัดเทียมอารยประเทศและเพื่อแก้ไข ปรับปรุงจุดอ่อนของระบบการบริหารจัดการประเทศเวียดนามที่ใช้รูปแบบ โซเวียต โมเดล จึงได้ประกาศใช้นโยบาย Doi Moi Policy ในปี ค.ศ. 1986 และเร่ิมปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริหารจัดการต่างๆ ของเวียนดนามให้ดีขึ้น โดยในส่วนของระบบการจัดการศึกษา เวียดนามเร่ิมใช้กฎหมายการศึกษาฉบับแรก ในปี พ.ศ. 2533 เรียกว่า 1990 Law และปรับปรุงครั้งที่ 2 ในปี ค.ศ. 1998 (2551) ปัจจุบันเวียดนามใช้กฎหมาย การศึกษาฉบับ 2005 Law ซึ่งปรับปรุง เมื่อวันที่  กรกฎาคม 2553 (2010) อยู่ภายใต้หลัการและแนวคิด "Independent, Freedom and Happiness" แบ่งลักษณะของการจัดการศึกษาไว้ 4 ลักษณะ คือ
             1. การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา เป็นการเตรียมความพร้อมด้าน ร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา และศิลปะ ประกอบด้วยการเลี้ยงดูเด็ก สำหรับเด็กอายุ 3 เดือน- 6 ปี และอนุบาลสำหรับเด็กอายุ 3-5 ปี เป็นการศึกษาภาคลังคับที่เร่ิมต้น ตามกฎมหาย
              2. การศึกาาสามัญ แบ่งเป็นระดับต่างๆ ดังนี้
                   - ระดับประถมศึกษาเป็นการศึกษาภาคลังคับ 5 ปี ชั้น 1-5 รับนักเรียนอายุ 6-11 ปี เพื่อพัฒนทักษะเพืนฐานของนักเรียน
                   - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คือ ชั้น 6-9 กลุ่มนี้จะเรียนวิชาพื้นฐาน 13 วิชา
                   - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คือชั้น 10-12 เป็นการศึกษาต่อเนืองจากระดับมัธยมศึกษาตอนต้น แต่จะเจาะลึกและมีการสอบจบ ถ้าผ่านจะได้ใบประกาศ มีจุดประสค์เพื่อเตรียมนักเรียนเข้ามหาวิทยาลัย
            3. การศึกษาด้านเทคนิคและอาชีพ มีเทียงเคยงทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย เป้นการศึกษาที่เน้นการประกอบอาชีพ แบ่งเป็น 2 ระดับ
            4. การศึกษาระดับอุดมศึกา แบ่งเป็นระดับอนุปริญญา และระดับปริญญา โดยระดับปรญญา เรียน 4 ปี  ระดับบัณฑิตศึกษา(ปริญญาโท) และระดับปริญญาเอก..
             ทั้งนี้ในการศึกาาสามัญ 12 ปี ของเวียดนามนั้นเวียดนามมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนได้มีวิญญาณในกความเป็นสังคมนิยม มีเอกลักษณ์ประจำชาติ และมีความสามารถในด้านอาชีพ...

              - บางส่วนจาก บทความ เรื่อง "การจัดการการศึกษาในประชาคมอาเวียน และคู่เจรจา : สิงคโปร์ บรูไน ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย เวียดนาม พม่า และลาว : จีน อินเดีย ญี่ปุ่น และนิวซีแลนด์
           

วันศุกร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Education development : Part 3

           ..การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน โดยใช้วิธีเปรียบเทียบเชิงสหวิยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์ ซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ตอนที่ 1 การศึกษาเฉพาะที่ มี 2 ขั้นตอน คือ การขั้นตอนการบรรยายหรือพรรณนา และขั้นตอนการตีความ และ ตอนที่มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการบรรยาย ขั้นตอนการแปลความ ขั้นตอนการเทียบเคียง และขั้นตอนการเปรียบเทียบ...
           .. ตอนที่ 2 กรศึกาาเชิงเปรีบเทียบ การรวบรวมข้อมุลที่เกียวกับจุดเด่นของนธยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน มีผลการวิจัน 4 ขั้นตอนดังนี้
             - นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเวียนมีจุดเด่นทีคล้ายกันคือ การขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง การยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดรับกับความก้าวหน้าทางวิทยาศสตร์และเทคโนโลยี
             - องค์ประกอบต่างๆ มีผลต่อระบบการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนที่ส่งผลทำให้ระบบการศึกษามีความแตกต่างกันคือ การเคยเป้ฯประเทศในอาณานิคมของต่างชาติ ศาสนาประจำชาติ จำนวนประชากร ผลิตภัฒฑ์มวลรวมในประทเศ และอันดับอัตราเฉพลี่ยการรุ้หนังสือของประชากร
             2.1 ขั้นตอนการเปรียบเทียบ
                   2.1.1 การจัดระบบข้อมูลที่จะเปรยบเทียบกัน ผู้วิจัยได้ดำเนินการจัดระบบข้อมูลเพื่อใช้สำหรับการเปรียบเทียบ ซึ่งได้กำหนดประเด็นไว้ในขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 ซึ่งได้แก่ ประเด็นจุดเด่นข้อมูลนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน และประเด็นองค์ประกอบต่างๆ ทีมีผลต่อระบบการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเวียน
                   2.1.2. การวางหลักเกณฑ์ที่จะนำมาเปรียบเทียบ ผู้วิจัยได้ดำเนินการวางหลักเกฑณ์ที่จะนำมาเปรียบเทียบ โดยได้ดำเนินการศึกษาเปรียบเทียบข้อมูบนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกาาของประเทศในประชาคมอาเซียน
                 
 2.1.3 การตั้งสมมติฐาน ผู้วิจัยได้ดำเนินการตั้งสมมติฐานเพื่อใช้สำหรับเป้นแนวทางในการศึกษาเปรียบเทียบนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนดังนี้
                            2.1.3.1 ปรเทศในประชาคมอาเซียนที่มีระบบการเมืองการปกครองต่างกันส่งผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความต่างกัน
                            2.1.3.2 ประเทศในประชาคมอาเซีนทีมีสภาพทางภูมิศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม จำนวนประชากร และสภาพการณ์ทางเศรษบกิจต่างกัน ส่งผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความแตกต่างกัน
               2.2 ขั้นตอนการเปรียบเทียบ
                     2.2.1 ประเทศในประชาคมอาเวียนที่มีระบอบการเมืองการปกครองต่างกัน สงผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกาามีความต่างกันซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้ จากการศึกษาพบว่า ประเทศในประชาคมอาเซียนส่วนใหย๋มีระบอบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยคิดเป็นร้อยละ 60 ของประเทศในประชาคมอาเซียนทั้งหมด ซึ่งประเทศที่มีระบอบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยจะกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เน้นในเรื่องการยกระดับมาตรฐานคุณภาพทางการศึกาาแลการปฏฺิรูปโครงกสร้างและการบริหารจัดการการศึกษา ส่วนประเทศที่มีระบอบการปกครองในระบอบอื่นๆ จะเน้นการกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เน้นการกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เน้นในเรื่องความเสมอภาคการขยายโอกาศทางการศึกษาให้ทั่วถึง การเติมเต็มความต้องการแห่งชาติ รวมทั้งการกำหนดนโยบรายการศึกษาให้เป็นยุทธศาสตร์สำคัญส่วนหนึ่งของประเทศเป็นหลัก
                    2.2.2 ประเทศในประชาคมอาเซียนที่มีสภาพทางภมูิศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรมจำนวนประชากร และสภาพการณ์ทางเศณาฐกิจต่างกัน ส่งผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความแตกต่างกัน ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้ จากการศึกษาพบว่า ประเทศในประชาคมอาเซียนส่วนใหญ่มีสภาพทางภุมิศาสตร์ที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรทางธรรมชาตจิ สภาพภูมิอากาศอยู่ในเขตร้อยชื้น ฝนตกชุก ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรมประชากรในภูมิภาคส่วนใหญ่นับถือศษสนาอิสบามพัฒนการทางด้านเศรษฐกิจอยู่ในประเทศที่กำลังพัฒนา ประชากรในภุมิภาคยังมีความยากจน อัตราเฉลี่ยการรู้หนังสือของประชากรยังอยู่ในระดับค่อนข้างต่ำส่งผลให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจะเน้นในเรื่องเสรีภาพในการเข้ารับการศึกษโดยเสรีอย่งทั่วถึงโดยไม่เสียค่าใช้
จ่าย แต่ในขณะเดียวกันนโยบายการพันาคุณภาพการศึกษาจะแตกต่างกันในเรื่องความพร้อมและศักยภาพทางด้านการระดมทุนทั้งวบประมาณและทรัพยากรสนับสนุนอื่นๆ นอกจากนี้ ประเทศในประชาคมอาเซียนส่วนใหญ่ได้รับอทธิพลการปกครองที่เคยเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตกมาก่อนอย่งยาวนาน ดังนั้น จึงทำให้ยังคงมีรูปแบบวัฒนธรรมความเป้ฯอยุ่ที่มีลักษณะเฉพาะของตนเองส่งผลทำให้การกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษายังคงยึดแบบอย่างตามรูปแบบประเทศตะวันตก เ่น ระบบการศึกษา การรวมศูนย์อำนาจทางการศึกาาอยู่ที่ส่วนกลาง และหลักอุดมกาณ์แห่งชาติ เป็นต้น..

       ...บางส่วนจาก งานวิจัย "นโยบายการพัฒนคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนโดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์" โดย จุมพล ยงศร, จาก วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2554) , หน้า43-58.

วันพฤหัสบดีที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Education development : Part 2

           ในการทำวิจัยเรื่อง "นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนโดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์"  มีขั้นตอนดำเนินการวิจัยดังนี้
           1. ศึกษาเอกสาร ตำรางานวิจัยและเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน รวมทั้งสิ้น 10 ประเทศ
           2. ดำเนินการศึกษานโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนรวมทั้งสิ้น 10 ประเทศ แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ตอน ดังนี้
                2.1 การศึกษาเฉพาะที่ เป็นการบรรยายถึงสภาวะทางการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซยน .โดยยังมิได้มีการนำไปศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศใด ๆ โดยมีขั้นตอนการศึกษาดังนี้
                      2.1.1 ขั้นตอนที่ 1 การบรรยายหรือพรรณนา เป็นขั้นตอนการบรรยายเพื่อรวบรวมข้อมุลททางการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน โดยไม่ได้พิจารณาสภาพแวดล้อมอื่นๆ ซึ่งจะพิจารณารวบรวมข้อมูลจากงานวิจัย รายงานของหน่วยราชการ รายงานการประชุม หนังสือ วารสาร และเว็บไซต์ ฯลฯ
                      2.1.2 ขั้ตอนที่ 2 การตีความ เป็นขั้นตอนการตีความข้อมุลต่างๆ ที่บรรยายไว้ในขั้นตอนที่ 1 มาอธิบายโดยอาศัยความรุ้จากศาสตร์ แขนงอื่นๆ เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลทางการศึกษาในแว่ประวัติศาสตร์ การเมืองาการปกครอง เศรษฐศาสตร์หรือในแง่สังคมและวัฒนธรรม เป็นต้น
               2.2 การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ เป้นการนำข้อมูลเรื่องราวเกี่ยวกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเวยนรวมทั้งสิ้น 10 ประเทศ มาเปรียบเทียบและวิเคราะห์สรุปให้เห็นว่า นโยบาย การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศต่างๆ มีลักษณะคล้ายคลึงกัน หรือแตกต่างกันอย่างไร และสิ่งใดเป็นปัจจัยทีให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความคล้ายคลึงกัน จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากข้อ 2.1.1 และ 2.1.2 มาเทียบเคียง เพื่อตรียมการวิเคราะห์เปรียบเทียบในขั้นตอนต่อไปซึงมีกระบวนการ 4 ขั้นตอน ดังนี้
                        2.2.1 ขั้นตอนการบรรยาย เป้นขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน รวมทั้งสิ้น 10 ประเทศมาเปรียบเทียบกัน
                        2.2.2 ขั้นตอนการแปลความ เป้นขั้นตอนการอธิบายข้อมูลต่างๆ ที่ได้มาจากข้อที่ 2.2.1 โดยวิธีเชิงสหวิทยาการมาอธิบายองค์ประกอบที่มีผลกระทบต่อระบบการศึกษาของประเทศนั้นๆ
                        2.2.3 ขั้นตอนการเทียบเคียง เป็นขั้นตอนการจัดระบบข้อมูล กำหนดหลักเกณฑ์ และการตั้งสมมติฐานเพื่อวิเคราะห์ในเชิงเปรียบเทียบ
                        2.2.4 ขั้นตอนการเปรียบเทียบ เป็นขั้นตอนการวิเคราะห์เปรียบเทียบ โดยนำประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเวียน รวมทั่งสิ้น 10 ประเทศมาเปรียบเทียบพร้อมๆ กัน เพื่อพิสูจน์สมมติฐานและทำการสรุปผลการศึกษา
             1 การศึกษาเฉพาะที่ ขั้นตอนที่ 2 การตีความ อธิบายโดยกาศัยความรู้จากศาสตร์แขนงอื่นๆ มีการตีความข้อมูลต่างๆ ที่บรรยายไว้ในขั้นตอนที่ 1
              การตีความข้อมูลทางการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน
              - ประเทศไทย การจัดการศึกษามีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยโบราณ ด้วยความเชื่อที่ว่าการศึกาาช่วยกำหนดทิศทางของชาติ เพื่อพัฒนาคนไทยและประเทศให้เจริญก้าวหน้า การจัดการศึกษาของไยมีวิวัฒนาการมาโดยตลอด โดยมีปัจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลง กล่าวคือ ปัจจัยภายในเกิดจากความต้องการพัฒนาสังคมให้มีความเจริญและทันสมัย ส่วนปัจจัยภายนอกเกิดจากกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ทั้งด้านเศรษบกิจและการเมือง ตลอดจนการติดต่อสื่อสารกันทำให้ประเทศไทยต้องปรับตัวให้ทันสมัย เพื่อความอยู่รอดและประเทศได้เกิดการพัฒนาให้ทัดเทียมกับนานาประเทศ ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาทำให้การจัดการศึกษาของไทยมีวิวัมฯาการเรื่อยมา ซึ่งเป็นปัจจัยที่ช่วยเสริมความเจริญก้าวหน้าทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของชาติให้มั่นคงและเจริญก้าวหน้า
             
- สาธารณรัฐอินโดนีเซีย การศึกษามีรากฐานจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2488 เมื่อได้ประกาศอิสรภาพจัดตั้งสาธารณรับ เพ่อให้บรรลุเป้าหมายของรัฐดังที่ปรากฎในหลักปัญจศีล ในการรวมศูนย์อำนาจ กับการคงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมตามความต้องการของกลุ่มชนที่หลากหฃลายในสังคมและความต้องการร่วมกัน ในการพัฒนาเศราบกิจและสังคมด้านต่างๆ  ซึ่งปฏิสัมพันธ์ระหว่าศาสนากับการจัดการศึกาานั้นเป้นลักษระเด่นเฉพาะของอิโดนีเซีย ในการักษาปฏิสัมพันะ์ระหว่างการศึกษากับศาสนาแบบดั้งเดิมของศาสนาอิสลามซึ่งกลายมาเป็นศาสนาอิสลามซึ่งกลายมาเป็นศาสนาของชนส่วนใหญ่ในประเทศ หลังจากสิ้นอาณาจักรมัชปาหิตในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่มีต่อรัฐชาติที่เกิดจากการปลดปล่อยตนเองจากลัทธิล่าอาณานิคม และเป้นรัฐชาติที่มีลักษระเป็น "พหุสังคมขนาดใหญ่" ด้านอาณาบริเวณทางภุมิศาสตร์ที่กระจายอย่างกวางขวาง ซึ่งพยายามปรับตัวอยุ่ในโลกยุปัจจุบัน
             - สหพันธรัฐมาเลเซีย อยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษมาตั้งแต่ พ.ศ. 2485-2500 เป็นเวลานานถึง 15 ปี ถึงแม้ว่าในปัจุบันมีการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตยโดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นผุ้นำด้านการบริหารของประเทศและมีสุลต่านต่างๆ ปกครองดูแลรัฐต่างๆ ยกเว้นเกาะปีนัง มะละก ซาบาร์ และซาราวัค โดยมีพระราชธิบดีเป็นประมุขของประเทศ แต่การอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษนานถึง 15 ปี ย่อมมีผลต่อความคิดเห็นการศึกษาและวิถีการดำเนินชีวิตของชาวมาเลเซีย ตังนั้นการจัดการศึกษาและการปฏิรูปการศึกษาจึงยังใช้ระเบียบแบบแผนของประเทศอังกฤษ อย่างไรก็ตาม มาเลเซยเป้นประเทศที่มีประชากรนับถือศาสนาอิสลามเป็นส่วนใหญ่ในสถาบันการศึกษาจึงได้รับอิทธิพลของศาสนาอิสลาม
           - สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ การจัดการศึกาาในอดีตเน้นการศึกษาในลักาณะไม่เป้นทางการแบบประเทศสเปนโดยปราศจากโครงสร้างที่ชัดเจนรองรับและขาดแคนระเบียบวิธีการต่างๆ ในการเรียนการสอน ตรอบจนมีการตรากฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาใน พ.ศ. 2406 ซึ่งอนุญาตให้มีการจัดตั้งโรงเรียนประถมศึกษาสำหรับเด็กชายและหญิงในเมืองต่างๆ ภายใต้การรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถ่ิน กฎหมายดังกล่าวกำหนดให้ชาวฟิลิปปินส์ทุกคนไ้รับเสรีภาพในการเข้ารับการศึกษาโดยเสรีไม่เสียต่าใช้จ่ายใดๆ การสานตอแนวคิดและหลัการ่าด้วยเสรีภาพในการเข้ารับการศึกษาโดยเสรีไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ นี้ยังคงสานต่อมาจนถึงปัจจุบัน
           - สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป้ฯประเทศที่เล็กที่สุดประเทศหนึ่ง ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติมากเหมือนประเทศอื่นแต่มีฐนะทางเศรษฐกิจดี เพราะมีพัฒนาเศรษฐกิจด้านการค้า โดยเป็นประเทศกลางในการขายสินค้ามีท่าเรือขส่งสินค้าปลอดภาษี ทำให้สินค้าที่ผ่านทางสิงคโปร์มีราคาถูก ที่ท่าเรื่อน้ำลึกขนาดใหญ่ และทันสมัยที่สุดในโลกประเทศหนึ่ง มีประชากรน้อยจึงต้องพึ่งพาเรงงานจากต่างชาติในทุกระดับ เป็นประเทศที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาระบบการศึกาามาตั้งแต่เร่ิมได้ับอิสรภาพจากระบอบการปกครองแบบอาณานิคมของอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2508 ทุ่มเทการลงทุนในการจัดระบบการศึกาาและระดับประสิทธิภาพทางการศึกษาในทุกระดับในลักษณะที่พยายามสร้างความเป็นธรรมและความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองเพื่อป้องกันความแตกแยกในสังคม เพื่อให้สิงโปร์เป็นศูนย์กลางอุดมศึกษาระดับสากลแห่งภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก
           - รัฐบรูไนดารุสซาลาม เป็นประเทศซึงมีขนาดเล็กที่สุดทั้งในด้านขอบเขตทางภุมิศาสตร์และจำนวนประชากรแต่มีความมั่งคั่งด้วยระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีภายใต้การกำกับดูแลของรัฐและเป็นประเทศเดียวในกลุ่มอาเซียนที่อยู่ภายใต้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อย่างเต็มรูปแบบ ในพ.ศ. 2449 บรูไนได้ลงนามในสนธิสัญญายินยอมอยู่เป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษอย่างเต็มรูปแบบ เร่ิมมีระบบการศึกษาอย่างเป็ทางการใน พ.ศ. 2459  ด้วยการเปิดโรงเรียนภาษาพื้นเมืองมาเลย์ในเมืองหลวงคือ กรุงบันดาเสรีเบกาวัน ด้วยข้อจำกัดในลักณะของการับเฉพาะเด็กนักเรียนชาย อายุระหว่าง 7-14 ปี บรูไนไม่มีการจัดทำแผนการพัฒนการศึกษาแห่งชาติ หากแต่ให้เป็นส่วนหนึ่งในแผนพัฒนาประเทศระยะ 5 ปี ซึ่งในแผนพัฒนาประเทศฉบับแรกเมื่อ พ.ศ. 2497 นั้น สาระที่เกี่ยวข้องเป็นการมุ่งเน้นสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกและโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ จนเป็นที่มาของการจัดตั้งกระทรวงการศึกษาของประเทศ ต่อมาใน พ.ศ. 2528 ได้มีการพัฒนานโยบายและระบบการศึกษาแห่งชาติในลักษณะที่อำนวยให้ประชาชนและผุ้ทีพำนักอาศัยอยู่ในประเทศบรูไนอย่างถาวรสามารถเข้าศึกษาเล่าเรียนในโรงเรียนระดับประถมของรัฐโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น
           - สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เป้นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ของการต่อสุ้อันยาวนานเคยอยู่ายใต้การปกครองของฝรั่งเศส ทำให้ได้ับวัฒนธรรมของฝรังเศสไว้หลายประการ จากการเป็นประเทศที่มีประชากรอยุ่กันอย่างหนาแน่น ผ่านการทำสงครามภายในประเทศเป็นเวลานาน ด้วยความแข็งตัวของระบบเศรษฐกิจแบบควบคุมอยู่ที่ศูนย์กลาง ทำให้เวียดนามต้องใช้เวลานานในการฟื้นตัวและเปลี่ยนจากระบบเศรษฐฏิจแบบควบคุมเข้มงวด มาเป็นระบบตลาดเพื่อก้าวพ้นจากปัญหาความยากจนและเพรือเพิ่มศักยภาพทางเศราฐกิจโดยมีการศึกษาเป็นยุทธศาสตร์สำคัญส่วนหนึ่งของประเทศ
         
 - สาะารณรับประชาธิปไตยประชาชนลาว บริบททางการศึกษาไม่ว่าจะเป้ฯลักษระที่ตั้ง และสภาพภูมิศาสตร์ องค์ประกอบของประชากร สภาพทางเศราฐกิจและสังคมมีผลกระทบต่อการจัดการศึกษาของประเทศเป้นอย่างมาก นับตั้งแต่ที่ได้สถาปนาเป้นประเทศเอกราชใน พ.ศ. 2518 จากการปกครองของฝรั่งเศส ได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาเรื่อยมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประถมศึกษา เทคนิคศึกาา และการรู้หนังสือของประชาชน ประชาชนมีอาชีพจำกัดและยากจน ประชากรประกอบดวยชนเผ่าต่างๆ มากกว่า 50 ชนเผ่า และมีความแตกต่างในเรื่องจารีตประเพณีและควมเชื่อถืออยู่อย่งกรจัดกระจายเป็นกลุ่มเล็กกลุ่มน้อย ดังนั้น จึงทำให้การจัดการศึกษายากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นการเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจใหม่เป้ฯเศรษฐกิจการตลาด ทำให้เกิดความจำเป้นในการปฏิรูปหรือปรับเปลี่ยนแนวการจัดการศึกษาในทุกๆ ด้านเพราะจะต้องให้สอดคล้องกับระบบเศราฐกิจและสังคมของประเทศ
            - สหภาพเมียนม่า ตั้งแต่ในสมยโบราณสังคมให้ความสำคัญกับการศึกษาอย่างมาก โดยเฉพาะในสมัยก่อนการศึกษาในวัดเป็นส่ิงที่นิยมและทำให้อัตราการรู้หนังสือของประชาชนอยุ่ในระดับดี แต่เมื่อเข้าถึงสมัยการปกครองโดยอังดฤ อัตราการรู้หนังสือลดต่ำลงเนื่องจากผุ้ปกครองไม่ให้ความสใจมากนัก แต่ยังมีความพยายามในหมูผุ้รู้หนังสือโดยเฉพาะหลังจาก พ.ศ. 2491 ในแนวทางการส่งเสริมด้านการศึกษา เด็กต้องเข้าโรงเรียนซึ่งเป็นบริการที่รัฐมีให้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายทั้งนี้ เป้นไปตามกฎหมายกาศึกษาพื้นฐานและกฎหมายการศึกษาของสหภาพเมียนม่า ทั้งนี้ ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเรียนการสอนในวัดยังเป็นแหล่งความรู้สำคัญสำหรับประชาชนในพื้นที่ห่างไกล
           - ราชอาณาจักรกัมพุชา ให้ความสำคัญกับการพัฒนาการศึกษาตั้งแต่ได้รับเอกรชจากประเทศฝรั่งเศสเมื่อ พ.ศ. 2496 ซึ่งจากการเปลียนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจสังคม จึงนำไปสู่การปฏฺรูปการศึกษา รัฐบาลภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปใน พงศ. 2536 ตามข้อตกลงปารีสได้ให้ความสำคัญแก่การพัฒนาการศึกษามากขึ้น โดยมีความพยายามในการส่งเสริมการศึกาานอกระบบและการศึกษาภาคเอกชนในต่างจังหวัดเสมือนประเทศเสรีนิยมทั่วไป โดยกำหนดให้การศึกษาเป้นสวนหนึ่งของเป้าหายในการลดปัญหาความยากจนของประเทศเพื่อยกระดับศักยภาพการแข่งขันทางเศราฐกิจของประเทศสู่ระดับสากลซึ่งมีทรัพยากรมนุษย์เป็นฐาน..
               บทความ "นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนโดยการใช้วธีกาศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เดย์", จุมพล ยงศร, วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช ปีที่ 24 , ฉบับที่ 1 ( ม.ค.-มิ.ย. 2554), หน้า43-58.

วันพุธที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Education development

            นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน กล่าวคือ
            - ประเทศไทย ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ โดยปฏิรูปโครงสร้างและการบริการจัดการระดมทรัพยากรเพื่อการปปรับปรุงการบริหารจัดการศึกษา ส่งเสริมให้ภาคเออกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา จัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกาษ ระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาไปสู่ความเป็นเลิศ ปรับปรงระบบการบริหารจัดการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชานใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงสร้างสรรค์อย่างชาญฉลาด เร่งรัดการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้อย่างบูรณาการในทุกระดับการศึกษาและในชุมชน
             - ประเทศสามะารณรัฐอินโดนีเซีย ความเสมอภาคโอกาศทางการศึกษา การตอบสนองความจำเป้ฯทางการศึกษาคุณภาพของการศึกษา และประสิทธิภาพของการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบของการศึกษา มุ่งเน้นการสร้างบุคลิกภาพและองค์ประกอบของความสามารถในด้านต่างๆ ของทรัพยากรฒนุษย์ สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา และเพื่อสร้างความมั่นใจทุกคนไม่ว่่าจะเป็นเพศใด จะมีฐานะยากจนอยู่ห่างไกลความเจริญหรือเป็นผู้อ้อยโอกาสทางสังคม ต้องได้รับการศึกษาขันพื้นฐานภาคบังคับ
             - สหพันธรัฐมาเลเซีย ระบบการศึกษาแห่งชาติเป็นระบบการศึกษาที่มีคุณภาพระดับสากล ึดถือนโยบายการศึกษาแห่งชาติเป็นนโยบายพื้นฐานสำหรับพัฒนาการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษาระดับประถมศึกษาคือ 5-7 ปี ให้การศึกษาก่อนวัยเรียนบรรจุอยุ่ในการศึกษาสายสามัญแห่งชาติ มุ่งเน้นการพัฒนากำลังคนให้มีควารู้ความสามารถ มีทัพษะเพียงพอตอความต้องกรของประเทศซึ่งกำลังเติบโตทางเศราฐกิจอย่างรวดเร็วการขยายโอากาสทางการศึกษาให้เท่าเทียมกันทั่วประเทศ ทั้งนี้กระบวนการที่จำนำไปสู่ความสำเร็จ จะต้องยึดหลักอุดมกาณ์แห่งชาติ "rukunegara" 5 ประการได้แก่ เชื่อมั่นในพระผุ้เป็นเจ้า, จงรักภักดีต่อกษัตริย์และชาติ, ยึดมั่นในรัฐธรรมนูย, ปฏิบัติตามหลักกฎหมาย และประพฤติตนอย่างมีศีลธรรมและคุณธรรม
           
 - สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ การสร้างความแข็งแกร่งในด้านการศึกษาให้เป็นภาระผูกพันต่อรัฐบาล กำหนดให้เป็นหน้าที่ของรัฐในการจัดวบประมาณด้านการศึกษา จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับขั้นพื้นฐานไปจนถึงระดับอุดมศึกษาให้แก่ประชาชนโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ย ให้ความสำคัญต่อการเพ่ิมทุนทั้งหมดไปที่มนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการศึกาา สนับสนุนให้การศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณภาพ โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ การศร้างทักษระความเชี่ยวชาญทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร พร้อมทั้งขวายช่องทางให้กับผุ้มีรายได้น้อยในเรื่องการศึกษานอกระบบและการฝึกอบรมด้านเทคนิคและวิชาชีพเ้นหลักการเรียนตลอดชีวิตให้เข้าถึงประชาชนในพื้นที่ต่างๆ ตลอดจนผุ้พิการและผุ้ที่เสียเปรียบในสังคม เน้นการยกระดับหลักสูตรและเทคนิคในการฝึดอบรมครูผู้สอน ทักษะและกระบวนการบริหารจัดการวางแผนและกำกับดูแลโครงการต่างๆ โดยอาซัยการมีส่วนร่วมจากชุมชน
            - สาธารณรัฐสิงคโปร์ ยกระดบมาตรฐานการศึกษาของคนในชาติสู่ระดับสากลโดยใช้กระบวนการเรียนการสอนควบคุ่ไปกับผลลัพธ์ทางการศึกษาทั้งด้านคุณภาพ และสมรรถภาพ เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความสามารถอันหลากหลายของผุ้เรียนมากยิ่งขึ้น เน้นจิตสำนึกและแรงจูงใจในการใฝ่เรียนรู้ด้วยสัมฤทธิผลหรือความสำเร็จทางการษึกษาของผุ้เรียนแต่ละคน การทุ่มทรัพยากรด้านเงินทุนทางการศึกษามากขึ้น การเน้นการบริหารจัดการแบบรวมศุนย์ การมีหลักสูตรการเรียนการสอนที่เข้มข้น การเปลี่ยนจากการประเมินจากภายนอกสู่การเน้นประเมินจากภายในแต่ละโรงเรียนและสถาบันการศึกษาด้วยความถี่มากขั้นเพื่อให้สาถนศึกษารูจักตนเองมากขึน การส่งเสริมแรงสนับสนุนอย่างแข็งขันจากครอบครัวของผุ้เรียนการพัฒนากำลังคนด้านบุคลากรทางการสอนโดยเน้นการฝึกอบรม เพื่อให้พัฒการทางการศึกษาก้าวไปอย่างมั่นคงมากขึ้น
            - รัฐบรูไนดารุสซาลาม มุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากนี้ ยังให้ความสำคัญในเรื่อง อีเลินนิ่ง โดยได้ดึงเข้ามาเป้นส่วนหนึ่ของยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ดำเนินการให้ระบบการศึกษาทุ่งให้ความสำคัญต่อากรใช้ภาษามาเลย์เปนภาษาทางการประจำชาติ ควบคู่ไปกับการใช้ภาษาสำคัญอื่น ๆ เช่น ภาษาอังกฤษ และภาษาอาหรับเป้นภาษาที่สอง เป็นต้น จัดการศึกษาให้กับนักรเียนทุกคนเป็นระยะเวลา 12 ปี จัดหาหลักสูตรบูรณาการจัดการศึกษาศาสนาอิสลามในหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลัก Ahli
Sannah Wal-Jamaah จังหวัดวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ สำหรบการเรียนการสอน เพื่อให้เด็กนักรียนได้รับความรุ้และความชำนาญ จัดหาโปรแกรมการเรียนรู้ที่หลากลายผ่านกิจกรรมและหลักสูตรร่วมต่างๆ ให้สอดคล้องกับหลักปรชญาแห่งชาติ สร้างโอกาศในการศึกษาด้วยคุณวุฒิและประสบการณ์ที่เหมาะสม จัดหาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ทางการศึกาาให้ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อเติมเต็มความต้องการแห่งชาติ
           - สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม การปรับปรุงคุณภาพของการศึกษาไปในทิสทางระดับสูงของโลก การให้ความสำคัญกับการอบรมบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีชั้นสูง การจัดทำเป้าหมายวิธีการ และหลักสูตรในทุกระดับ พัฒนาครูให้ตอบสนองกับการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ริเริ่มการจัดการทางการศึกษานอกระบบให้เป็นการขับเคลื่อนชุมชนไปสู่สังคมการเรียนรุ้ การลดอัตราการไมรุ้หนังสือในกลุ่มผุ้ใหญ่โดยเฉพาะในท้องถ่ินที่ห่างไกล การเปิดโอกาศให้ผุ้ทีทำงานแล้วได้รับการอบรมเรียนรุ้จากหลักสุตรสั้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เพิ่มรายได้ และโอากสในการเปลี่ยนงาน เด็กนัอเรียนได้รับกาศึกาาโดยไ่ต้องเสียค่าใช้จ่ายตามมาตรฐาการศึกษาระดับนานาชาติ และการบริหารจัดการทางการศึกษาจะมีโครงสร้างและกระบวนการกระจายอำนาจที่ทันสมัย
           - สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การเข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน การยกระดับคุณภาพทางการศึกาาการปรับปรุงความเชื่อมโยงส่วนต่างๆ ในระบบการศึกษาให้สอดคล้องกัน การบริหาร จัดการและการวางแผนทางการศึกษาให้เเข็งแแร่งมากขึ้น การขยายจำนวนโรงเรียนระดบประถมศึกษาในพื้นที่ชนกลุ่มน้อยและพื้นที่ชนลบท การเพ่ิมอัตราการสรุ้หนังสือ การพัฒนาในแนวทางที่เรียกว่า การศึกษาสำหรับทุกคน การยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างจริงจังและการสร้างความร่วมมือระหว่าการึกษาในระบบโรงเรียนกับการศึกษาในสังคมและครอบครัว การปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาให้ทันสมัยในทุกระดบทั้งสามัญศึกษาและอาชีวศึกษาทั้งในส่วนของภาครัฐและในส่วนของภาคเอกชน ทั้งในและนอกระบบโรงเรียน ในลักษณะที่สอดรับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
            - สหภาพเมียนม่า การกำหนดแผนระยะยาว 30 ปี การทำระบบการศึกษาให้เอื้อต่อการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ในการพัฒนาชาติให้ทันสมัยสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยการเน้นสาระสำคัญ 6 ด้านได้แก่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การใช้เทคโนโลยีการขยายขอบเขตด้านการวิจัย การพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต การส่วเสริมการศึกษาคุณภาพ และการรักษาเอกลักษณ์และค่านิยมแห่งชาติให้คงอยู่
         
- ราชอาณาจักรกัมพูชา การกำหนดแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติในการขยายโอากศางการศึกาษาคุณภาพอย่างทั่วถึงประกอบด้วยแผนระยะสั้น แผนระยะกลาง และแผนระยะยาว เช่นการเปิดโอกาสศึกษาขั้นพื้นฐานให้เพิ่มสูงขึ้น การเพ่ิมขั่วโมงการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกาาการเพิ่มห้องเรียนและสถานที่เรียนในพื้นที่ขาดแคลน การเพ่ิมปริมาณและคุณภาพครูและการฝึกหัดครู เป้าหมายระยะยาวในการทำให้เด็กและเยาชนชาวกัมพุชาทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกาาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง ทุกระดับสถานะทางเศรษฐกิจ ทุกเพศ ทุกพื้นที่ ทุกเชื้อชาติ แม้ผุ้พิการทางร่างกาย...
              ที่กล่าวมานี้คือตอน ที่ 1 ของการทำวิจัย "นโยการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน โดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์" โดยตอนนี้เป็นการศึกษาเฉพาะที่ โดยมี 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการบรรยายหรือพรรณนา และขั้นตอนการตีความ...
              บทความการพัฒนการศึกษา  จุมพล ยงศร, "นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนโดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์", วารสานสุโขทัยธรรมาธิราช ปีที่ 24, ฉบับที่ 1 ( ม.ค.-มิ.ย. 2554) หน้า 43-58,

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...