การเปิดเสรีด้านการศึกษาในระดับภูมิภาคอาเซียน การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเพื่อก้าวสู่ประชาคมเศรษบกิจอาเซียนในปี 2558 นับเป็นเรื่องสำคัญและเร่งด่วนของประเทศนวันนี้ ในช่วง
หนึ่งปีที่ผ่านมาผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าร่วมโครงการวิจัยเรื่องการพัฒนาบุคลากรและผลิตภาพบุคลากรเพื่อรองรับการเปิดเสรีอาเซียน ซึ่ง รศ.ดร. พัชราวลัย วงศ์บุญสิน อาจารย์ประจำวิทยาลัยประชากรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นหัวหน้าโครงการ และคณะผุ้วิจัยประกอบด้วยอาจารย์หลายท่่านจากวิทยลัยประชกรศาสตร์คณะเศรษฐศาสตร์ และคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาบัย โดยในส่วนของผุ้เขียนได้เน้นศึกษาการเปิดเสรีการศึกษาระดับอุดมศึกษา ร่วมกับ อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำหรับโครงการวิจัยนี้ มีที่มาจากแนวคิดว่าการเปิดเสรีด้านการศึกษาจะส่งผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายองค์ความรู้ภาษา และวัฒนธรรม และจะมีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ดังนั้นภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาจึงจำเป้นต้องปรับตัวเพื่อเตียมความพร้อมสำหรับสถานการณ์ที่กำลังเปลี่ยนแปลงหลายท่านคงทราบว่า บริการด้านการศึกษานับเป็นสาขาหนึ่งของการค้าบริการในบริบทของการต้าระหว่างประเทศ ซึ่งการเปิดสรีด้านการสึกษาของไทย จัได้ว่าอยู่ในบริบทแวดล้อม 2 ระดับ ได้แก่
1. ระดับพหุภาคี โดยอยู่ภายใต้ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการต้าบริการ ขององค์การค้าโลกหรือที่เรารู้จักกันในนาม WTO
2. ระดับภูมิภาคอาเวีน โดยอยู่ภายใต้ความตกลงการต้าบริการของอาเซียน โดยการเปิดเสรีการต้าบริการในระดับภมูิภาคอาเซียน อิงหลักการตามความตกลงทั่วไปว่าด้วยการต้าบริการขององค์การการต้าโลก แต่เน้นให้เป็นไปในลักษณะที่กว้างและลึกกว่าที่ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ผูกพันไว้ภายใต้ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการตาบริการขององค์การการต้าดลก ซึ่งการเปิดเสรีการต้าบริการของอาเวียน มีการจัดทำข้อผูกพันในด้านการเข้าสู่ตลาด และการปฏิบัติเยี่ยยงคนชาติ และมีรูปแบบการต้าบริการ 4 รูปแบบ ได้แก่
รูปแบบที่ 1 ได้แก่การให้บริการข้ามพรมแดน ยกเตัวอย่งเช่น การที่ประเทศมาเลเซียสั่งซื้อโปรแกรมเพื่อการศึกษาจากประเทศสิงคโปร์
รูปแบบที่ 2 ได้แก่ การบริโภคบริการในต่างประเทศ เช่น การที่นักศึกษาจากประเทศลาวเดินทางไปศึกษาต่อระดับปรญญาโทที่ประเทศอินโดนีเซีย
รูปแบบที่ 3 ได้แก่ การจัดตั้งธุรกิจเพื่อให้บริการ เช่น การที่มหาวิทยาลัยจากประเทศไทยไปตั้งสาขาที่ประเทศพม่า
รูปแบบที่ 4 ได้แก่ การเคลื่อยย้ายบุคลากร เช่น การที่ครูจากประเทศฟิลิปปินส์เดินทางไปสอนภาษาอังกฤษที่ประเทศเวียนดนาม
ทั้งนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนมีลัษณะการเปิดเสรีด้านการศึกษาที่เป็นไปในรูปแบบเดียวกับหลุ่มประเทศสมาชิกองค์การการต้าโลก โดยมีการเปิดเสรีในระดับที่มากกว่าสำหรับรูปแบบการต้าบริการรูปแบบที่ 1 และ 2 เมื่อเทียบกับรูปแบบที่ 3 และ 4 โดยหลายประเทศมีข้อจำกัดสำหรับรูปแบบการต้าบริการรูปแบบที่ 3 และยังแทบจะไม่มีการเปิดเสรีในกรณีของรูปแบบที่ 4
ประเทศไทยมีระดับการเปิดเสรีด้านการศึกาามากน้อยเพียงใดคำตอบคือค่อนข้างมาก ประเทศมีข้อผูกพันการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกาาในทุกระดับการศึกษา และในหลายประเภทของการศึกษาในแต่ละระดับโดยจัดว่ามีจำนวนของระดับและประเภทของการศึกษาที่มีข้อผูกพันการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกาามากกว่าประเทศส่วนใหญ่ในอาเวียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งระดับมัธยมศึกาาและระะับอุดมศึกาาประเทศไทยมีข้อผูกพันที่คีอบคลุมทุกประเภอของการศึกษาใน 2 ระดับนี้http://www.thai-aec.com/697
เปิดเสรีการค้าบริการการศึกาาอาเซียนระเบิเวลาธุรกิจการศึกษาไทย
...ปัจจุบัน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ตระหนักถึงผลกระทบของการรวมตัวเป็นประชาคมอาเวียนต่ออุดมศึกษาไทย ซึ่งเป็นประเด็นที่กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบัยที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) ให้ความสำคัญในฐานะที่เป็นปัจจัยโดยตรงต่อการจัดการอุดมศึกษา จึงเป็นที่มาของยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ซึ่งจัดทำขึ้นจากผลการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ การระดมความเห็นจากกลุ่มเป้าหมายต่างๆ โดยยึดตามกรอบการพัฒนาของอาเซียน โดยเฉพาะการเป็นประชาคมอาเซียน ซึงประกอบด้วย
การเพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิตให้มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล
การพัฒนาความเข้มแข็งของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาประชาคมอาเซียน
การส่งเสริมบทบาทของอุดมศึกาษไทยในประชาคมอาเซียน
"ภาษา" อุปสรรคการแข่งขัน แม้รัฐบาลไทยจะมีนโยบายประกาศตัวเป็น "ศูนยกลางการศึกษาในภูมิภาค" หรือ "ฮับการศึกษา" ประกาศประลองความเป็น "ฮับ" กับมาเลเซีย แต่เมื่อต้องก้าวเข้าไปผูกพันในตลาดเสรีตามแยนการสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเวียนที่ทั่วทั้งภูมิภาคจะเป็นตลาดเดียวกัน มีแรงงานเคลื่อย้ายข้ามไปมากันได้ และการก่อตั้งธุรกิจในต่างประเทศ โดยมีการคุ้มครองจากหลักากรปฏิบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับการอนุเคราะห์ยิ่ง ทำหใ้ตลาดการศึกษาระหว่างสถาบันอุดมศึกษาภาคคเอกชนในภูมิภาคนี้น่าจะคึกคักและตื่อนเต้นไม่น้อย
เมื่อเปรียบยเทียบสมรรถนะความสามารถในการแข่งขันเพื่อสะท้อนสถานภาพการศึกษาของประเทศไทยยังพบด้วยว่า ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษาไทยมีผุ้จบระดับอุดมศึกษาเพียง 18% อยู่ในอันดับที่ 43 และความามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของไทยยังด้อยคืออยู่ในอันดับที่ 51
การถ่ายโอนความรุ้ระหว่างมหาวิทยาลัยกับภาคฑุรกิจ ได้อันดับที่ 32 และการจัดการศึกษาที่สนองความต้องการของภาคธุรกิจ ได้อันดับที่ 32 ด้วยเกตุนี้จึงต้องมีมาตรการที่ควรดำเนินการเพิ่มเติมแก้ไขปัญหา เตรยมความพร้อม เมื่อต้องเปิดเสรีภาคการต้าบริการด้านการศึกษา และการเป็นตลาดเดียวกันทั่วอาเซียนในอีก 5 ปี ข้างหน้าด้วยมาตรการ อาทิ ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยให้มีระบบวัดผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มีประสิทธภาพ
การส่งเสริมการผลิดตและพัฒนาอาจารย์ด้านการสอนภาษาอังกฤษ ภาษาของประเทศสมาชิกอาเวียน การส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียน ความรุ้เกี่ยวกับอาเวียน การวิจัยด้านอาเวียน การส่งเสริมการแลกเปลี่ยนนักศึกษา สนับสนุนการถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างสถาบันอุดมศึกษาของไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างต่อเนื่องและเป้นระบบ...http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=21518&Key=hotnews
วันจันทร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น