วันอาทิตย์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN-NARCO

             15 กันยายน พ.ศ. 2557 ที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พล.อ.ไพ
บุลย์ คุ้มฉายา รัฐมตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานประชุมหัวหน้าหน่วยงานกลางด้านยาเสพติดของประเทศอาเวียนทั้ง 10 ประเทศ และประเทศคู่เจรจา 3 ประเทศ ได้แก่ จีน ญี่ป่นุ เกาหลี เพื่อเตียมพร้อมก่อนไทยเข้าสู่ประชาคมอเซียน ในปีหน้าเนื่องจากคาดการณ์ เมื่อเปิดเสรีอาเซียนแล้ว ปัญหายาเสพติด จะทวีความรุนแรงขึ้น ขณะเดียวกัน ไ้มีการเปิดสำนักงาน ป.ป.ส. อาเซียน อย่างเป็นทางการ เพื่อตอบสนองนดยบายของรัฐบาลในการแก้ปัญหาเสพติดในกลุ่มปรเทศอาเซียน ให้เป้นไปอย่างมีประสทิะิภา โดยมีไทยเป็นแกนนำ ประสานงานการสืบสวนคดียาเสพติดที่เป็นเป้าหมายกับประเทศอาเซียนอื่นๆ
           พล.อ.ไพบูลย์ กล่าวว่า การเปิดสำนักงาน ป.ป.ส.อาเวียน จะใช้เป็นศูนย์กลางในการกำหนดมาตรการป้องกันปราบปรามยาเสพติดในภูมิภาค ซึ่งจะมีการประชบุมระดับทวิภาคีกับประเทศต่างๆ ดดยเฉพาะ สหภาพเมียนมาร์ ซึ่งเป็นแหล่งผลิตยาเสพติดสำคัญ เพื่อหาแนวทางร่วมสำคัญ เพื่อหาแนวทางรวมสกัดกั้นยาเสพติด นอกจากนี้ จะมีการหารือร่วมกันถึงต้นตอของปัญายาเสพติดที่แท้จริง เนื่องจาก สภาพเศราฐกิจไทยช่วงที่ผ่านมา แม้จะซบเซา กลับมีปัญหารยาเสพติดเพิ่มขึ้น จึงต้องหาที่มาว่าเกิดจากอะไรเพื่อให้สามารถแก้ปัญาได้อย่าวตรงจุดมากขึ้นwww.posttoday.com/crime/318392
            24 กุมภาพันธ์ 2559 โรงแรมเซ็นจูรี่ปาร์ ถ.รชปรารภ กทม.ได้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเซียน ครั้้งที่ 1/2559 โดยมีจ้าหน้าท่สำนักงาน ป.ป.ส., สำนักงานเลขาธิการอาเซียนและเครื่อข่ายองค์กรวิชากรสารเสพติด ผู้แทนจากประเทศในภูมิภาคอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ และประเทศคู่เจรจา 3 ประเทศ  ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น เกาะหลี เข้าร่วมประชุม เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวังอาเซียนและกำหนดแนวทางในการจัดทำรายงานการเผ้าติดตามยาเสพติดในอาเซียน ประจำปี 2016 และเตรียมเสนอร่างรายงานดังกล่าวในการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดครั้งที่ 37 ซึ่งกำหนดจะจัดขึ้นในปี 2559 ที่ประเทศไทย
         
 นางนฤมล ช่วงรังษี รองเลขาธิการ ป.ป.ส. กล่าวว่า สือบเนื่องจากการจัดประชุมเชิ
ปฎิบัติการดังกล่าว ดดยมีผุ้แทนจากประเทศอาเวียนผุ้แทนประเทศคู่เจรจา และองค์กรระหว่งประเทสเข้าร่วมการประชุมฯ ทั้งนี้ ที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลเฝ้ระวังปัญหายาเสพติดภายในประชาคมอาเซียนร่วมกันและให้ดำเนินการจัดตั้ง คอนแทค เพอร์ซัน ด้านอุปทาน และอุสงค์ ประเทศละ 2 คน เพื่อทำหน้าที่ประสานและร่วมเป็นทีมวิเคราะห์ข้อมูลในการจัดทำรายงานเกี่ยวกับยาเสพติด
               โดยกล่าวต่อว่า สำหรบสำนักงาน ป.ป.ส. ประเทศไทย ในฐานะผุ้ประสานงานกลางของกลุ่มประทเศสมาชิกอาเซียน ได้นำผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมเครือข่ายข้อมุลเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเซียนฯ ดังกล่าวพร้อมทั้งแผนการดำเนินงานวิเคราะห์และเชื่อมดยงข้อมุล้าระวังปัญหารยาเสพติดอาเซียนระยะ 1 ปี เสนอต่อมี่ประชุม ในปี 2558 ณ ประเทศสิงคโปร์ และที่ประชุม มีมติเห้นขอบเแล้ว
               "การประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานการเผฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเซียน ครั้งที่ 1/2559 ของสำนักงาน ป.ป.ส.อาเซียน จึงเป็นการเชิญผุ้ประสานประจำแต่ละประเทศ และองค์กรที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุมมีมวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเวียน เพื่อแสดงห้เห็นถึงความก้าวหน้าอีกระดับหนึ่งของการรวมตัวในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดเชิงรุกในประชาคมอาเวียนได้อย่างมีประสทิธิภาพต่อไป" รองเลขาธิการ ป.ป.ส. กล่าวwww.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9590000019899
                 ป.ป.ส. ขับเคลื่อนความร่วมมือเฝ้าระวังยาเสพติด ระดับภุมิภาคอาเซียน เมื่อวันที่ 30 ก.ค. 60 นายพิภพ ชำนิวิกัยพงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดหรือ ป.ป.ส. เป็นประธานเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดอาเซียน ครั้งที่ 4 โดยมีผุ้แทนจากประเทศในภูมิภาคอาเซียนที่ 10 ประเทศ และประเทศคูเจรจา 3 ประเทศผู้แทนจากสำนักเลขาธิการอาเซียน, เครือข่ายองค์กรวิชาการสารเสพติด และเจ้าหน้าที่ฝ่ายไทยที่เกี่ยวข้อง
               การประชุมครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อร่วมกันจัดทำรารงานเ้าระวังสถานการณืยาเสพติดอเาซียน ประจภปี 2559 ฉบับที่ 2 เพื่อเตรียมความพร้อมของประเทศสมาชิก สำหรับการพัฒนาฐานข้อมูลเผ้าระวังสถานการณ์ยาเสพติดอาเซียนบน เวปไซด์ อาเซียน-นาร์โค รวมถึงเพื่อส่งเสริมความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนด้านวิชาการที่เกี่ยวข้อกับยาเสพติด ระหว่างประเทศสมาชิกอาเวียน และเครื่อข่ายอาเซียนเฝ้าระวังยาเสพติด
             จากสถานการณืปัญหายาเสพติดที่เพ่ิมากขึ้นในภูมิภาคอาเวียน ประเทศไทยโดยสำนักงาน ป.ป.ส. จึงได้มีการจัดตั้งเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหายาเพติดอาเซียน ในปี 2558ื ภายใต้กรอบการปฏิบัติงานของศูนย์ประสานงานความร่วมมือด้านยาเสพติดอาเซียน หรือ สำนักงาน ป.ป.ส. อาเซียน
             อย่างไรก็ตาม สำนักงานป.ป.ส. ประเทศไทย ในฐานะเจ้าภาพได้จัดประชุม เพื่อร่วมกันจัดทำรายงารเฝ้าระวังยาเสพติดมาแล้ว 3 ครั้งได้รับความร่วมมือจากทุกประเทศเป้อย่างดี ซึ่งเป้นตครั้งแรกที่ประเทศในภุมิภาคได้มีการจัดทำรายงานสถานกาณณ์ยาเสพติดประจำปี 2558 ร่วมกัน ซึ่งสถานการณืยาเสพติดในภุมิภาคอาเซียนในปี 2559 ได้รับความร่วมมือจากประเทศสมชิกในหารเปิดเผยข้อมูลมากขึ้น
              ทั้งนี้ พบว่าในพื้นที่หลายๆ ประเทศ มีผุ้กระทำความผิดเกี่ยวกับเมทแอมเฟตามีนมากว่าคตรึ่งหนึ่งของภูมิภาคโดยมีข้อเสนอจากประเทศสมาชิกว่าควรเพ่ิมการเผ้าระหวังการซื้อขายยาเสพติดผ่านทาง โซเชียล เน็ตเวิร์ค รวมถึงการใช้ยาในทางทีผิดมากยิ่งขึ้น และควรเพ่ิมสายด่วนระหว่างประเทศสมชิก ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่ให้สามารถสื่อสารถึงกันได้ทันท่วงที
             สำหรับแผนการดำเนินงานที่สำคัญอีกประการหนึ่งของการจัดตั้งเครือข่ายเผ้าระวังาเสพติดอเซียน คือ การสร้างฐานข้อมุลเฝ้าระวังยาเสพติดของอาเวียน จากแบบสอบถามที่ประเทศสมาชิกได้ออกแบบร่วมกันเืพ่อเก็บข้อมูลยาเสพติดในภุมิภาค เพื่อให้ประเทศสมาชิกสามารถนำเข้ข้อมูได้โดยตรง
             นายพิภพ กล่าวว่า ส่ิงสำคัญในารจัดประชุมครั้งนี้ คือ ประเทศสมาชิกได้ร่วมกันกำหนดนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อดำเนินการต่อยาเสพติดหลักที่แร่ระบาดในภุมิภาคให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกยังได้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และแจ้เงเตือนตัวยาใหม่ที่ค้นพบว่าเร่ิมมีการแพร่ระบาดในภูมิภาค
            ทั้งนี้ เพื่อร่วมกันเฝ้าระวังและควบคุมได้ทันท่วงที่ โดยแจ้งแตือนหากพบสัญญาของปัญหาที่เกิดขึ้นในกลุ่มประเทศสมาชิกตามวาระ ซึ่งเป้นที่ตกลงกันของประเทศสมาชิก และร่วมกันตรวจสอบรายงานเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด ปี 2559 ซึ่งเป็นรายงานฉบับที่ 2 ภูมิภาคwww.thairath.co.th/content/1020869
       
  ป.ป.ส. อาเซียน 4 ยุทธศาสตร์สกัดค้ายาข้ามชาติ
            การจัดตั้ง สำนักงาน ป.ป.ส. อาเซียน มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กางข้อมุลเกี่ยวยาเสพติด สนองตอบนโยบายปราบยาของชาติสมาชิกประชาคมอาเซียน 10 ประเทศ
            ที่ผท่านมาสถิติการจับกุมปุ้ต้องปาชาวต่างชาติในคดรยาเสพติดในประเทศไทย ระหว่างปี 2551-2555 พบว่ามีกลุ่มคนจาชาติอาเซยรถูกจับกุมในไทยเพื่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยสัญชาติที่ถูกจับมากที่สุดคือ ลาว รองลงมาคือพม่า กัมพูชา และมาเลเซีย ส่วนชนิดยาเสพติดที่มีการจับกุมมากเป็นอันดับต้นๆ ได้แก่ ยาบ้า ไอซ์ เฮโรอีน และกัญชา
             ท้งนี้ ตลอดหลายสิบปี ปัญหายาเสพติดถือเป้นปัญหาเรื้อรัวและทวีความรุนแรงมากขึ้นนภูมิาภคอาเซียน ตั้งแต่การลักลอบลปลูกฝิ่นและผลิตเฮโรอีนในพื้นที่ "สามเหล่ยมทองคำ" ซึ่งเป็นเขตแดนติดต่อกันของ 3 ประเทศ คือเมียร์มาร์ ลาว และไทย ตามด้วยการลักลอบปลูกกัญชาทั้งในไทย ลาว อินโนีเซีย ไม่เว้นแม้กระทั่งฟิลิปปินส์
             ประเทศต่างๆ ในอาเวียนถูกใช้เป็นจุดแวะพักยาเสพติดจากสามเหลี่ยนมทองคำ ก่อนลำเลียงต่อไปยังประเทศทีสามในทวีปยุโรป อเมริการและออสเตรเลีย
              จากสถานการณ์ดังกล่าว ทำให้ใการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ครั้งที่ 31 เมื่อ 2541 ประเทศฟิลิปปินส์ รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน 9 ประเศ ได้ลงนาน ปฎิญญาร่วมว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียน ค.ศ. 2020 พร้อมวางเป้าหมายแสดงเจตนารมณ์ทางการเมืองที่สำคัญ คื อการประกาศปฎิยญาร่วว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียนฯ เพื่อเน้นย้ำถึงความพยายามของชาติสาชิกในการต่อสู้กับการแพร่ระบาด การต้า และการใช้ยาเสพติดในศตวรรษที่  21 และการตั้งสำนังาน ป.ป.ส. อาเซียน ก็เป็นผลผลิตหนึ่งจากปฏิญญาดังกล่าว เพื่อเป็นหน่วยงานกลางบูรณาการเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจากทั้ง 10 ประเทศให้มาร่วมทำงานกันอย่างใกล้ชิด โดยกำหนดยุทธศาสตร์สำคัญ 4 ข้อที่จะต้องดำเนินการ คือ
              1 ยุทธศาสตร์การสร้างความร่วมมือด้านการปราบปราม ซึ่งจะร่วมมือทั้งด้านการข่าว การปราบปรามกลุ่มผุ้ผลิตในประเทศเมียนมาร์ การสกัดกั้นตามแนวชายแดน ท่าอากาศยาน ละการติดตามยึดทรัพย์สินของขบวนการต้ายาเสพติดข้ามชขาติทั้งในกลุ่มอาเวียนและประเทศอื่นๆ
              2. ยุทธศาสตร์การลดพื้นที่ปลูกพืชเสพติด ด้วยรูปแบบการพัฒนาทางเลือกตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
              3. ยุทธศาสตร์การลดการแพร่ระบาดในกลุ่มที่กำหนเป็นเป้าหมาย ร่วมกันสกัดวงจรผุ้สพรายใหม่ โดยเฉพาะเยาวชนอาเซียน พร้อมทั้งสร้างมารตรฐานร่วมกันในด้านการบำบัดรักาาและฟื้นฟูสมรรถภาพผุ้ติดยาเสพติด
              4. ยุทธศาสตร์ด้านการวิจัย วิชาการ การพัฒนาความรวมมือด้านนิติวิทยาศาสตร์ กฎหมาย เพื่อให้ความร่วมมือของกลุ่มอาเว๊ยนมีความก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น
              นอกจากการตั้ง ป.ป.ส. อาเซียนแล้ว ประชาคมอาเว๊ยนยังมีกลไกความร่วมือด้านยาเสพติดอีกหลายกลไก ที่สำคัญคือการยกสถานะของคณะผุ้เชี่ยวชาญด้านยาเสพติดอาเซียนขึ้นเป็นระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน ซึ่งจะรายงานปัญหาตรงต่อคณะกรรมการประจำอาเซยน ซึงเป้ฯองค์กรสูงสุดในการบริหารความร่วมมือในกรอบอาเซียนในด้านต่างๆ
          รวมทั้งการตั้งคณะกรรมการเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านอาชญากรรมข้ามชาติ โดยยาเสพติดเป็น 1  ใน 8 สาขาของความร่วมมือเพื่อปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติต้องจัดทำรายงานเสนอตรงต่อที่ประชุมรับยมนตรีอาเซียนว่าด้วยอาชญากรรมข้ามชาติด้วยwww.bangkokbiznews.com/news/detail/605360
             

วันเสาร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Drug Matters

             ในบรรดาปัญหาของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน นอกจากปัญหาการระบาดของโรค
ติดต่อร้ายแรง เช่น การติดเชื่อเอชไอวี โรเอดส์แล้ว ปัญหายาเสพติดยังเป้นอีกปัญหาหนึ่งเป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงต่อประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนมากเช่นกัน เนื่องจากยาเสพติดจะทำลายศักยภาพของประชาชนและเยาวชนอาเซียนและจะส่งผลต่อขีดความสามารถในการพัฒนาในอนาคต หากพิจารณาลักษระและความเกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติดของประเทศต่างๆ ในอาเซียน  ซึ่งแบ่งเป็น
              ประเทศที่มีสถานะผุ้ผลิตยาเสพติด ได้แก่ เมียนมาร์ ซึ่งเป็นผุ้ผลิตฝิ่น เฮโรอีน ยาบ้า และไอซ์
              ประเทศที่มีสถานะเป็นทางผ่านยาเสพติด หรือเป็นเส้นทางลำเลียงยาเสพติดจากแหล่งผลิตในเมียนมาร์ไปยังประเทศอื่นๆ ได้แก่ ไทย ลาว กัมพุชา เวียดนาม มาเลเซีย
           
ประเทศที่มีสถานะเป็นผุ้บริโภคหรือเป็นแหล่งแแพร่ระบาดยาเสพติด ได้แก่ ไทย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย
              สาเหตุที่ไม่มีประเทศบรูไนและสิงคโปร์ ปรากฎในการจำแนกหลุ่มประเทศที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด เนื่องจากเป้นประเทศที่มีปัญหายาเสพติดน้อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ในกลุ่มอาเวียน แต่ก็ไม่ได้หมายคึวามว่าต่างก็เป็นประเทศที่ปลอดยาเสพติดอย่างสิ้นเชิง เนื่องจากเมื่อศึกษาข้อมุลเกี่ยวกับลักษระของปัญหายาเสพติดหลักที่แพร่ระบาดในประศสมาชิกอาเซียน และการดำเนินงานของอาเซียนจะพบว่า
            - พ.ศ. 2519 มีการประกาศปฎิญญาอาเซียนว่าด้วยหลักการในการต่อต้านการใช้ยาเสพติดในทางที่ผิด
            - พ.ศ.2541 มีการประกาศปฎิญญาว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียน พ.ศ. 2563
            - พ.ศ.2543 รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเห้นควรให้ร่นเวลาการปลอดยาเสพติดในอาเวียนจากปี พ.ศ. 2563 เป็นปี พ.ศ. 2558
แอมเฟตามีน
            - พ.ศ. 2548 มีการยกร่างแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อต่อต้านการลักลอบค้่ายาเสพติด
            - พ.ศ. 2552 เจ้าหน้าที่อาวุโสอเาซียนด้านยาเสพติดให้การรับรองแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อต่อต้านการลักลอบค้ายาเสพติด
            - พ.ศ.2553 มีการกำหนดเกณฑ์วัดผลสำหรับการดำเนินงานการปราบปามการผลิตและการลักลอบลำเลียงยาเสพติด ได้แก่
                   การขจัดเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการผลิตยาเสพติด
                 
 การขจัดเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการลักลอบลำเลียงยาเสพติด
                   การขจัดการลักลอบและการนำสารตั้งต้นไปใช้ในการผลิตยาเสพติด
                   การส่งเสริมความร่วมมือข้ามพรมแดนและการปฏิบัติการด้านการปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติ
               เพื่อให้การปราบปรามการผลิตและการลักลอบวำเบียงยาเสพติดเกิดผลในทางปฏิบติ ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ใช้ปฏิญญาว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียน พงศ. 2558 ซึ่งหมายถึง "การดำเนินกิจกรรมการควบคุมยาเสพติดที่ผิดกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสบผลสำเร็จ พร้อมทั้งลดผลต่อเนื่องต่างๆ ในเชิงลยอันอาจเกิดขึ้นกับสังคม" เป็นกรอบความคิดหลัก และได้กำหนดกรอบทางยบุทธศาสตร์ไว้ 6 กรอบความร่วมือ ดังนี้
             1. กรอบความร่วมมือในด้านการลดอุปทานยาเสพติด คือการดำเนินการปราบปรามยาเสพติด ทั้งในด้านการข่าว การปราบปรามกลุ่มการต้ายาเสพติด การสกัดกั้นตามท่าอากาศยาน การยคึดทรัพย์สิน ฯลฯ
            2. กรอบความร่วมมือในด้านการเสริมสร้างความมั่นคงชายแดน คือ การดำเนินงานในด้านการสกัดกั้นยาเสพติดตามแนวชายแดน การเสริมสร้างชุมชนตามแนวชายแดนในเข้มแข็ง การจัดระเบียบชายแดน ฯลฯ
            3. กรอบความร่วมมือการลดพื้นที่ปลูกพืชเสพติดด้วยการพัฒนาทางเลือก คือ การใช้แนวทางการพัฒนาทางเลือกตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาลดปัญหาการปลูกฝิ่น
           
4. กรอบความร่วมมือด้านการสร้างภุมิคุ้มกันป้องกันยาเสพติด คือการดำเนินการด้านการป้องกนยาเสพติดในกลุ่มี่กำนดเป็นเป้าหมายร่วม สกัดวงจรของผุ้เสพยาเสพติดรายใหม่ในกลุ่มประเทศอาเซียน
เมทแอมเฟตามีน
            5. กรอบความร่วมมือด้านการแด้ไขผุ้เสพยาเสพติด คือการดำเนินการด้านบำบัดรักษาผุ้เสพยาเสพติด การพัฒนาความพร้อมเมื่อเกิดเงื่อนไขการเคลื่อนย้ายประชากรในกลุ่มประเทศอาเซียน
            6. กรอบความร่วมมือด้านการพัฒนาวิชาการและการพัฒนาในด้านต่างๆ ได้แก่ การพัฒนาความร่วมมือในด้านการวิจัย วิชาการ การพัฒนาความร่วมมือด้านนิติวิทยาศาสตร์ต่างๆ ดังกล่าว จะเห็นว่าถ้าทุกประเทศในประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนให้ความร่วมมือดำเนินการตามกลยุทธ์ต่างๆ ที่กำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง จริงจัง และจริงใจ เชื่อได้ว่าปัญหายาเสพติดในประเทศอาเวียนน่าจะคลี่คลาย ลงได้ตามสมควร ถึงแม้ว่าอาจจะไม่บรรลุถึงเป้าหมายการเป็นอาเวียนปลอดยาเสพติด ภายใน พ.ศ. 2558 ดังที่กำหนดไว้ก็ตามwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4203&filename=index
              ประเทศในกลุ่มอาเซียนมีความร่วมมือกันมากนานแล้วในเรื่องของปัญหายาเสพติด แต่ด้วยสถานกาดรณืของอาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบยาเสพติดซึ่งเป้นปัญหาใหม่ที่เกิดขึ้น จำเป้นอย่งย่ิงที่ความร่วมมือในเรื่องนี้ต้องมีความเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนมากขึ้น โดยเฉพาะเมื่ออยู่ภายใต้กรอบความร่วมมือของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
            อาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบยาเสพติดเป็นอาชญากรรมที่กระทำโดยองค์กรอาชญากรรม มีการทำงานแบบลับ มีกระบวนการซับซ้อนเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกจับกุมกวาดล้าง ด้วยเหตุนี้ในการดำเนินการด้านการสืบสนวนติดตามจึงต้องใช้เทคนิคการสืบสวนแบบพิเศษเข้ามาดำเนินการด้วย
             ในการประชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียน ครั้งที่ 21 (2555) ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพุชา มีการับรองปฏิญญาร่วมของผุ้นำอาเวียน เพื่อให้เกิดการเป้นอาเวียนที่ปลอดยาเสพติดในปี 2015 (พ.ศ.2558) ซึ่งเป้นการเลื่อนกำหนดการปลอดยาเสพติดของอาเซียนให้เร็วขึ้นอีก 5 ปี จากเดิมที่กำหนดไว้ในการประกาศวิสัยทัศน์ของการเป็นเขตปลอดยาเสพติดอาเวียนภายในปี 2020 ( พ.ศ. 2563) ทั้งนี้ ได้มีการกำหนดยิยามของ "ประชาคมที่ปลอดยาเสพติด" ว่าหมายถึง การที่สมาชิกอาเวียนสามารถควบคุมปัญหายาเสพติดได้อย่งมีประสทิธิภาพและประสบผลสำเร็จ โดยไม่สงผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตที่เป็นปกติสุขของสังคม
            ประเทศในอาเซียนที่ประสบปัญหาในเรื่องการเสพยาเสพติดในระดับรุนแรง ได้แก่ อินโดนีเซีย เมียนมาร์ ฟิลิปปินส์ ไทย ในขณะที่ กัมพุชา ชาว มาเลเซีย และเวียดนาม ปัญหาการเสพยาเสพติดอยู่ในระดับปานกลาง สำหรับประเทศบรูไนและสิงคโปร์จัดเป็นประเทศที่มีปัญหายาเสพติดน้อย
            การป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบยาเสพติดโดยลำพังเฉพาะประเทศใดๆ จะกระทำได้ยากลำบากเนื่องจากสาเหตุหลายประการ เนื่องจาก
           - ความหลากหลายของรูปแบบการกระทำผิด กล่าวคือมีการขนส่ง การลักลอบลำเลียงในรูปแบบใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม ชเ่น การขนส่งทางทะเล ช่องทางไปรษณีย์ การปลอดแปลงเอกสารเพื่ให้ผ่านพิธีการศุลกากร
            - การกระทำผิดบนพื้นที่คาบเกี่ยวระหว่างประเทศ ผุ้ร่วมกระทำผิดมีมากกว่าหนึ่งเชื้อชาติ การว่าจ้าง มีกระบวนการที่ซับซ้อนโดยที่ผุ้รับจ้างไม่รู้ถึงผู้รับจ้างต้นทางที่แท้จริง
            - กระบวนการระหว่งประเทศในเรื่่องยาเสพติดที่ความล่าช้า เนื่องจากข้อจำกัดทางกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องพยานหลักฐานและนโยบายของแต่ละประเทศในการให้ความร่วมมือค้นหาพยานหลักฐาน
            - ยังประสบปัญหารเรื่องขอบเขตอำนาจในการจับกุมและดำเนินคดีผุ้กระทำผิดข้ามพรมแดน
            ด้วยเตหุนี้เอง หากประเทศอาเซียนต้องการแก้ไขปัญหารอาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบยาเสพติดอย่งจริงจังแล้ว จำเป้นจะต้องร่วมมือกันในการวางกรอบกฎหมายระหว่างประเทศให้มีความรัดกุมและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้การจัดการกับปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบยาเสพติดมีความคล่องตัวมากขึ้น เพื่อให้คาดหวังได้ว่าการเป็นอาเวียนที่ปลอดยาเสพติดใน พงศ. 2558 เป็นความฝันที่ใกล้ความจริงมากยิ่งขึ้นthailand.prd.go.th/1700/ewt/aseanthai/ewt_news.php?nid=4531&filename=index

           
            -

วันศุกร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Structure

          โครงสร้างอาเซียน 
         

         ประกอบด้วย การประชุมสุดยอดอาเซียน คณะมนตรีประสานงานอาเซียนซึ่งแบ่งออกเป็นสามเสาหลัก ประกอบด้วย 1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Comunity - ASC) 2) ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน (ASEAN Socio3Cultural Comnunity - ASCC) อาเซียนกำลังเร่งรวมตัวทงเศราฐกิจเพื่อสร้างเขตการต้าเสรีอาเซียนและเขตการลงทุนอาเซียน เพื่อพัฒนาอาเซียน ซึ่งมีประชากรกวา 567 ล้านคน และมีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ให้ป็นตลาดและฐานการผลิตที่เป้นหนึ่งเดียวภายในปี 2558 ซึ่งจะทำให้อาเวียนน่าสนใจและมีอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ 3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ASEAN Socio-Cultural Community - ASCCASEAN Socio-Cultural Community - ASCCอาเวียนกำลังมุ่งพัฒนาความร่วมมือในสาขาการศึกาา วัฒนธรรม สาธารณสุข พลังงาน สวัสดิการสังคม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีเป้าหมายให้ประชาชนในภูมิภาค รู้จักและเข้าใจกันมากขึ้นมีความรุ้สึกเป้นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียนนี้
          คณะมนตรีประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียนทำหน้าที่เตรียมกรประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานความตกลงและข้อตัอสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียนประสารงานระหว่าง 3 เสาหลัก ดูแลการดำเนินงานและกิจการต่างๆ ของอาเวียนในภาพรวม คณะมนตรีประสานงานอาเวียนจะมีการประชุมอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี และมีองค์กรเฉพาะสาขา
          คณะมนตรีประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย คณะมนตรีประชาคม 3 เสาหลัก ได้แก่ คณะมนตรีการเมืองและความมั่นคงอาเซียน คณะมนตรีประชาคมเศราบกิจอาเวียน และคณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งเป็นผู้แทนที่ประเทศสมาชิกแต่งตั้งให้เป็นผุ้รับผิดชอบแต่ละเสาหลัก มีอำนาจหน้าที่ในการประสานงานและติดตามการทำงานตามนโยบาย ดดยเสอนรายงานและข้อเสนอแนะต่อที่ประชุมผุ้นำ มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ประธานการประชุมเป็นรัฐมนตรีที่เหมาสมจากประเทศสมชิกซึ่งเป็นประธานอาเซียน
        องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา องค์การระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (เช่น ด้านสาะารณสุข ด้านกลาโหม ด้านการศึกษาฯลฯ) ประกอบด้วยรัฐมนตรีเฉพาะสาขา มีหน้าที่ปฏิบัติตามข้อตกลงและข้อตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่อยู่ในขอบข่ายการดำเนินงานของตน และเสริมสร้างความร่วมมือในสาขาของแต่ละองค์กรให้เข้มแข็งขึ้น เพื่อสนับสนุนการรวมตัวของประชาคมอาเซียน
        เลขาธิการอาเซียนและสำนักเลขาธิการอาเซียน สำนักเลขาธิการอาเซียนได้จัดตั้งขึ้นตามข้อตกลงที่นามโดยรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเวียน ครั้งที่ 1 ในปี 2519 เพื่อทำหน้าที่ประสารงานและดำเนินงานตามดครงการและกิจกรรมต่างๆ ของสมาคมอาเซียน และเป็นศุนย์กลางในการติดต่อระหว่างสมาคมอเซียน คณะกรรมการ ตลอดจนสถบันต่างๆ และรัฐบาลของประเทศสมชิกสำนักเลขาธิการอาเซียนตั้งอยู่ที่รุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียน โดยมีหัวหน้าสำนักงาน เรียกว่า ไลขาธิการอาเซียน" ซึ่งได้รับการแต่างตั้งดดบที่ปรชุมสุดยอดอาเซียน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี และต้องได้รับเลือกจากคนชาติของรัฐสมาชิก โดยหมุนเวียนตามลำดับตัวอักษร ผุ้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบันเป็นคนไทย คือ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ ซึ่งมีวาระดำรงตำแหน่งระหว่างปี่ ค.ศ. 2008-2012 (พ.ศ. 2551-2555)
        คณะกรรมการผุ้แทนถาวรประจำอาเซียน เป็นผุ้แทนระดับเอกอัตรราชทุตที่แต่างตั้งจากประเทศสาชิกให้ประจำที่สำนักงานใหญ่อาเซียน กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียน มีหน้าที่สนับสนุนการทำงานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียนและองค์กรระัดบ รัฐมนตรีเฉพาะสาขา ประสานงานกับเลขาธิการสำนักงานอาเซียนและสำนักงานเลขาธิการอาเซียนในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และประสานงานกับสำนักงานเลชาธิการอาเซียนแห่งชาติและองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเวียนเฉพาะสาขา
         สำนักงานอาเซียนแห่งชาติ หรือกรมอาเวียน เป็นหน่วยงานระดับกรมในกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน วึ่งแต่ละประเทศได้จักตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่รับผิดชอบประสานงาน สนับสนุนภารกิจและความร่วมมือต่างๆ เกี่ยวกับอาเวียนในประเทศนั้นๆ สำหรับประเทศไทยหน่ยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมอาเวียน กระทรวงการต่างประเทศ
         องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นโดยความประสงค์และหลักการของกฎบัตรอาเซียนเกี่ยวกับการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขึ้นพื้นฐาน ซึ่งคณะทำงานและอำนาจหน้าทีจะได้กำหนดโดยที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนต่อไป
          มูลนิธิอาเซียน มูลนิธิกาเวียสนับสนุเลขาธิการอาเวียนและดำเนินการร่วมกับอค์กรของอาเวียนที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการสร้างประชาคมอาเวียน โดยการส่งเสริมความสำนึกที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของอาเซียน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชน การดำเนินงานร่วมกันที่ใกล้ชิดระหว่งภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม นักวิชาการ และผุ้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ในอาเซียนregion2.prd.go.th/main.php?filename=asean_structure
         ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 
          แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังตมและวัฒนธรรมอาเซียน ประกอบด้วย
          การพัฒนามนุษย์ 
          - ให้ความสำคัญกับการศึกษา
          - ลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
          - ส่งเสริมการจ้างงานทีเหมาะสม
          - ส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ
          - การอำนวยความมสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์
          - เสริมสร้างทักษะในการประกอบการสำหรับสตรี เยาวชน ผุ้สูงอายะ และผุ้พิการ
          - พัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ
         การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม 
          - การขจัดความยากจน
          - เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและความคุ้มกันจากผลกระทบลบจากการรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัฒน์
          - ส่งเสริมความมั่นคง และความปลอดภัยด้านอาหาร 
          - การเข้าถึงการดุแลสุขภาพและส่งเสริมการดำรงชีวิตที่มีสุขภาพ
          - การเพิ่มศักยภาพในการควบคุมโรคติดต่อ
          - รับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด
          - การสร้างรัฐที่พร้อมรับกับภัยพิบัติและประชาคมที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น
         ความยุติธรรมและสิทธิ
          - การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการสำหรับสตรี เยาวชน ผุ้สูงอายุ และผุ้พิการ
          - การคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน
          - ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ
         ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
          - การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก
          - การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามแดน
          - ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมขอประชาชน
          - ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม
          - ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเขตเมืองต่างๆ ของอาเซียน และเขตเมือง
          - การทำการประสานกันเรืองนดยบายด้านส่ิงแวดล้อมและฐานข้อมูล
          - ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝัง และทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน
          - ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาิต และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
          - ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้ำจืด
          - การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการจัดการต่อผลกระทบ
          - ส่งเสริมการบริหารจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
          การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
           - ส่งเสริมการตระหนักรับรุ้เกี่ยวกับอาเซียน และความรู้สึกของการเป็นประชาคม
           - การส่งเสริมและการอนุรักษณ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน
           - ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม
           - การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน
           การลดช่องว่างทางการพัฒนา

วันพฤหัสบดีที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Education Watch

            ด้วยทิศทางการศึกษาโลกในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงในหลากหลายรูปแบบ เพราะปัจจัยขององค์ประกอบทางด้านการศึษาและความต้องการของตลาดแรงงานมีพลงัติอยู่ตลอดเวบลา จึงทำให้แนวทางด้านการศึกษาจำเป็นจ้องมีการปรับเปลียนวิธีการและแนวทางเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
            "ประชาชาติธุรกิจ" มีโอกาสสัมมทภาณืพิเศษ" ศ.ตร.วาสิลิโอส อี เอฟเทอนาคิส" นายกสมาคมเวิลด์ไดดัก และสมาคใไดดักต้า แห่งประเศเยอรมนี กูรูด้านการศึกษาระัับโลก ถึงประเด็นและทิศทางของการศึกษาในปัจจุบัน
             เบื้องต้น "ศ.ตร.วาสิลิโอส อี เอฟเทอนาคิส" หล่าวว่าสถานกาณณ์การศึกษาทั่วโลกในปัจจุบันต้องเผชิญกับส่ิงที่ท้าทาย โดยในช่วงเวลา 40 ปี ที่ผ่านมาถือว่ามีคบวามแตกต่างกับปัจจุบันเป็นอย่งมากโดยเฉพาะเรื่องความต้องการของเด็ก ทำใหต้องเกิดการปฏิรูปาการศึกษาทั่งระบบ เพื่อรับกับการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
            "สิ่งที่จะต้องทำในการปฏิรูปการศึกษา ประกอบด้วย  ปรเด็นหลักก ๆ คือการปฏิวัติทฤษฎีการศึกษาระบบการสอนและดิจิทัล ซึ่งในเรื่องของการปฏิวัติทฤษฎีการศึกษา โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของเด็ก การมองว่าเด็กต้องเป็นศูนย์กลาง และระบบที่เป็นตัวกำหนดการเรียนรู้ของเด็ก ซึ่งวิธีคิดแบบเดิมนี้ถือว่าใช้ไม่ได้"
              ทฤษฎีใหม่ของการศึกษานับจากนี้ไป คือต้องเปลี่ยนวิธีคิดและเน้นให้การศึกษามีความสัมพันะ์กับสังคมรอบตัว ทั้งการสัมผัส สื่อสาร และติดต่อระหว่างกัน ตัวอย่างเช่น ภาษา ต้องทำให้เกิดการติดต่อระหว่งบุคคลที่ 3 ซึ่งจะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน เกิดการแสดงความคิดเห็นและถกเถียงระหว่งเพื่อนในชั้นเรียน ฉะนั้น ความรุ้ที่เกิดขึ้นจะป็นการข้ามกันไปข้ามกันมา ทัเ้งระหว่างครู นักเรียน และผุ้ปกครอง ซึ่งจากรายงาน Co-Construction ของนิวซีแลนด์ ระบุว่า วิธีการใหม่จะทำให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียนรุ้สูงมาก
Worlddidac Asia 
              "ทฤษฎีนี้จะเป็นกุญแจใหม่ที่สร้างการเรียนรู้ของเด็ และจะกำหนดครุให้รู้จักตั้งคำถามมากว่าการบอกเล่าซึ่งจะทำให้เด็กเรียนรุ้ด้วยวิะีการใหม๋ ๆ และส่ิงทนี้จะเป้ฯการเปลี่ยนแลงครู จนนำมาสู่การเปลี่ยนแปลงทฤษฎีการสอนต่อไป"
               ทั้งนี้ "ศ.ดร.วาสิลิโอส อี เอฟเทอนาคิส" กลาวเพิมเติมว่า เมื่อวิะีการเปลี่ยน ทั้งวิธีการเรียน วิธีการสอน จะทำให้ทั้งเด็ก และครูตื่นตัวอยุ่เสมอ แต่ส่ิงสำญต้องทำให้เกิดบรรยากาศการมัส่วนร่วมในชั้นเรียน ทั้งการถกประเด็นการแสดงความคิดเห็น เพ่อการกระตุ้นการเรียนรุ้ในอีกทางหนึ่ง
               "วิธีการสอนใหม่ต้องมีการแบ่งอายุ เพศ วัฒนธรรม เพื่อให้เกิดการกำหนดรายละเอียดที่มีความแตกต่างกัน ซึงการแบ่งแยกนี้จะทำให้เกิดการกำหนดวิธีกาเรรยนรู้ของแต่ละบุคคล โดยทฤษฎีใหม่จะเนนความสามารถในด้านเด่ินของเด็กมากขึ้น เพราะมนุษย์ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงจุดด้อยได้"
               ฉะนั้น จะต้องพัฒนาจุดเด่นให้ดีขึ้น เข้มแข็งขึ้น ที่สำคัญแนวทางนี้จะเื้อใเห้เกิดการเรียนรุึ่ให้กับคนทุกกลุ่ม สร้างความเท่าเทียมในการเข้าถึงการศึกาา แม้ว่าการเรียนรุ้ซึ่งกันและกันของคคนจะเป็น่ิงสำคัญ แต่ประเด็นของเรื่องดิจิทัล และเทคโนโลยีก็ถือเป็นปัจจัยส่วนหนึ่งที่สำคัญต่อการเรียนรู่เนื่องจากเทคโนดลยีปัจจุบันสามารถบันทึกข้อมุลสถิติของพัฒนาการการเรียนรู้ได้ ซึ่งสามารถนำข้อมุลเห่านั้นมาวิเคราะห์ เพื่อการสร้างรูปแบบของการเรียนรู้ได้
           

            "ศ.ดร.วาสิลิโอส อี เอฟเทอนาคิส" กล่่าวเพิ่มเติมอีกวา นอกจาก 3 ประเด็นที่จะต้องทำในการปฏิรูปการศึกษาแล้ว ประเด็นเรืองของความเท่าเทียมและการเข้าถึงทางการศึกษา ยังเป็นประเด็นท้าทายของรัฐบาลและนักการศึกษาทั่วโลก ทั้งเรื่องของประสิทธิภาพและคุณภาพของการเตรียมนักเรียนให้พร้อม เป็นบุคลากรที่มีความสามารถสำหรับดลกและเศรษบกิจของโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการยกระดับความสำคัญของอาชีวศึกษาที่ไม่ใช่เพียงเป็นเรื่องชของการเพ่ิมศักยภาพทางการสอน แต่ตวมถึงการสร้างการยอมรับศักดิ์ศรีและบทบาทสู่สายตาสาะารณชน
             "สำหรับประเทศไทยและประเทศในอาเซียนถือว่ามีปัฐหาคลายกันในประเด็นของอาชีวศึกาาทั้งเรื่องการไม่เป้นที่ยอมรับเท่าที่ควรในสังคม การขาดแคลนครู อาจารย์ที่มีคุณภาพและเครื่องมือการสอนที่เหมาะสมที่สำคัญคือเรื่องของกรอบความคิด โดยเฉพาะเด็กนักเรียนที่เรียนดีที่มักจะเลือกเรีวนสายสามัญมากกว่าที่จะสนใจอาชีวศึกษา ซึ่งวิธีคิดแบบนี้ควรเปลี่ยแปลงไป"
              อย่างไรก็ตาม ประเทศในอาเซียนต่างตระหนักถึงปัญหาเหล่านี้ดีอยู่แล้ว ดังนั้น การเตรียมความพร้อมทีจะนำเรื่องอาชีวศึกาาให้เป็นหนึ่งในสาระสำคัญ เพื่อรับความเปลี่ยนแปลงของประชาคมอาเซียนที่เปิดกว้างของตลดาแรววาน จึงเกิดความพยายามที่จะทำให้มีการยอมรับสถานภาพของนักศึกษาอย่างเท่าเทียมกันในกลุ่มประเทศอาเซียน        
              "ตัวอย่างที่เห็นชัดเจนคื อประเทศไทยและลาว ซึ่งได้ทำงานร่วมกันในเรื่องของอาชีวศึกษา โยทำความตกลงในการเป็นโรงเรียนเครือขายกันของสองประเทศใเรื่องของอาชีวะ ซึ่งรัฐบาลลาวให้ความสำคัญเรื่องอาชีวศึกษาเป็นอย่งดี โดยมีการกำหนดวบประมาณที่เพิ่มขึ้น ละมีการให้เงินเดือนแก่นักเรียนที่พร้อมจะทำงานในขณะที่ศึกษาอยุ่ด้วย
             
"ศ.ดร.วาสิลิโส อี เอฟเทอนาคิส" กล่าวอีกว่าเรื่องปัญหาของคุณภาพของครู และเทคนิคการสอนของกลุ่มประเทศอาเซียนนับว่าเป้นประเด็นที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งเด่วย รวมไปถึงการสอนและอุปกรณ์การเรียนทีมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น รวมถึงโอกาสฝึกงานที่ดี ซึงรัฐลาลทุกประเทศควรไให้ความสำคัญในเรื่องนี้มากขึ้น
               ส่วนอุปสรรคของการพัฒนาด้านการศึกษา คือการขอดแคลนสถิติ และข้อมุล ที่แม่นยำ และทันเหตุการณ์ โดยเฉพาะเรื่องการลงทุนทางเทคโนดลยีและอุปกรณ์การเรียนการสอน ซึงประเทศในอาเซียนอย่าง สิงคโปร์ ถือเป็นผุถ้นำในเรื่องการลงทุนในอุปกรณ์การเรียนการสอนอย่างเห็นได้ชัดและสำหรับประเทศไทยมีความพยายามในการลงทุนในเรื่องนี้มากขึ้นเช่นกัน
               ทั้งนี้ สมาคมเวิลด์ไดดัก และไดดักต้านับเป็นสมาคมที่มีบทบาทอย่างมากในการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพื่อการสอนและการเรียน ซึงในปีนี้จะมีการจัดกิจกรรมสนับสนุนและพัฒนาระบบการศึกษาสากล ทั้งงานไดดกต้า งานแสดงวัสดุ อุปกรณ์สื่อเทคโนโลยี การเรียนการสอนที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่เมืองโคโลญจ์ ประเทศเยอรมนี และงานเวิลด์ไดดัก เอเชีย ที่ฮ่องกง (2016)

              - www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1453357879

วันพุธที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Labor for AEC Job Market

             การผลิดแรงงานฝีมือของไทยหรือประเทศต่างๆ ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอาจพิจารณาตลาดแรงงานที่หว้างขึ้นและมีอิทะิพลต่อการแข่งขันของแรงงานในภูมิภาค ประเทศในประชาคมเศรษบกิจอาเซบยนเป็นส่วนหนึ่งของระบบเศณาฐกิจระหว่างประเทศ ตลาดแรงงานในเอเชียมีความต้องการอาชีพทางด้านการขาย วิศวกรรมในทุกสาขา บัญชีและการเงิน นักวิจัย และพนักงานสำนักงาน มากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการแรงงานในประเทศไทยมีมีความต้องการแรงงานในอาชีพที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรม งานขาย บัญชีธุรการ และเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นจำนวนมาก โดยกลุ่มอุตสาหกรรมในประเทศไทยที่มองหาผู้สมัครงานมากที่สุด ได้แก่กลุ่ทยานยนต์กลุ่มอิเลกทรอนิกส์ กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ และกลุ่มธุรกิจก่อสร้าง
           ความไม่สอดคล้องของการผลิตแรงงานกับควมต้องการของตลาดแรงงาน การผลิดบุคลากรที่มีคุณสมบัติไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานทำให้เกิดปัญหาการว่างงานและขาดแคลนแรงงานอเด็คโก้กรุ๊ป ประเทศไทย อ้างถึงข้อมุลจาก Deloitte และ PWC ว่าภูมิภาคเอเชียตะวันอกเฉียงใต้และคาบสุทรแปซิฟิกกำลังประสบกับปัญหาการขาดแคลนแรงงาน และมีแนวโน้มว่าปัญฐหาจะีความรุนแรงขึ้น เห้นได้จากอัตราการว่างงานในภาพรวมของตลาดแรงงานในภู๔มิภาค ซึ่งคาดว่าจะมแนวโน้มมากขึ้นถึง 6 % ไปจนถึงปี 2560 ประเทศที่ประสบปัญหามากที่สุดได้แก ญี่ปุ่น ตามด้วยเวียดนาม ไทย โอ่งกง มาเลเซีย สิงคโปร์ ไต้หวั และจีน จะเห็นได้่ว่าเวยดนามและไทย ประสบกับปัญหาความไม่สอดคล้องของคุณสมบัติของแรงงานกับความต้องการของนายจ้างในอันดับต้นๆ และยังมีประเทศสมาชิกในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เช่น มาเลเซย และสิงคโปร์ ที่ประสบปัญหาเดียวกัน นอกจากนี้ประเทศไทยกไลังขาดแคลนบุคลากรที่มีความสามารถเฉพาะทาง โดยเฉพาะอย่างวยิ่ง ช่างเทคโนิคหรือช่างฝีมือชั้นสูง ปัญหาดังกล่าวทำให้ผลผลิตและการแข่งขัน รวมถึงประสิทธิภาพในการตอบสนองต่อลูกค้าของอุตสาหกรรมลดลง สาเหตุสำคัญของปัญหาได้แก่ การขาดแคลนบุคลากรที่มีความสามารถเฉาพะทาง รองลงมาคคือสถานที่ทำงานไม่ดึงดูดใจ การที่ผุ้สมัครไม่มีประสบการณ์การทำงานเป้นสาเหตุอันดับสมของปัญหา และความไม่สอดคล้องกันของเงินเดือนที่ผุ้สมัครงานต้องการและนาย้างสามารถจ่ายได้เป็นสาเหตุในอันดับถัดมา และสาเหตุอันดับสุดท้ายคือทะเลที่ตั้งของสถานที่ทำงานที่ไม่ดึงดูดใจผุ้สมัค บางประเทศแก้ปัญหาด้วยนโยบายนำเข้าแรงงนที่ขาดแคลน เช่นสิงคโปร์และมาเลเซียนำเข้าแรงงานฝีมือระดับสูง ในขณะที่ประเทศไทยนำเข้าแรงงานฝีมือที่เป็นช่างเทคนิคและแรงงานในระดับผู้บริหาร นักวิชาการ และนักกฎหมาย
            ความไม่สอดคล้องของคุณลักษณะของแรงงนกับความต้องแารแรงงานของสถานประกอบการเป็นหนึ่งในปัญหาของแรงงานไทย ท้งในด้านการศึกษาและด้านอายุของแรงงาน จำนวนแรงงานในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับอาชีวะมีแนวโน้มลดลง ในขณะที่กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่ตลาดแรงงานมีความต้องการมากที่สุดทั้งนี้เป็นผลมาจากปัจจัยทางด้านค่านิยมในการเรียนสายสามัญมากว่าสายอาชีพ ความต้องการต่างจ้างที่สุงขึ้นเนื่องจากต่าจ้างของแรงงานในระดบปริญญาตรีสุงกว่าค่าจ้างของแรงงานในระดับอาชีวศึกษา และนโยบายการส่งเสริมการศึกษา เช่น กาองทุนกุ้ยืมเพื่อการศึกษา เปิดโอากสทางการศึกษาให้กับแรงงานมากขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าผุ้ที่สำเร็จการศึกษาทั้งในสายอาชีวะและสายสามัญโดยเฉพาะในสาขาวิชาที่เป้นที่ต้องการของผุ้ประกอบการ เช่น ด้านช่างอุตสาหกรรม และสายวิทยาศาสตร์ ยังมีสัดส่วนน้อยมากเมื่อเทียบกับความต้องการของตลาดแรงงาน และยังพบว่าช่วงอายุของแรงงานที่มีการจ้างงานในภาคธุรกิจมากที่สุดคือช่วงอายุ 20-39 ปี โดยพบว่แรงงนในภาคการผลิตส่วนใหญ่จะมีอายุไม่เกิน 34 ปี และจำนวนแรงงานที่มีอายุมากกว่า 34 ปีมีแนวโน้มลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งคาดว่าจำนวนแรงงานที่ลดลงส่วนนี้ออกไปทำงานนอกระบบแทน...
         
ปัจจุบันรัฐบาลไทยให้ความสำคญกับการศึกษาสายวิชาชีพเป็นอย่างมาก และมีนโยบายส่งเสริมให้นักเรียนหันมาสนใจศึกษาสายวิชาชีพ เพื่อลดความเสี่ยงของการว่างงานหลังจบการศึกษาระดับปรญญา เพราะคุณสมบัติไม่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้วิเคราะห์ทักษะของแรรงานและความต้องการของนายจ้าง....
            การผลิตแรงงานฝีมือ : การศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
            การศึกษาในระดับอาชีวะศึกษาและอุดมศึกษาเป็นแหล่งผลิตบุคลากรและแรงงานฝีมือที่สำคัญของประเทศภาคธุรกิจ โดยเฉพาะภาคการผลิตต้องการแรงานระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ขึ้นไป ร้อยละ 36.2 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ต้องกรารแรงงานระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสุง (ปวส.) มากที่สุดส่วนภาคบริการและอื่นๆ ต้องการแรงงาระดับปรญญาตรีมากที่สุด
             การศึกษาในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกาามีเป้าหมายและระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาแตกต่างกัน นักเรียนระดับอาชีวศึกษาเป็นนักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใช้ระยะเวลาเรียน 3 ปี เมื่อสอบผ่านการศึกาาในระดับอาชีวะจะได้ประกาศนียบัตริวิชาชีพ (ปวช) และหากศึกษาต่อในสถาบันอาชีวะระดับชั้นที่สุงขึ้น เมื่อสอบผ่านจะได้รับประกาศนียบัติวิชาชีพชั้นสุง (ปวส) ซึ่งจะใช้เวลา 2 ปี ส่วนนักเรียนที่ศึกษาในระดับอุดมศึกษาโดยทั่วไปเป็นนักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมปลาย (หรือสายสามัญ) และเมื่อจบการศึกษาจะได้รับวุฒิบัตรปริญญาตร ผุ้ที่ได้รับประกาศนียบัติวิชาชีพชั้นสุงจะสามารถศึกาต่อในสถาบันการศึกษาที่มีหลักสูตรการศึกษาต่อเพนื่องเพื่อให้ได้รับวุฒิบัตรปริญญาตรี โดยทั่วไปใช้เวลาประมาณ 2 ปี...
              ... ข้อมูลจากการสัมภาษณืรองประธานสมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ประธารกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และประธานสภาพอุตสาหกรรมท่องเทียวแ่หงประเทสไทย ยืนยันความต้องการแรงงานท้งประมาณและคุณภาพ ความต้องการแรงงานส่วนมากเป้นแรงงานฝีมือระดับอาชีวศึกษา และถัดมาคือแรงงานระดับประญญา ส่วนที่เหลือเป็นแรงงานไร้ฝีมือ เปรียบเทียบในกลุ่มอุตสาหกรรมทั้งสามนี แรงงานด้านเทคนิคในตลาดอุตสาหกรรมยานยนต์มีความต้องการมากที่สุด มากว่าครึ่ง (ร้อยละ 55 ) เป้นแรงงานระดับล่าง รองลงมาคือแรงงานด้ารเทคนิค (ร้อยละ 35 ) และสุดท้ายคือแรงงานระดับการจัดการ (ร้อยละ 10) อย่างไรก็ตาม ในอีก 5 ปีข้างหน้านี้ คาดการณ์ว่าความต้องการในส่วนผุ้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคจะเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 50 ของแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกันนี และความต้องการแรงงานระดับล่างจะลดลงเหลือประมาณร้อบละ 35 ส่วนคุณสมบัติของแรงงานนั้นมีความแตกต่างกันไปตำแหน่งงานและสายการผลิต

ปัจจุบันอุตสาหกรรมอาหารจะมีความต้องการแรงงานส่วนมากอยุ่ในกลุ่มพนักงานระดับปฏิบัติงาน (ประมาณ ร้อยละ 20 ) รองลงมาคือระดับหัวหน้างานประมาณร้อยละ 10 และระดับแรงงานปริญญาประมาณร้อยละ 5 เนื่องจากอุตสาหกรรมประเภทนี้มีสายโซ่มุลค่าที่ยาว ความต้องการแรงงานที่เพ่ิมากขึ้นในอีก 5 ปีข้างหน้า จะอยู่ในกลุ่มการผลิตอาหารและระบบลอจิสติกส์ ลักษระงานท่ี่ต้องการอันดับแรกเป้นงานด้านเทคนิคเพื่อโุแลเครื่องจักรลำดับถัดมาคือผู้ตรวจคุณภาพตามมาตรฐานอาหารสากล
              ส่วนความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในปัจุบันประมาณร้อยละ 50 เป็นกลุ่มที่อยุ่ในธุรกิจโรงแรม อยู่ในกลุ่มร้อนอาหารร้อยละ 20 ธุรกิจสปาร้อยละ 15 และการท่องเที่ยวและของที่ระลึกประมาณร้อยละ 15 โดยดาดการณ์ว่าจะมีความต้องการแรงงานเพ่ิมถึงประมาณ 1 แสนคนเมื่อเปิดเขตเศรษฐกิจอาเซียน...

              - บางส่วนจาก บทความ "ข้อท้าทายในการผลิตแรงงานฝีมือไทยเพื่อเข้าสูตลาดแรงงานประชาคมเศรษบกิจอาเซียน" จงจิตต์ ฤทธิรงค์ (อาจารย์ประจำ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล), รีนา ต๊ะดี (นักปฏิบัติการวิจัย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล)

วันอังคารที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2560

"The Race between Education and Technology"...

              ในหนังสือที่โด่งดังชือ The Race between Education and Technology ผุ้เขียนคือ Claudia Goldin และ Lawrence Katz กล่าวว่า ศตวรรษที่ 20 ที่ผ่านพ้นไปแล้วอาจเรียกได้ว่าเป็น "ศตวรรษแห่งทรัพยากรมนุษย์" ในช่วงต้นศตวรรษนั้น การศึกษาในประเทศต่างๆ เป็นเรื่องสำหรับคนชั้นสูงที่มีฐานะเศรษฐกิจพอที่จะไปศึกษาในโรงเรียน แต่นับจากช่วงปลายๆ ศตวรรษท20 แม้แต่ประเทศที่ยากจนที่สุด รัฐก็ยังให้บริการด้านการศึกษาพื้นฐานแก่ประชาชนทัี่วไป ในบางประเทศที่ยากจีน รัฐบังให้บริการด้านการศึกษาแก่ประชาชนที่สูงกว่าระดับประถมศึกษา
              การที่ประเทศต่างๆ ล้วนมีนดยบายจัดให้มีการศึกษาอย่างแพร่หลายแก่ประชาชนทั่วไป เพราะในปัจจุบัน การเติบโตทางเศราฐกิจจำเป็นต้องอาศัยประชากรที่มีการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นผุ้ใช้แรงงาน ผุ้ประถกอบการ ผู้จัดการธุรกิจ หรือพลเมือง แรงงานที่มีการศึกษาสูงขึ้นทำให้เกิดผลิตภาพแรงงานที่สูงตามไปด้วย การเปลี่ยนแปลงทางเทคโยดลยีที่รวดเร็วมากในปัจจุบันก็ย่ิงต้องการแรงงานที่มีการศึกษามากขึ้นในทุกๆ ระดับ ประเทศที่ต้องการมีรายได้สูง และประชากรมี
านทำเกือบทั้งหมดทุกคน จะต้องมีระบบการศึกษาที่สร้างทักษระแก่ประชากรทุกคน ไม่ใช้เฉพาะบางคน
             ปัจจุบันนี้ ประเทศต่างๆ ล้วนตระกนักเป็นอย่งดีว่า ทุนมนุษยืที่มีอยุ่ในประชากรแต่ละคน คือปัจจัยพืท้นฐ,านที่สำคัญของการสร้างความมั่งคั่งทางเสณาฐกิจของประเทศ ปัจจับสร้างความมั่งคั่งอื่นๆ เช่น วัตถุดิบ เทคดนโลยี หรือเงินทุน สามารถหาได้ในตลาดดลก แต่ประเสิทะิภาพของแระงงานจนั้นแต่บะประเทศต้องกสร้างขึ้นมาเอง แรงงานที่มีการศึกษาสูงขั้นจะเป้นแรงงานที่มีประสทิะิภาพมากขึ้นเป้ฯแรงงานที่สามารถเรียนรุ้เทคโนโลยีการผลิตใหม่ๆ และสำหรับคนบางคนแล้ว การศึกษาที่มากขึ้นยงทำให้สมารถสร้างเทคโนโลยีใหม่ ๆ ขึ้นมาอีกด้วย
            โลกในปัจจุบันที่ประเทศต่างๆ เชื่อมโยงทางเสรษบกิจระหว่างกันมากขึ้น เพราะการค้าเสรี รวมทั้งงินทุนและความคิดเคลื่อนย้ายอย่างอิสระ การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน กลายเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ประเทศต่างๆ สามารถรักษาการเติบดตทางเศรษฐกิจได้อย่างต่อเนื่อง แต่การสร้างความได้เปรียบทางเศรษฐกิจนั้นมีอยู่ 2 แนวทาง แนวทางหนึ่งคือการทำให้สินค้าของตัวเองมีราคาถูกในตลาดดลก ประเทศที่ใช้แนวทางนี้มักใช้วิะีการลดค่าเงินให้ถุกลง
            อีกแนวทางหนึ่งคือ การสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จาสกการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ โดยอาเศัยแรงงานที่มีทักษณะสูงแนวทางนี้จะทำให้ประทเศนั้นสามารถรักษาฐานะการเป็นประเทศรายได้สุงแบะมีการจ้างงานเต็มที่ ประเทศที่มีแนวทางนี้จะมีนโยบายว่า การที่คนในประเทศจะมีรายได้สูง คุณภาพทรัพยากรมนุษย์จะต้องมีคุณภาพ รัฐสนับสนุนนายจ้างให้ใช้แรงงานทมีคุณภาพในอุตสาหกรรมการผลิต ประเทศรายได้สุงอย่าง เยอรมัน สิงคโปร์ สวีเด และญี่ปุ่น ล้วนมีนโยบายแบบบูรณาการ ที่รวมการพัฒนาเศราบกิจ ตลาดแรงงาน และการศึกษามาเป็นนโยบายเดียวกัน
           เยอรมันกับแรงงานคุณภาพ เมื่อ 70 ปีที่แล้ว เยอรมันเป้นประเทศพ่ายแพ้สงครา ประเทศถูกทำลายราบคาบเกินกว่าที่คนในปัจจุบันจะจินตนาการออกว่าเสียหายมากมายขนาดไหน บ้านเรือน 10 ล้านหลังถูกทำลาย เมืองสำคัญๆ ถูกทำลายจนหมด 90% ของโรงงานอุตสาหกรรมทางใต้ของเยอรมันเลิกกิจการ ผลผลิตทางอุตสาหกรรมมีเพียง 5 % ของกำลังการผลิตเดิม
            ทุกวันนี้ เยอรมันเป้นประเทศที่มีเศณาฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโฃลก และใหญ่ที่สุดของยุโรป รายได้ต่อหัวของประชาชนอยู่ที่ 48,200 ดอลลาร์ (2016) ยอดส่งออกปีหนึ่งมีมุลค่า 1.2 ล้านล้านดอลลาร์ หรือเทียบเท่ากับมุลค่าเศราบกิจของรัีสเซียทั้งประเทศ ค่าแรงขั้นต่ำตามกฎหมายอยุ่ที่ช่ั่วโมงละ 8.84 ยูโร กล่าวกันว่าหากรวมค่าสวัสดิการต่างๆ ค่าแรงคนงานเยอรมัีน 1 คน จ้างคนงานเวียดนามได้ 49 คน
             ความเสียหายจากสงครามทำให้ภาคส่วนต่างของสังคมเยอรมันผนึกกำลังกันเพื่อกอบกุ้เศราฐกิจประเทศ ที่ต่อมากลายเป็นพันธะข้อผูกพันที่เรียกกันว่า "หุ้นส่วนทางสังคมไ ซึ่งประกอบด้วย นายจ้าง แรงงาน และรัฐบาล หุ้นส่่วนไตรภาคีนี้จะดำเนินการร่วมกันในการกำหนดนโยบายเสราฐกิจสำคัญๆ เช่น การกำหนดค่าจ้างที่สูงขึ้นเป็นระยะๆ ทำให้อุตสาหกรรมเยอรมันต้องมุ่งสู่การแข่งขันทีุ่ณภาพของผลิตตภัฒฑ์ไม่ใช่ที่ราคา นดยบายความมั่นคงในการจ้างงาน ทำให้นายจ้างต้องลงทุนในการฝึกฝนแรงงานตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เพราะนายจ้างรุ้ดีว่า แรงงานที่ทำงานกับองค์กรเป็นเวลายาวนาน ทำให้นายจ้างสามารถได้ผลตอบแทนกลับคือนมาจากการลงทุนด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน
           แต่สิ่งที่เป็นจุดเด่นด้านการศึกษาเยอรมันคือ ระบบการพัฒนาทักษะฝีมือนนักเรียน ที่ใช้ังคับกับนักเรียนทั้งหมด ยกเว้นนักเรียนที่จะศึกษาต่อระดับมหาวิทยาลัย ใน ปี 1869  เยอรมัีนมีแนวทางปฏิบัติให้นายจ้างส่งพนักงานให้ไปศึกษาต่อ เพื่อเรียนรุ้เพ่ิมเติมและฝึกงานมากขึ้น สิ่งนี้เป็นจุดเริ่มต้นของระบบการศึกษาแบบคุ่ขนารน ที่ประกอบด้วยการเรียนกับการฝึกงาน ดดยรับบาลกับนายจ้างรับผิดชอบร่วมกนการดำเนินงาน
            ในปี 1938 เยอรมันมีกฎหมายฉบัยแรกเรื่อง ระบบการฝึกงานด้านอาชีวศึกษา ดดยกำหนดให้การศึกษาด้านอาชีวะต้องมีการฝึกงาน กฎหมายนี้ทำให้การศึกษาแบบคุ่ขนานเป้นแบบภาคบังคับที่ใช้กับนักเรียนสายอาชีวะทั้งหมด ในปี 1969 เยอรมันมีกฎหมายขือ การฝึกงานด้านอาชีวะ กำหนดให้นักเรียนที่จบชั้นมัะยมและไม่ศึกษาต่อระดับมหาวิทยาลัยจะต้องเป็นนักเรียนฝึกงานในหลักสูตรวิชาชีพใดวิชาชีพหนึ่ง ที่มีทั้งหมด 480 หลักสูตร
           
นักศึกษาสายอาชีวะจะต้องสมัครดดยตรงกับบริษัทที่ต้องการจะฝึกงาน บริษัทต่างๆ จะรับนักศึกษาฝึกงาน ดดยดุจากผลการเรียนและจดหมายแนะนำจากอาจารย์ที่สอน สัญญาการฝึกงานมีระยะเวลา -3 ปี ช่วงการฝึกงาน ในสัปดาห์หนึ่ง นักศึกษาใช้เวลาเรนยน 1 วันที่สถาบันการศึกษา และอีก 4 วันที่ดรงงานของนายจ้าง ช่วงฝึกงาน นักศึกษาจะได้รับ "ค่าแรงฝึกงาน" หลังจากการฝึกงานสิ้นสุดลงจะมีการสอบข้อเขียนและประเมินผลงานการฝึกงาน นักศึกาาที่สอบผ่านจะได้รับใบรับรองการฝคกงานที่ทุกบริษัทในเยอรัมนในการยอมรับการศึกาาแบบฝึกงานของเยอรมัน เป็นระบบการดำเนินงานร่วมกันระหว่างหุ้นส่วนทางสังคม กฎหมายปี 1969 กำหนดหลักการต่างๆ เรื่องกาฝึกงาน หลักสูตรการฝึกงานกำหนดดดยรัฐบาลกลาง มาตรฐานการฝึกงานกำหนดโดยนายจ้าง สหภาพแรงงานเจ้าหน้าที่รัฐ และผุ้เชี่ยวชาญการฝึกอบรม การฝึกงานของนักศึกษาตามท้องถ่ินต่างๆ จะดำเนินการโดยสภาหอการต้าและอุตสาหกรรม เพราะบริษัทต่างๆ ล้วนเป้ฯสมาชิกของสภาอุตสาหกรรม
            เพราะฉะนั้น การศึกษาแบบฝึกงานของเยอรมัน จึงเป้ฯระบบที่เป้นดำเนินงานของประเทศทั้งหมด การฝึกงานจะครอบคลุมทุกสาขาอาชีพเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและบิรการ ทำให้เยอรมันมีแรงงานที่มีทัีกษระมากที่สุดในดลก การว่างงงานของเยาวชนต่ำและคนที่เข้าสุ่ตลาดแรงงานครั้งแรกทมีความเชื่อมัี่นในความสามารถของตัวเอง การเตรียมการอย่งดีเลิศของเยอมันเพื่อผลิตแรรงงานที่มีคุณภาพดังกล่าวจึงเป็นกุญแจสำคัญต่อความสำเร็จทงเศราฐกิจ
          ญี่ปุ่นกับการสร้างแรงงานฝีมือ
           ญี่ปุ่นก้มีาสภาพเดียกับเยอรมนี ในช่วงสงครามดลกครั้งที่ 2 เสณาฐกิจญี่ปุ่นถูกทำลาย แต่หลังสงคราม ปัจจัยที่สร้างความมหัศจรรย์ทางเสณาฐกิจของญี่ปุ่น ก้เป็นปัจจัยเดียวกันทีสร้างความสำเร็จให้กับเยอมนี การฟื้นฟูเศราฐกิจไม่ได้มราจากการสร้างดรงงานอุตสาหรรมขึ้นมาใหม่เท่านั้น แต่ญี่ปุ่นยังสร้างสถาบันสังคมที่จะมาขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้มุ่งสู่การผลิตสินค้ามีคุณภาพและมุลค่าูง สถาบันสังคมดังกล่าวมีความหมายแบบเดียวกับที่เยอมนีเรียกว่า "หุ้งส่วนทางสังคมไ
          เดิมนั้น นักธุรกิจนายทุนของญี่ปุ่นก็มุ่งแสวงหากำไรสูงสุดแบบเดียวกับนายทุนที่มุ่งกำไรสูงสุดในสหัฐฯ หลังสงคราม ระบบความร่วมมือระหว่างฝ่ายบริหารับแรงงานของญี่ป่นุ ไม่ไ้เกิดขั้นทันที่ทันใด แต่การแพ้สงครามทำให้ประเทศเกิดวิกฤติ ภาคธุรกิจจึงตระหนักว่า จะต้องรวมกับภาคส่วนเศราฐกิจอื่นๆ เพื่อสร้างชาติขึ้นมา และยอมรับว่าเป้าหมายของภาคธุรกิจเอกชนจะต้องเป็นส่วนหนึ่งของผลประโยชน์ประเทศที่ใหญ่กว่า จึงเป็นที่มาของความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ-ภาคเอกชน-แรงงาน
           ความร่วมมือและฉันทานุมัติระหว่งหุ้นส่วนทางสังคมดังกล่าว ทำให้ญี่ปุ่นมีเป้าหมายการแข่งขันทางธุรกิจที่ไม่ได้อยุ่ที่ค่าแรงถูกญี่ปุ่่นไม่มีระบบการกำหนดค่าแรงระดับชาติแบบเดียวกับเยอรมนี แต่ญี่ปุ่่นมีเป้าหมายต้องการให้ค่าแรงในประทเศสูงขึ้น ทำให้ธุรกิจอุตสาหกรรมต้องหันไปใช้กลยุทธ์การผลิตสินค้าคุณภาพสูง และหาทางให้ธุรกิจสามารถมีผลกำหรจากสภาพที่ต่าแรงในประเทศสูง
          หน่วยงานรัฐของฐี่ปุ่น คือ กระทรวงการต้าและอุสาหกรรมระหว่างประเทศ หรือ MITI จะเป็นผุ้กำหนดวิสัยทัศน์ของอนาคตญี่ป่นุ โดยผ่านการปรึกษาหารือกับภาคธุรกิจและแรงงาน MITI ตั้งขึ้นใาเมือปี 1927 แต่ภายหลังจากสงครามเข้ามามีบทบาทโดดเด่นในการกำหนดนโยบายอุตสาหกรรมของญีปุ่่น เยอรมนนั้นแตกต่างจากญี่ปุ่่น คือ รัฐไม่มีแนวทางการพัฒนาเศราฐกิจแบบเป็นทางการแต่กระบวนการทางการเมืองแผนกลยุทธ์ธุรกิจของรัฐท้องถ่ินต่างๆ และความรวมมือของหุ้นสวนทางสังคมทำให้เยอรมนีมีเป้าหมายการพัฒนาเศราฐกิจ แบบเดียวกับญี่ปุ่น
          ญี่ปุ่นและเยอรมนรีมีวิธีที่แตกต่างกันในการสร้างแรงงานที่มีคุณภาพ แต่ทั้งสองประเทศก็สามารถบรรลุเป้หมายนี้เหมือนกันความแตกต่างอยู่ที่ความสัมพันะ์ระหว่างแรงงานกับอุตสาหกรรมที่จ้างงาน เยอรมนีมีธรรมเนียมมาตั้งแต่โบราณในเรื่องระบบการฝึกงาน หากถามว่าทำงานอะไร คนเยอรมันจะตอบว่าเป้นช่างเทคนิค เพราะเคยฝึกงานสาขานี้มาก่อน แต่คนญี่ป่นุจะตอบว่าทำงานกับมิตซูบิชิหรือโตโยต้า บริษัทเยอรมันคาดหมาย่ว่าแรงงานใหม่ๆ จะมีทักษะในงานที่จ้างและมอบหมายให้ทำส่วนนายจ้างญี่ปุ่่นคาดหมายว่า ลูกจ้างใหม่จะสามารถเรียนรู้และทำงานใหม่ได้ดี รวมทั้งเมื่อย้ายไปทำงาฝ่ายอื่นๆ ของบริษัท
        ญี่ปุ่นไม่มีระบบการศึกษาแบบอาชีวะที่โดดเด่นแบบเยอรมนี บริษัทต่างๆ รับคนงานให่จากนักเรียนที่จบมัธยมศึกษาตอนปลายโดยดูจากคุณสมบัติที่เป็นความสามารถทั่วไป การที่ธุรกิจรับพนักงานจากคุณสมบัติทั่วไปดังกล่าว ทำให้ญี่ปุ่นต้องวางหลักสูตรการศึกษาระดับโรงเรียนให้มีมาตรฐานสูงมาก ส่วนริษัทใหญ่ๆ จะมีหลักสูตรการฝึกฝนอบรมแก่พนักงานใหม่ใด้านจ่างๆ เช่น โตโยต้าจะให้พนักงานใหม่เข้ารับการอบรมเป็นเวลา 2 ปี ในเรื่องอิจิตอล อิเล็กทรอนิกส์ กอนที่จะเข้าไปทำงนในโรงงานเป็นต้น
          ระบบการจ้างงานจนเกษีณของริษัทยักษ์ใหญ่ และวิธีทำงานที่ให้พนักงานย้ายไปทำงานฝ่ายต่างๆ ของบริษัท ทำให้นายจ้างเต็มใจที่จะลงทุนเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงาน เพราะเห็นว่าเป็ฯการลงทุนที่สามารถคืนผลตอบแทนกลับมาได้ คนงานญี่ปุ่นเองก็มีทัศนคติที่กระตือรอือร้นต่อการเข้ารับการอบรมอย่างต่อเนื่อง เพราะเห็นว่าการร่วมงานกับบริษัทขนาดใหญ่ เหมือนกับตัวเองเป็นสมาชิกคนหนึ่งของครอบครัว กาทำงานในองค์การเหมือนกับตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของการทำงานเป็นทีม ทักษระความสามารถของกลุ่มคณะทำงาน จึงเป็นรากบานที่สร้างควาสำเร็จของบริษัทญี่ป่่น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการควบคุมคุณภาพหรือการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัฒฑ์อย่างต่อเนื่อง
         กล่าวโดยสรุป ความสำเร็จของญี่ปุ่นเกิดจากปัจจัยหลายอย่าง เช่น ห้น่วนทางสังคมเห็นพื้องที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมจากการแข่งขันด้านคุณภาพ ระบบการจ้างงานจนเกษียณ ผลประโยชนืของคนงานเป้นอันหนึ่งอันเดียวกัผลประโยชน์องค์กร ระบบการศึกาาที่มีคุณภาพสูง การลงทุนอย่างต่อเนื่องของธุรกิจเพื่อพัฒนาทักษะคนงาน และความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายแรงงานกับฝ่ายบริหารที่อาศัยการปรึกาาหารือ เป็นต้น ปัจจัยเหล่านี้ล้วนสะท้อนอยู่ในเนื้อหาและการทำหน้าที่ของคนี่ปุ่นในองค์กรต่างๆ
          ระบบการศึกษาจะสะท้อนรูปแบบระบบเศรษฐกิจแบบกลไกตลาดของแต่ละประเทศ สหรัฐเมริกาที่มีเศราฐกิจกลไกตลาดเสรีการศึกษาจะเป็นระบบการเรียนรู้เพื่อสร้างความสาารถเฉพาะตัวของนักเรียน ส่วนเยอรมนีและญี่ปุ่นที่มีเศรษฐกิจกลไกตลาดเพื่อสังคม การศึกาาจะมุ่งสร้างทักษะวิชาชีพแก่นักเรียนทุกคน เพื่อให้คุณภาพของประชากรเป็นองค์ประกอบสำคัญของการสร้างความมั่งคั่งทางเศรา,กจิอของประเทศ...thaipublica.org/2017/07/pridi56/
           

วันจันทร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Education

            การเปิดเสรีด้านการศึกษาในระดับภูมิภาคอาเซียน การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเพื่อก้าวสู่ประชาคมเศรษบกิจอาเซียนในปี 2558 นับเป็นเรื่องสำคัญและเร่งด่วนของประเทศนวันนี้ ในช่วง
หนึ่งปีที่ผ่านมาผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าร่วมโครงการวิจัยเรื่องการพัฒนาบุคลากรและผลิตภาพบุคลากรเพื่อรองรับการเปิดเสรีอาเซียน ซึ่ง รศ.ดร. พัชราวลัย วงศ์บุญสิน อาจารย์ประจำวิทยาลัยประชากรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นหัวหน้าโครงการ และคณะผุ้วิจัยประกอบด้วยอาจารย์หลายท่่านจากวิทยลัยประชกรศาสตร์คณะเศรษฐศาสตร์ และคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาบัย โดยในส่วนของผุ้เขียนได้เน้นศึกษาการเปิดเสรีการศึกษาระดับอุดมศึกษา ร่วมกับ อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
             สำหรับโครงการวิจัยนี้ มีที่มาจากแนวคิดว่าการเปิดเสรีด้านการศึกษาจะส่งผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายองค์ความรู้ภาษา และวัฒนธรรม และจะมีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ดังนั้นภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาจึงจำเป้นต้องปรับตัวเพื่อเตียมความพร้อมสำหรับสถานการณ์ที่กำลังเปลี่ยนแปลงหลายท่านคงทราบว่า บริการด้านการศึกษานับเป็นสาขาหนึ่งของการค้าบริการในบริบทของการต้าระหว่างประเทศ ซึ่งการเปิดสรีด้านการสึกษาของไทย จัได้ว่าอยู่ในบริบทแวดล้อม 2 ระดับ ได้แก่
            1. ระดับพหุภาคี โดยอยู่ภายใต้ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการต้าบริการ ขององค์การค้าโลกหรือที่เรารู้จักกันในนาม WTO
            2. ระดับภูมิภาคอาเวีน โดยอยู่ภายใต้ความตกลงการต้าบริการของอาเซียน โดยการเปิดเสรีการต้าบริการในระดับภมูิภาคอาเซียน อิงหลักการตามความตกลงทั่วไปว่าด้วยการต้าบริการขององค์การการต้าโลก แต่เน้นให้เป็นไปในลักษณะที่กว้างและลึกกว่าที่ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ผูกพันไว้ภายใต้ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการตาบริการขององค์การการต้าดลก ซึ่งการเปิดเสรีการต้าบริการของอาเวียน มีการจัดทำข้อผูกพันในด้านการเข้าสู่ตลาด และการปฏิบัติเยี่ยยงคนชาติ และมีรูปแบบการต้าบริการ 4 รูปแบบ ได้แก่
             รูปแบบที่ 1 ได้แก่การให้บริการข้ามพรมแดน ยกเตัวอย่งเช่น การที่ประเทศมาเลเซียสั่งซื้อโปรแกรมเพื่อการศึกษาจากประเทศสิงคโปร์
             รูปแบบที่ 2 ได้แก่ การบริโภคบริการในต่างประเทศ เช่น การที่นักศึกษาจากประเทศลาวเดินทางไปศึกษาต่อระดับปรญญาโทที่ประเทศอินโดนีเซีย
             รูปแบบที่ 3  ได้แก่ การจัดตั้งธุรกิจเพื่อให้บริการ เช่น การที่มหาวิทยาลัยจากประเทศไทยไปตั้งสาขาที่ประเทศพม่า
             รูปแบบที่ 4  ได้แก่ การเคลื่อยย้ายบุคลากร เช่น การที่ครูจากประเทศฟิลิปปินส์เดินทางไปสอนภาษาอังกฤษที่ประเทศเวียนดนาม
               ทั้งนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนมีลัษณะการเปิดเสรีด้านการศึกษาที่เป็นไปในรูปแบบเดียวกับหลุ่มประเทศสมาชิกองค์การการต้าโลก โดยมีการเปิดเสรีในระดับที่มากกว่าสำหรับรูปแบบการต้าบริการรูปแบบที่ 1 และ 2 เมื่อเทียบกับรูปแบบที่ 3 และ 4 โดยหลายประเทศมีข้อจำกัดสำหรับรูปแบบการต้าบริการรูปแบบที่ 3 และยังแทบจะไม่มีการเปิดเสรีในกรณีของรูปแบบที่ 4
               ประเทศไทยมีระดับการเปิดเสรีด้านการศึกาามากน้อยเพียงใดคำตอบคือค่อนข้างมาก ประเทศมีข้อผูกพันการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกาาในทุกระดับการศึกษา และในหลายประเภทของการศึกษาในแต่ละระดับโดยจัดว่ามีจำนวนของระดับและประเภทของการศึกษาที่มีข้อผูกพันการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกาามากกว่าประเทศส่วนใหญ่ในอาเวียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งระดับมัธยมศึกาาและระะับอุดมศึกาาประเทศไทยมีข้อผูกพันที่คีอบคลุมทุกประเภอของการศึกษาใน 2 ระดับนี้http://www.thai-aec.com/697
              เปิดเสรีการค้าบริการการศึกาาอาเซียนระเบิเวลาธุรกิจการศึกษาไทย
              ...ปัจจุบัน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ตระหนักถึงผลกระทบของการรวมตัวเป็นประชาคมอาเวียนต่ออุดมศึกษาไทย ซึ่งเป็นประเด็นที่กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบัยที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) ให้ความสำคัญในฐานะที่เป็นปัจจัยโดยตรงต่อการจัดการอุดมศึกษา จึงเป็นที่มาของยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ซึ่งจัดทำขึ้นจากผลการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ การระดมความเห็นจากกลุ่มเป้าหมายต่างๆ โดยยึดตามกรอบการพัฒนาของอาเซียน โดยเฉพาะการเป็นประชาคมอาเซียน ซึงประกอบด้วย
               การเพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิตให้มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล
               การพัฒนาความเข้มแข็งของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาประชาคมอาเซียน
               การส่งเสริมบทบาทของอุดมศึกาษไทยในประชาคมอาเซียน
               "ภาษา" อุปสรรคการแข่งขัน แม้รัฐบาลไทยจะมีนโยบายประกาศตัวเป็น "ศูนยกลางการศึกษาในภูมิภาค" หรือ "ฮับการศึกษา" ประกาศประลองความเป็น "ฮับ" กับมาเลเซีย แต่เมื่อต้องก้าวเข้าไปผูกพันในตลาดเสรีตามแยนการสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเวียนที่ทั่วทั้งภูมิภาคจะเป็นตลาดเดียวกัน มีแรงงานเคลื่อย้ายข้ามไปมากันได้ และการก่อตั้งธุรกิจในต่างประเทศ โดยมีการคุ้มครองจากหลักากรปฏิบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับการอนุเคราะห์ยิ่ง ทำหใ้ตลาดการศึกษาระหว่างสถาบันอุดมศึกษาภาคคเอกชนในภูมิภาคนี้น่าจะคึกคักและตื่อนเต้นไม่น้อย
             เมื่อเปรียบยเทียบสมรรถนะความสามารถในการแข่งขันเพื่อสะท้อนสถานภาพการศึกษาของประเทศไทยยังพบด้วยว่า ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษาไทยมีผุ้จบระดับอุดมศึกษาเพียง 18% อยู่ในอันดับที่ 43 และความามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของไทยยังด้อยคืออยู่ในอันดับที่ 51
            การถ่ายโอนความรุ้ระหว่างมหาวิทยาลัยกับภาคฑุรกิจ ได้อันดับที่ 32 และการจัดการศึกษาที่สนองความต้องการของภาคธุรกิจ ได้อันดับที่ 32 ด้วยเกตุนี้จึงต้องมีมาตรการที่ควรดำเนินการเพิ่มเติมแก้ไขปัญหา เตรยมความพร้อม เมื่อต้องเปิดเสรีภาคการต้าบริการด้านการศึกษา และการเป็นตลาดเดียวกันทั่วอาเซียนในอีก 5 ปี ข้างหน้าด้วยมาตรการ อาทิ ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยให้มีระบบวัดผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มีประสิทธภาพ
            การส่งเสริมการผลิดตและพัฒนาอาจารย์ด้านการสอนภาษาอังกฤษ ภาษาของประเทศสมาชิกอาเวียน การส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียน ความรุ้เกี่ยวกับอาเวียน การวิจัยด้านอาเวียน การส่งเสริมการแลกเปลี่ยนนักศึกษา สนับสนุนการถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างสถาบันอุดมศึกษาของไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างต่อเนื่องและเป้นระบบ...http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=21518&Key=hotnews
             

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...