15 กันยายน พ.ศ. 2557 ที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พล.อ.ไพ
บุลย์ คุ้มฉายา รัฐมตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานประชุมหัวหน้าหน่วยงานกลางด้านยาเสพติดของประเทศอาเวียนทั้ง 10 ประเทศ และประเทศคู่เจรจา 3 ประเทศ ได้แก่ จีน ญี่ป่นุ เกาหลี เพื่อเตียมพร้อมก่อนไทยเข้าสู่ประชาคมอเซียน ในปีหน้าเนื่องจากคาดการณ์ เมื่อเปิดเสรีอาเซียนแล้ว ปัญหายาเสพติด จะทวีความรุนแรงขึ้น ขณะเดียวกัน ไ้มีการเปิดสำนักงาน ป.ป.ส. อาเซียน อย่างเป็นทางการ เพื่อตอบสนองนดยบายของรัฐบาลในการแก้ปัญหาเสพติดในกลุ่มปรเทศอาเซียน ให้เป้นไปอย่างมีประสทิะิภา โดยมีไทยเป็นแกนนำ ประสานงานการสืบสวนคดียาเสพติดที่เป็นเป้าหมายกับประเทศอาเซียนอื่นๆ
พล.อ.ไพบูลย์ กล่าวว่า การเปิดสำนักงาน ป.ป.ส.อาเวียน จะใช้เป็นศูนย์กลางในการกำหนดมาตรการป้องกันปราบปรามยาเสพติดในภูมิภาค ซึ่งจะมีการประชบุมระดับทวิภาคีกับประเทศต่างๆ ดดยเฉพาะ สหภาพเมียนมาร์ ซึ่งเป็นแหล่งผลิตยาเสพติดสำคัญ เพื่อหาแนวทางร่วมสำคัญ เพื่อหาแนวทางรวมสกัดกั้นยาเสพติด นอกจากนี้ จะมีการหารือร่วมกันถึงต้นตอของปัญายาเสพติดที่แท้จริง เนื่องจาก สภาพเศราฐกิจไทยช่วงที่ผ่านมา แม้จะซบเซา กลับมีปัญหารยาเสพติดเพิ่มขึ้น จึงต้องหาที่มาว่าเกิดจากอะไรเพื่อให้สามารถแก้ปัญาได้อย่าวตรงจุดมากขึ้นwww.posttoday.com/crime/318392
24 กุมภาพันธ์ 2559 โรงแรมเซ็นจูรี่ปาร์ ถ.รชปรารภ กทม.ได้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเซียน ครั้้งที่ 1/2559 โดยมีจ้าหน้าท่สำนักงาน ป.ป.ส., สำนักงานเลขาธิการอาเซียนและเครื่อข่ายองค์กรวิชากรสารเสพติด ผู้แทนจากประเทศในภูมิภาคอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ และประเทศคู่เจรจา 3 ประเทศ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น เกาะหลี เข้าร่วมประชุม เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวังอาเซียนและกำหนดแนวทางในการจัดทำรายงานการเผ้าติดตามยาเสพติดในอาเซียน ประจำปี 2016 และเตรียมเสนอร่างรายงานดังกล่าวในการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดครั้งที่ 37 ซึ่งกำหนดจะจัดขึ้นในปี 2559 ที่ประเทศไทย
นางนฤมล ช่วงรังษี รองเลขาธิการ ป.ป.ส. กล่าวว่า สือบเนื่องจากการจัดประชุมเชิ
ปฎิบัติการดังกล่าว ดดยมีผุ้แทนจากประเทศอาเวียนผุ้แทนประเทศคู่เจรจา และองค์กรระหว่งประเทสเข้าร่วมการประชุมฯ ทั้งนี้ ที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลเฝ้ระวังปัญหายาเสพติดภายในประชาคมอาเซียนร่วมกันและให้ดำเนินการจัดตั้ง คอนแทค เพอร์ซัน ด้านอุปทาน และอุสงค์ ประเทศละ 2 คน เพื่อทำหน้าที่ประสานและร่วมเป็นทีมวิเคราะห์ข้อมูลในการจัดทำรายงานเกี่ยวกับยาเสพติด
โดยกล่าวต่อว่า สำหรบสำนักงาน ป.ป.ส. ประเทศไทย ในฐานะผุ้ประสานงานกลางของกลุ่มประทเศสมาชิกอาเซียน ได้นำผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมเครือข่ายข้อมุลเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเซียนฯ ดังกล่าวพร้อมทั้งแผนการดำเนินงานวิเคราะห์และเชื่อมดยงข้อมุล้าระวังปัญหารยาเสพติดอาเซียนระยะ 1 ปี เสนอต่อมี่ประชุม ในปี 2558 ณ ประเทศสิงคโปร์ และที่ประชุม มีมติเห้นขอบเแล้ว
"การประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานการเผฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเซียน ครั้งที่ 1/2559 ของสำนักงาน ป.ป.ส.อาเซียน จึงเป็นการเชิญผุ้ประสานประจำแต่ละประเทศ และองค์กรที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุมมีมวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเวียน เพื่อแสดงห้เห็นถึงความก้าวหน้าอีกระดับหนึ่งของการรวมตัวในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดเชิงรุกในประชาคมอาเวียนได้อย่างมีประสทิธิภาพต่อไป" รองเลขาธิการ ป.ป.ส. กล่าวwww.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9590000019899
ป.ป.ส. ขับเคลื่อนความร่วมมือเฝ้าระวังยาเสพติด ระดับภุมิภาคอาเซียน เมื่อวันที่ 30 ก.ค. 60 นายพิภพ ชำนิวิกัยพงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดหรือ ป.ป.ส. เป็นประธานเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดอาเซียน ครั้งที่ 4 โดยมีผุ้แทนจากประเทศในภูมิภาคอาเซียนที่ 10 ประเทศ และประเทศคูเจรจา 3 ประเทศผู้แทนจากสำนักเลขาธิการอาเซียน, เครือข่ายองค์กรวิชาการสารเสพติด และเจ้าหน้าที่ฝ่ายไทยที่เกี่ยวข้อง
การประชุมครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อร่วมกันจัดทำรารงานเ้าระวังสถานการณืยาเสพติดอเาซียน ประจภปี 2559 ฉบับที่ 2 เพื่อเตรียมความพร้อมของประเทศสมาชิก สำหรับการพัฒนาฐานข้อมูลเผ้าระวังสถานการณ์ยาเสพติดอาเซียนบน เวปไซด์ อาเซียน-นาร์โค รวมถึงเพื่อส่งเสริมความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนด้านวิชาการที่เกี่ยวข้อกับยาเสพติด ระหว่างประเทศสมาชิกอาเวียน และเครื่อข่ายอาเซียนเฝ้าระวังยาเสพติด
จากสถานการณืปัญหายาเสพติดที่เพ่ิมากขึ้นในภูมิภาคอาเวียน ประเทศไทยโดยสำนักงาน ป.ป.ส. จึงได้มีการจัดตั้งเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหายาเพติดอาเซียน ในปี 2558ื ภายใต้กรอบการปฏิบัติงานของศูนย์ประสานงานความร่วมมือด้านยาเสพติดอาเซียน หรือ สำนักงาน ป.ป.ส. อาเซียน
อย่างไรก็ตาม สำนักงานป.ป.ส. ประเทศไทย ในฐานะเจ้าภาพได้จัดประชุม เพื่อร่วมกันจัดทำรายงารเฝ้าระวังยาเสพติดมาแล้ว 3 ครั้งได้รับความร่วมมือจากทุกประเทศเป้อย่างดี ซึ่งเป้นตครั้งแรกที่ประเทศในภุมิภาคได้มีการจัดทำรายงานสถานกาณณ์ยาเสพติดประจำปี 2558 ร่วมกัน ซึ่งสถานการณืยาเสพติดในภุมิภาคอาเซียนในปี 2559 ได้รับความร่วมมือจากประเทศสมชิกในหารเปิดเผยข้อมูลมากขึ้น
ทั้งนี้ พบว่าในพื้นที่หลายๆ ประเทศ มีผุ้กระทำความผิดเกี่ยวกับเมทแอมเฟตามีนมากว่าคตรึ่งหนึ่งของภูมิภาคโดยมีข้อเสนอจากประเทศสมาชิกว่าควรเพ่ิมการเผ้าระหวังการซื้อขายยาเสพติดผ่านทาง โซเชียล เน็ตเวิร์ค รวมถึงการใช้ยาในทางทีผิดมากยิ่งขึ้น และควรเพ่ิมสายด่วนระหว่างประเทศสมชิก ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่ให้สามารถสื่อสารถึงกันได้ทันท่วงที
สำหรับแผนการดำเนินงานที่สำคัญอีกประการหนึ่งของการจัดตั้งเครือข่ายเผ้าระวังาเสพติดอเซียน คือ การสร้างฐานข้อมุลเฝ้าระวังยาเสพติดของอาเวียน จากแบบสอบถามที่ประเทศสมาชิกได้ออกแบบร่วมกันเืพ่อเก็บข้อมูลยาเสพติดในภุมิภาค เพื่อให้ประเทศสมาชิกสามารถนำเข้ข้อมูได้โดยตรง
นายพิภพ กล่าวว่า ส่ิงสำคัญในารจัดประชุมครั้งนี้ คือ ประเทศสมาชิกได้ร่วมกันกำหนดนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อดำเนินการต่อยาเสพติดหลักที่แร่ระบาดในภุมิภาคให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกยังได้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และแจ้เงเตือนตัวยาใหม่ที่ค้นพบว่าเร่ิมมีการแพร่ระบาดในภูมิภาค
ทั้งนี้ เพื่อร่วมกันเฝ้าระวังและควบคุมได้ทันท่วงที่ โดยแจ้งแตือนหากพบสัญญาของปัญหาที่เกิดขึ้นในกลุ่มประเทศสมาชิกตามวาระ ซึ่งเป้นที่ตกลงกันของประเทศสมาชิก และร่วมกันตรวจสอบรายงานเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด ปี 2559 ซึ่งเป็นรายงานฉบับที่ 2 ภูมิภาคwww.thairath.co.th/content/1020869
ป.ป.ส. อาเซียน 4 ยุทธศาสตร์สกัดค้ายาข้ามชาติ
การจัดตั้ง สำนักงาน ป.ป.ส. อาเซียน มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กางข้อมุลเกี่ยวยาเสพติด สนองตอบนโยบายปราบยาของชาติสมาชิกประชาคมอาเซียน 10 ประเทศ
ที่ผท่านมาสถิติการจับกุมปุ้ต้องปาชาวต่างชาติในคดรยาเสพติดในประเทศไทย ระหว่างปี 2551-2555 พบว่ามีกลุ่มคนจาชาติอาเซยรถูกจับกุมในไทยเพื่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยสัญชาติที่ถูกจับมากที่สุดคือ ลาว รองลงมาคือพม่า กัมพูชา และมาเลเซีย ส่วนชนิดยาเสพติดที่มีการจับกุมมากเป็นอันดับต้นๆ ได้แก่ ยาบ้า ไอซ์ เฮโรอีน และกัญชา
ท้งนี้ ตลอดหลายสิบปี ปัญหายาเสพติดถือเป้นปัญหาเรื้อรัวและทวีความรุนแรงมากขึ้นนภูมิาภคอาเซียน ตั้งแต่การลักลอบลปลูกฝิ่นและผลิตเฮโรอีนในพื้นที่ "สามเหล่ยมทองคำ" ซึ่งเป็นเขตแดนติดต่อกันของ 3 ประเทศ คือเมียร์มาร์ ลาว และไทย ตามด้วยการลักลอบปลูกกัญชาทั้งในไทย ลาว อินโนีเซีย ไม่เว้นแม้กระทั่งฟิลิปปินส์
ประเทศต่างๆ ในอาเวียนถูกใช้เป็นจุดแวะพักยาเสพติดจากสามเหลี่ยนมทองคำ ก่อนลำเลียงต่อไปยังประเทศทีสามในทวีปยุโรป อเมริการและออสเตรเลีย
จากสถานการณ์ดังกล่าว ทำให้ใการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ครั้งที่ 31 เมื่อ 2541 ประเทศฟิลิปปินส์ รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน 9 ประเศ ได้ลงนาน ปฎิญญาร่วมว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียน ค.ศ. 2020 พร้อมวางเป้าหมายแสดงเจตนารมณ์ทางการเมืองที่สำคัญ คื อการประกาศปฎิยญาร่วว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียนฯ เพื่อเน้นย้ำถึงความพยายามของชาติสาชิกในการต่อสู้กับการแพร่ระบาด การต้า และการใช้ยาเสพติดในศตวรรษที่ 21 และการตั้งสำนังาน ป.ป.ส. อาเซียน ก็เป็นผลผลิตหนึ่งจากปฏิญญาดังกล่าว เพื่อเป็นหน่วยงานกลางบูรณาการเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจากทั้ง 10 ประเทศให้มาร่วมทำงานกันอย่างใกล้ชิด โดยกำหนดยุทธศาสตร์สำคัญ 4 ข้อที่จะต้องดำเนินการ คือ
1 ยุทธศาสตร์การสร้างความร่วมมือด้านการปราบปราม ซึ่งจะร่วมมือทั้งด้านการข่าว การปราบปรามกลุ่มผุ้ผลิตในประเทศเมียนมาร์ การสกัดกั้นตามแนวชายแดน ท่าอากาศยาน ละการติดตามยึดทรัพย์สินของขบวนการต้ายาเสพติดข้ามชขาติทั้งในกลุ่มอาเวียนและประเทศอื่นๆ
2. ยุทธศาสตร์การลดพื้นที่ปลูกพืชเสพติด ด้วยรูปแบบการพัฒนาทางเลือกตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
3. ยุทธศาสตร์การลดการแพร่ระบาดในกลุ่มที่กำหนเป็นเป้าหมาย ร่วมกันสกัดวงจรผุ้สพรายใหม่ โดยเฉพาะเยาวชนอาเซียน พร้อมทั้งสร้างมารตรฐานร่วมกันในด้านการบำบัดรักาาและฟื้นฟูสมรรถภาพผุ้ติดยาเสพติด
4. ยุทธศาสตร์ด้านการวิจัย วิชาการ การพัฒนาความรวมมือด้านนิติวิทยาศาสตร์ กฎหมาย เพื่อให้ความร่วมมือของกลุ่มอาเว๊ยนมีความก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น
นอกจากการตั้ง ป.ป.ส. อาเซียนแล้ว ประชาคมอาเว๊ยนยังมีกลไกความร่วมือด้านยาเสพติดอีกหลายกลไก ที่สำคัญคือการยกสถานะของคณะผุ้เชี่ยวชาญด้านยาเสพติดอาเซียนขึ้นเป็นระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน ซึ่งจะรายงานปัญหาตรงต่อคณะกรรมการประจำอาเซยน ซึงเป้ฯองค์กรสูงสุดในการบริหารความร่วมมือในกรอบอาเซียนในด้านต่างๆ
รวมทั้งการตั้งคณะกรรมการเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านอาชญากรรมข้ามชาติ โดยยาเสพติดเป็น 1 ใน 8 สาขาของความร่วมมือเพื่อปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติต้องจัดทำรายงานเสนอตรงต่อที่ประชุมรับยมนตรีอาเซียนว่าด้วยอาชญากรรมข้ามชาติด้วยwww.bangkokbiznews.com/news/detail/605360
วันอาทิตย์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2560
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น