วันพุธที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Labor for AEC Job Market

             การผลิดแรงงานฝีมือของไทยหรือประเทศต่างๆ ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอาจพิจารณาตลาดแรงงานที่หว้างขึ้นและมีอิทะิพลต่อการแข่งขันของแรงงานในภูมิภาค ประเทศในประชาคมเศรษบกิจอาเซบยนเป็นส่วนหนึ่งของระบบเศณาฐกิจระหว่างประเทศ ตลาดแรงงานในเอเชียมีความต้องการอาชีพทางด้านการขาย วิศวกรรมในทุกสาขา บัญชีและการเงิน นักวิจัย และพนักงานสำนักงาน มากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการแรงงานในประเทศไทยมีมีความต้องการแรงงานในอาชีพที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรม งานขาย บัญชีธุรการ และเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นจำนวนมาก โดยกลุ่มอุตสาหกรรมในประเทศไทยที่มองหาผู้สมัครงานมากที่สุด ได้แก่กลุ่ทยานยนต์กลุ่มอิเลกทรอนิกส์ กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ และกลุ่มธุรกิจก่อสร้าง
           ความไม่สอดคล้องของการผลิตแรงงานกับควมต้องการของตลาดแรงงาน การผลิดบุคลากรที่มีคุณสมบัติไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานทำให้เกิดปัญหาการว่างงานและขาดแคลนแรงงานอเด็คโก้กรุ๊ป ประเทศไทย อ้างถึงข้อมุลจาก Deloitte และ PWC ว่าภูมิภาคเอเชียตะวันอกเฉียงใต้และคาบสุทรแปซิฟิกกำลังประสบกับปัญหาการขาดแคลนแรงงาน และมีแนวโน้มว่าปัญฐหาจะีความรุนแรงขึ้น เห้นได้จากอัตราการว่างงานในภาพรวมของตลาดแรงงานในภู๔มิภาค ซึ่งคาดว่าจะมแนวโน้มมากขึ้นถึง 6 % ไปจนถึงปี 2560 ประเทศที่ประสบปัญหามากที่สุดได้แก ญี่ปุ่น ตามด้วยเวียดนาม ไทย โอ่งกง มาเลเซีย สิงคโปร์ ไต้หวั และจีน จะเห็นได้่ว่าเวยดนามและไทย ประสบกับปัญหาความไม่สอดคล้องของคุณสมบัติของแรงงานกับความต้องการของนายจ้างในอันดับต้นๆ และยังมีประเทศสมาชิกในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เช่น มาเลเซย และสิงคโปร์ ที่ประสบปัญหาเดียวกัน นอกจากนี้ประเทศไทยกไลังขาดแคลนบุคลากรที่มีความสามารถเฉพาะทาง โดยเฉพาะอย่างวยิ่ง ช่างเทคโนิคหรือช่างฝีมือชั้นสูง ปัญหาดังกล่าวทำให้ผลผลิตและการแข่งขัน รวมถึงประสิทธิภาพในการตอบสนองต่อลูกค้าของอุตสาหกรรมลดลง สาเหตุสำคัญของปัญหาได้แก่ การขาดแคลนบุคลากรที่มีความสามารถเฉาพะทาง รองลงมาคคือสถานที่ทำงานไม่ดึงดูดใจ การที่ผุ้สมัครไม่มีประสบการณ์การทำงานเป้นสาเหตุอันดับสมของปัญหา และความไม่สอดคล้องกันของเงินเดือนที่ผุ้สมัครงานต้องการและนาย้างสามารถจ่ายได้เป็นสาเหตุในอันดับถัดมา และสาเหตุอันดับสุดท้ายคือทะเลที่ตั้งของสถานที่ทำงานที่ไม่ดึงดูดใจผุ้สมัค บางประเทศแก้ปัญหาด้วยนโยบายนำเข้าแรงงนที่ขาดแคลน เช่นสิงคโปร์และมาเลเซียนำเข้าแรงงานฝีมือระดับสูง ในขณะที่ประเทศไทยนำเข้าแรงงานฝีมือที่เป็นช่างเทคนิคและแรงงานในระดับผู้บริหาร นักวิชาการ และนักกฎหมาย
            ความไม่สอดคล้องของคุณลักษณะของแรงงนกับความต้องแารแรงงานของสถานประกอบการเป็นหนึ่งในปัญหาของแรงงานไทย ท้งในด้านการศึกษาและด้านอายุของแรงงาน จำนวนแรงงานในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับอาชีวะมีแนวโน้มลดลง ในขณะที่กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่ตลาดแรงงานมีความต้องการมากที่สุดทั้งนี้เป็นผลมาจากปัจจัยทางด้านค่านิยมในการเรียนสายสามัญมากว่าสายอาชีพ ความต้องการต่างจ้างที่สุงขึ้นเนื่องจากต่าจ้างของแรงงานในระดบปริญญาตรีสุงกว่าค่าจ้างของแรงงานในระดับอาชีวศึกษา และนโยบายการส่งเสริมการศึกษา เช่น กาองทุนกุ้ยืมเพื่อการศึกษา เปิดโอากสทางการศึกษาให้กับแรงงานมากขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าผุ้ที่สำเร็จการศึกษาทั้งในสายอาชีวะและสายสามัญโดยเฉพาะในสาขาวิชาที่เป้นที่ต้องการของผุ้ประกอบการ เช่น ด้านช่างอุตสาหกรรม และสายวิทยาศาสตร์ ยังมีสัดส่วนน้อยมากเมื่อเทียบกับความต้องการของตลาดแรงงาน และยังพบว่าช่วงอายุของแรงงานที่มีการจ้างงานในภาคธุรกิจมากที่สุดคือช่วงอายุ 20-39 ปี โดยพบว่แรงงนในภาคการผลิตส่วนใหญ่จะมีอายุไม่เกิน 34 ปี และจำนวนแรงงานที่มีอายุมากกว่า 34 ปีมีแนวโน้มลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งคาดว่าจำนวนแรงงานที่ลดลงส่วนนี้ออกไปทำงานนอกระบบแทน...
         
ปัจจุบันรัฐบาลไทยให้ความสำคญกับการศึกษาสายวิชาชีพเป็นอย่างมาก และมีนโยบายส่งเสริมให้นักเรียนหันมาสนใจศึกษาสายวิชาชีพ เพื่อลดความเสี่ยงของการว่างงานหลังจบการศึกษาระดับปรญญา เพราะคุณสมบัติไม่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้วิเคราะห์ทักษะของแรรงานและความต้องการของนายจ้าง....
            การผลิตแรงงานฝีมือ : การศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
            การศึกษาในระดับอาชีวะศึกษาและอุดมศึกษาเป็นแหล่งผลิตบุคลากรและแรงงานฝีมือที่สำคัญของประเทศภาคธุรกิจ โดยเฉพาะภาคการผลิตต้องการแรงานระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ขึ้นไป ร้อยละ 36.2 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ต้องกรารแรงงานระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสุง (ปวส.) มากที่สุดส่วนภาคบริการและอื่นๆ ต้องการแรงงาระดับปรญญาตรีมากที่สุด
             การศึกษาในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกาามีเป้าหมายและระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาแตกต่างกัน นักเรียนระดับอาชีวศึกษาเป็นนักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใช้ระยะเวลาเรียน 3 ปี เมื่อสอบผ่านการศึกาาในระดับอาชีวะจะได้ประกาศนียบัตริวิชาชีพ (ปวช) และหากศึกษาต่อในสถาบันอาชีวะระดับชั้นที่สุงขึ้น เมื่อสอบผ่านจะได้รับประกาศนียบัติวิชาชีพชั้นสุง (ปวส) ซึ่งจะใช้เวลา 2 ปี ส่วนนักเรียนที่ศึกษาในระดับอุดมศึกษาโดยทั่วไปเป็นนักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมปลาย (หรือสายสามัญ) และเมื่อจบการศึกษาจะได้รับวุฒิบัตรปริญญาตร ผุ้ที่ได้รับประกาศนียบัติวิชาชีพชั้นสุงจะสามารถศึกาต่อในสถาบันการศึกษาที่มีหลักสูตรการศึกษาต่อเพนื่องเพื่อให้ได้รับวุฒิบัตรปริญญาตรี โดยทั่วไปใช้เวลาประมาณ 2 ปี...
              ... ข้อมูลจากการสัมภาษณืรองประธานสมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ประธารกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และประธานสภาพอุตสาหกรรมท่องเทียวแ่หงประเทสไทย ยืนยันความต้องการแรงงานท้งประมาณและคุณภาพ ความต้องการแรงงานส่วนมากเป้นแรงงานฝีมือระดับอาชีวศึกษา และถัดมาคือแรงงานระดับประญญา ส่วนที่เหลือเป็นแรงงานไร้ฝีมือ เปรียบเทียบในกลุ่มอุตสาหกรรมทั้งสามนี แรงงานด้านเทคนิคในตลาดอุตสาหกรรมยานยนต์มีความต้องการมากที่สุด มากว่าครึ่ง (ร้อยละ 55 ) เป้นแรงงานระดับล่าง รองลงมาคือแรงงานด้ารเทคนิค (ร้อยละ 35 ) และสุดท้ายคือแรงงานระดับการจัดการ (ร้อยละ 10) อย่างไรก็ตาม ในอีก 5 ปีข้างหน้านี้ คาดการณ์ว่าความต้องการในส่วนผุ้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคจะเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 50 ของแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกันนี และความต้องการแรงงานระดับล่างจะลดลงเหลือประมาณร้อบละ 35 ส่วนคุณสมบัติของแรงงานนั้นมีความแตกต่างกันไปตำแหน่งงานและสายการผลิต

ปัจจุบันอุตสาหกรรมอาหารจะมีความต้องการแรงงานส่วนมากอยุ่ในกลุ่มพนักงานระดับปฏิบัติงาน (ประมาณ ร้อยละ 20 ) รองลงมาคือระดับหัวหน้างานประมาณร้อยละ 10 และระดับแรงงานปริญญาประมาณร้อยละ 5 เนื่องจากอุตสาหกรรมประเภทนี้มีสายโซ่มุลค่าที่ยาว ความต้องการแรงงานที่เพ่ิมากขึ้นในอีก 5 ปีข้างหน้า จะอยู่ในกลุ่มการผลิตอาหารและระบบลอจิสติกส์ ลักษระงานท่ี่ต้องการอันดับแรกเป้นงานด้านเทคนิคเพื่อโุแลเครื่องจักรลำดับถัดมาคือผู้ตรวจคุณภาพตามมาตรฐานอาหารสากล
              ส่วนความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในปัจุบันประมาณร้อยละ 50 เป็นกลุ่มที่อยุ่ในธุรกิจโรงแรม อยู่ในกลุ่มร้อนอาหารร้อยละ 20 ธุรกิจสปาร้อยละ 15 และการท่องเที่ยวและของที่ระลึกประมาณร้อยละ 15 โดยดาดการณ์ว่าจะมีความต้องการแรงงานเพ่ิมถึงประมาณ 1 แสนคนเมื่อเปิดเขตเศรษฐกิจอาเซียน...

              - บางส่วนจาก บทความ "ข้อท้าทายในการผลิตแรงงานฝีมือไทยเพื่อเข้าสูตลาดแรงงานประชาคมเศรษบกิจอาเซียน" จงจิตต์ ฤทธิรงค์ (อาจารย์ประจำ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล), รีนา ต๊ะดี (นักปฏิบัติการวิจัย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...