ASEAN Structure

          โครงสร้างอาเซียน 
         

         ประกอบด้วย การประชุมสุดยอดอาเซียน คณะมนตรีประสานงานอาเซียนซึ่งแบ่งออกเป็นสามเสาหลัก ประกอบด้วย 1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Comunity - ASC) 2) ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน (ASEAN Socio3Cultural Comnunity - ASCC) อาเซียนกำลังเร่งรวมตัวทงเศราฐกิจเพื่อสร้างเขตการต้าเสรีอาเซียนและเขตการลงทุนอาเซียน เพื่อพัฒนาอาเซียน ซึ่งมีประชากรกวา 567 ล้านคน และมีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ให้ป็นตลาดและฐานการผลิตที่เป้นหนึ่งเดียวภายในปี 2558 ซึ่งจะทำให้อาเวียนน่าสนใจและมีอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ 3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ASEAN Socio-Cultural Community - ASCCASEAN Socio-Cultural Community - ASCCอาเวียนกำลังมุ่งพัฒนาความร่วมมือในสาขาการศึกาา วัฒนธรรม สาธารณสุข พลังงาน สวัสดิการสังคม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีเป้าหมายให้ประชาชนในภูมิภาค รู้จักและเข้าใจกันมากขึ้นมีความรุ้สึกเป้นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียนนี้
          คณะมนตรีประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียนทำหน้าที่เตรียมกรประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานความตกลงและข้อตัอสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียนประสารงานระหว่าง 3 เสาหลัก ดูแลการดำเนินงานและกิจการต่างๆ ของอาเวียนในภาพรวม คณะมนตรีประสานงานอาเวียนจะมีการประชุมอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี และมีองค์กรเฉพาะสาขา
          คณะมนตรีประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย คณะมนตรีประชาคม 3 เสาหลัก ได้แก่ คณะมนตรีการเมืองและความมั่นคงอาเซียน คณะมนตรีประชาคมเศราบกิจอาเวียน และคณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งเป็นผู้แทนที่ประเทศสมาชิกแต่งตั้งให้เป็นผุ้รับผิดชอบแต่ละเสาหลัก มีอำนาจหน้าที่ในการประสานงานและติดตามการทำงานตามนโยบาย ดดยเสอนรายงานและข้อเสนอแนะต่อที่ประชุมผุ้นำ มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ประธานการประชุมเป็นรัฐมนตรีที่เหมาสมจากประเทศสมชิกซึ่งเป็นประธานอาเซียน
        องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา องค์การระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (เช่น ด้านสาะารณสุข ด้านกลาโหม ด้านการศึกษาฯลฯ) ประกอบด้วยรัฐมนตรีเฉพาะสาขา มีหน้าที่ปฏิบัติตามข้อตกลงและข้อตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่อยู่ในขอบข่ายการดำเนินงานของตน และเสริมสร้างความร่วมมือในสาขาของแต่ละองค์กรให้เข้มแข็งขึ้น เพื่อสนับสนุนการรวมตัวของประชาคมอาเซียน
        เลขาธิการอาเซียนและสำนักเลขาธิการอาเซียน สำนักเลขาธิการอาเซียนได้จัดตั้งขึ้นตามข้อตกลงที่นามโดยรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเวียน ครั้งที่ 1 ในปี 2519 เพื่อทำหน้าที่ประสารงานและดำเนินงานตามดครงการและกิจกรรมต่างๆ ของสมาคมอาเซียน และเป็นศุนย์กลางในการติดต่อระหว่างสมาคมอเซียน คณะกรรมการ ตลอดจนสถบันต่างๆ และรัฐบาลของประเทศสมชิกสำนักเลขาธิการอาเซียนตั้งอยู่ที่รุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียน โดยมีหัวหน้าสำนักงาน เรียกว่า ไลขาธิการอาเซียน" ซึ่งได้รับการแต่างตั้งดดบที่ปรชุมสุดยอดอาเซียน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี และต้องได้รับเลือกจากคนชาติของรัฐสมาชิก โดยหมุนเวียนตามลำดับตัวอักษร ผุ้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบันเป็นคนไทย คือ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ ซึ่งมีวาระดำรงตำแหน่งระหว่างปี่ ค.ศ. 2008-2012 (พ.ศ. 2551-2555)
        คณะกรรมการผุ้แทนถาวรประจำอาเซียน เป็นผุ้แทนระดับเอกอัตรราชทุตที่แต่างตั้งจากประเทศสาชิกให้ประจำที่สำนักงานใหญ่อาเซียน กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียน มีหน้าที่สนับสนุนการทำงานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียนและองค์กรระัดบ รัฐมนตรีเฉพาะสาขา ประสานงานกับเลขาธิการสำนักงานอาเซียนและสำนักงานเลขาธิการอาเซียนในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และประสานงานกับสำนักงานเลชาธิการอาเซียนแห่งชาติและองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเวียนเฉพาะสาขา
         สำนักงานอาเซียนแห่งชาติ หรือกรมอาเวียน เป็นหน่วยงานระดับกรมในกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน วึ่งแต่ละประเทศได้จักตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่รับผิดชอบประสานงาน สนับสนุนภารกิจและความร่วมมือต่างๆ เกี่ยวกับอาเวียนในประเทศนั้นๆ สำหรับประเทศไทยหน่ยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมอาเวียน กระทรวงการต่างประเทศ
         องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นโดยความประสงค์และหลักการของกฎบัตรอาเซียนเกี่ยวกับการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขึ้นพื้นฐาน ซึ่งคณะทำงานและอำนาจหน้าทีจะได้กำหนดโดยที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนต่อไป
          มูลนิธิอาเซียน มูลนิธิกาเวียสนับสนุเลขาธิการอาเวียนและดำเนินการร่วมกับอค์กรของอาเวียนที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการสร้างประชาคมอาเวียน โดยการส่งเสริมความสำนึกที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของอาเซียน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชน การดำเนินงานร่วมกันที่ใกล้ชิดระหว่งภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม นักวิชาการ และผุ้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ในอาเซียนregion2.prd.go.th/main.php?filename=asean_structure
         ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 
          แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังตมและวัฒนธรรมอาเซียน ประกอบด้วย
          การพัฒนามนุษย์ 
          - ให้ความสำคัญกับการศึกษา
          - ลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
          - ส่งเสริมการจ้างงานทีเหมาะสม
          - ส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ
          - การอำนวยความมสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์
          - เสริมสร้างทักษะในการประกอบการสำหรับสตรี เยาวชน ผุ้สูงอายะ และผุ้พิการ
          - พัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ
         การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม 
          - การขจัดความยากจน
          - เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและความคุ้มกันจากผลกระทบลบจากการรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัฒน์
          - ส่งเสริมความมั่นคง และความปลอดภัยด้านอาหาร 
          - การเข้าถึงการดุแลสุขภาพและส่งเสริมการดำรงชีวิตที่มีสุขภาพ
          - การเพิ่มศักยภาพในการควบคุมโรคติดต่อ
          - รับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด
          - การสร้างรัฐที่พร้อมรับกับภัยพิบัติและประชาคมที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น
         ความยุติธรรมและสิทธิ
          - การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการสำหรับสตรี เยาวชน ผุ้สูงอายุ และผุ้พิการ
          - การคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน
          - ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ
         ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
          - การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก
          - การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามแดน
          - ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมขอประชาชน
          - ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม
          - ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเขตเมืองต่างๆ ของอาเซียน และเขตเมือง
          - การทำการประสานกันเรืองนดยบายด้านส่ิงแวดล้อมและฐานข้อมูล
          - ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝัง และทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน
          - ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาิต และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
          - ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้ำจืด
          - การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการจัดการต่อผลกระทบ
          - ส่งเสริมการบริหารจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
          การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
           - ส่งเสริมการตระหนักรับรุ้เกี่ยวกับอาเซียน และความรู้สึกของการเป็นประชาคม
           - การส่งเสริมและการอนุรักษณ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน
           - ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม
           - การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน
           การลดช่องว่างทางการพัฒนา

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)