ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย ประเทศสมาชิก 10 ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซียน บรูไนปละ ฟิลิปปินส์ "ปฎิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2" ซึ่งกำหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนที่ประกอบ้บไปด้วย 3 เสาหลักได้แก่
- ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มุ่งห้ประเทศกลุ่มสมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสัติ แกไขปัญหาระหว่างกันโดยสันติวิธี มีเสถียรภาพและความมั่นคงรอบด้าน เพื่อความม่นคงปลอดภัยของเหล่าประชาชน
- ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน มุ่งเน้นให้เกิดการรวมตัวกันทางเศราฐกิจและความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน เพื่อให้ประเทศสมาชิกสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้
- ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มุ่งหวังให้ประชากรมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี มีความมั่นคงทางสังคม มีการพัฒนาในทุกๆ ด้าน และมัสังคมแบบเอื้ออาทร โดยจะมีแผนงนสรร้างความร่วมือ 6 ด้าน คือ
A.การพัฒนามนุษย์
A1 ให้ความสำคัญกับการศึกษา
A2 การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
A3 ส่งเสริมการจ้างานที่เหมาะสม
A4 การอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์
A5 การอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์
A6 เสริมสร้างทักษะในการประกอบการสำหรับสตรี เยาวชน ผู้สุงอายุ และผุ้พิการ
A7 พัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ
B. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
B1 การขจัดความยากจน
B2 เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและความคุ้มกันจากผลกระทบด้านลบจากการรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัฒน์
B3 ส่งเสริมความมั่นคง และความปลอดภัยด้านอาหาร
B4 การเข้าถึงการดูแลสุขภาพและส่งเสริมการดำรงชีวิตที่มีสุขภาพ
B5 การเพิ่มศักยภาพในการควบคุมโรคติดต่อ
B6 รับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด
B7 การสร้างรัฐที่พร้อมรับกับภัยพิบัติและประชาคมที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น
C. ความยุติธรรมและสิทธิ
C1 การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการสำหรับสตรี เยาวชน ผุ้สุงอายุ และผุ้พิการ
C2 การคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน
C3 ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ
D. ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
D1 การจัดการปัญหาส่ิงแวดล้อมของโลก
D2 การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมร่วมของประชาชน
D3 ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมของประชาชน
D4 ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม (อีเอสที)
D5 ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเขตเมืองต่างๆ ของอาเซียน และเขตเมือง
D6 การทำการประสานกันเรื่องนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและฐานข้อมูล
D7 ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝั่ง และทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน
D8 ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
D9 ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้ำจืด
D10 การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการจัดการต่อผลกระทบ
D11 ส่งเสริมการบริหารตัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
E. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
E1 ส่งเสริมการตระหนักรับรู้เก่ยวกับอาเซียน และความรู้สึกของการเป็นประชาคม
E2 การส่งเสริมและการอนุรักษณืมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน
E3 ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม
E4 การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน
F. การลดช่องว่างทางการพัฒนาwww.mfa.go.th/asean/th/customize/30643-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99.html
D2 การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน เพื่อดำเนินมาตรการและส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ เพื่อต่อต้านปัญหามลพิษจากส่ิงแวดล้อม ซึ่งรวมถึงปัญหามลพิษหมอกควันข้ามแดน การเคลื่อนย้ยปฏิกูลอันตรายข้ามแดน โดยการเสริมสร้างขีดความสามารถ ส่งเสริมการตะกหนักรับรู้ต่อสาธารณชน เพิ่มอำนาจการบังคับใช้กฎหมาย และสนับสนุนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมที่ยังยืน และดำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษหมอกควันข้ามแดน
D2.1 มลพิษหมอกควันข้ามแดน...
D2.2 มลพิษจากของเสียที่มีพิษข้ามแดน มาตรการ
- ส่งเสริมการประสานงานนระดับภูมิภาคและการแลกเปลี่ยนข้อมุล ประสบการณ์และความสามารถในการจัดการของเสียอันตราย
- ใช้ประโยชน์จากศูนย์ภูมิภาคอนุสัญญาบาเซลในการฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (BCRC-SEA) และบทบาทของคณะทำงานในการให้บริการแก่ภูมิภาคในเรื่องการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการเสริมสร้างขีดความสามารถในการจัดการของเสียอันตราย
- จัดตั้งกลไกระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพและพร้อมที่จะปฏิบัติการในการจัดการของเสียอันตรายข้ามแดน รวมทั้งการขนย้ายของเสียที่ผิดกฎหมายโดยให้สอดคล้องกับอนุสัญญาบาเซลmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d2/
อนุสัญญาบาเซิล หรืออนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนและการกำจัดซึ่งของเสียอันตราย เป็นสธิสัญญาระดับนานาชาติว่า ด้วยการจำกัดการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายระหว่างประเทศ โดยเฉพาะจากประเทศกำลังพัฒนาไปยังประเทศด้อยพัฒนา จุดมุ่งหมยคือลดปริมาณสารพิษที่เกิดจากของเสีย หรือ ขยะ
อนุสัญญาบาเซิลเร่ิมลงนามเมือวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ปัจจุบันมี 166 ประเทศที่ลงนาม โดยมีประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศเฮติ และสหรัฐอเมริกาที่ลงนามแล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มเข้ากระบวนการปฏิบัติตามสนธิสัญญา
ความเป็นมา สาระสำคัญและประโยชน์การเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาบาเซล
th.wikipedia.org/wiki/อนุสัญญาบาเซิล
ความเป็นมาในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาปัญหาการลักลอบนำของเสียอันตรายจากประเทศอุตสาหกรรมไปท้ิงในประเทศด้อยพัฒนาที่อยู่ทวีปแอฟริกาอเมริกากลาง และอเอเชียได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นตามลำดับโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ จึงได้จัดประชุมนานาชาติขึ้นตามลำดับโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ จึงได้จัดประชุมนานาชาติขึ้นเมือเดือนมีนาคม พ.ศ. 2532 ณ นครบาเซล ประ
เทศสวิตเซอร์แลนด์เพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตราย้ามแดนโดยมีวัตถุประสงค์เพือควบคุมการนำเข้า ส่งออกและนำผ่านของเสียอันตรายให้เกิดความปลอดภัยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย รวมทั้งป้องกันการขนสงที่ผิดกฎหมายและช่วยเลหือประเทศกำลังพัฒนาในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการของเสียอันตราย โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ซึ่งต่อมาได้เปิดให้ประเทศต่างๆ ได้ลงนามเข้ารวมเป็นภาคตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม 2533 และมีผลใช้บังคับเมื่อวัีนที่ 5 พฤษภาคม 2535 ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกที่ให้สัตยาบันเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญาแล้ว จำนวนทั้งหมด 169 ประเทศ (ข้อมูลเมื่อธันวาคม 2549) ประเทศไทยได้จัดส่งผุ้แทนเข้าร่วมการประชุมระดับนานาชาติเพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาและกำหนดข้อตกลงต่างๆ มาโดยลำดับและได้ให้สัตยาบันเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญาบาเซลเมือวันที่ 24 พฤศจิกายน 2540 อนุสัญญาบาเซลมีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2541 เป็นต้นมา
th.wikipedia.org/wiki/อนุสัญญาบาเซิล
วันอังคารที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2560
วันจันทร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2560
Wildfire
ASCC : D2 การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้อมแดน
เป้าหมายเชิงกลยุทธศาสตร์ ดำเนินมาตการและส่งเสริมความร่วมมือระดับภุมิภาคและรกว่างประเทศเพื่อต่อต้านปัญหามลพิษจากสิ่งแวดล้อม ซึ่งรวมถึงปัญหามลพิษหมอกควันข้ามแดน การเคลื่อนย้ายปฏิกูลอันตรายข้ามแดน โดยการเสริมสร้างขีดความสามารถ ส่งเสริมการตระหนักรับรู้ต่อสาธณชน เพ่ิมอำนาจการบังคับใช้กฎหมาย และสนับสนุนปฏิบติการด้านสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน และำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษหมอกควันข้ามแดน
มลพิษหมอกควันข้ามแดน มาตรการ
- ดำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษหมอกควันข้ามแดน โดยดำเนินกมาตรการป้องกันให้เป็ฯรูปธรรในการติดตามและลดผลกระทบ และริเริ่มกระบวนการจัดทำพิธีสารสำหรับการดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามความตกลง
- จัดทำความร่วมมือที่อำนวยประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนที่ยอมรับกฎหมาย กฎ ระเบียบ และนโยบาย ระับชาติของกันและกัน ไม่ว่าจะเป้นควมร่วมมือระดับพหุภาคีหรือทวิภาคีโดยเน้นกิจกรรมในการป้องกัน
- ให้ศูนย์ประสานงานการควบคุมมลพิษจากหมอกควันข้ามพรมแดน โดยการบริจาคอย่างสมัครใจจากประเทศสมาลิกและด้วยความร่วมมือจากประเทศคุ่เจรจาเพื่อให้มีเงินทุนสำรองสำหรับการดำเนินการที่เป็นประสทิะภาพในการปฏิบัตความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควนข้ามพรมแดน
-ควบคุมและสอดส่องดูแลพื้ที่และากรเกิดไฟป่าในภูมิภาคและส่งเสริมการจัดการอย่างยั่งยือนและการจัดการกับพื้นที่พรุในภูมิภาคอาเซียนเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดไฟป่าและมลพิษจากหมอกควันโดยการดำเนินการข้อริเริ่มในการจัดการพื้นที่พรุในอาเซียน (APMI) ภายในปี 2558
D 2.2 มลพิษจากของเสียที่มีพิษข้ามแดน มาตรการ
- ส่งเสริมการประสานงานในระดับภูมิภาคและการแลกเปลี่ยนข้อมูล ประสบการณ์ และความสามารถในการจัดการของเสียอันตราย
- ใช้ประโยชน์จากศูนย์ภูมิภาคอนุสัญญาบาเซลในการฝึกอบรมและถายทอดเทคโนโลยีในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- จัดตั้งกลไกระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพและพ้อมที่จะปฏิบัติการในการจัดการของเสียอันตรายข้ามแดน รวมทั้งการขนย้ายของเสียที่ผิดกฎหมายโดยให้สอดคล้องกับอนุสัญญาบาเซลmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d2/
ไฟป่าในประเทศอินโดนีเซีย
ประเทศอินโดนีเซียมีป่าไม้ในแถร้อนชื่นเป็นจำนวนมาก ซึ่งมีลักษณะของป่าไม้นี้จะมีความชื้นสูง อุณหภูมิสูง ปริมาณน้ำฝนมีมาก มีความหนาแน่นและหลากหลายของพันธุ์พืชมาก โดยปกติแล้ว การเกิดไฟป่าในป่าไม้ชนิดนี้ เกิดขึ้นไดค่อนข้างยาก แต่จากลักษณะของป่าไม้เป็นป่าทึบมใบไม้ทับถมกันสูงและหนาแน่น สภาพพื้นดินในส่วนที่เป้นป่ารกน้น ชั้นใต้ติดจะเป็นชันของถ่านหินซึงไฟป่าในปะเทอินโดนีเซียจะเป็นไฟป่าที่เกิดในชั้นใต้ดิน หากเป้ฯไฟใต้ตินสมบูรณืแบบ ซึ่งบยากในการตรวจสอบ บางรั้งไฟใหม้มาเกือบสองปีแล้วกว่าจะตรวจพบจนกระทั่งต้นไม่ที่่ถูกไฟไหม้ใน
ส่วนรากเร่ิมยืนแห้งตายพร้มอกันทั้งป่า และในบางแห่งจะเป็นไฟป่าแบบไฟกึ่งผิดินกึ่งใต้ดิน ว฿่งจะบพมาในเกาะสุมาตรา อีทั้งปรากฎการณ์ เอล นินโย ทำให้ป่าร้อนขชื้นกลายเป็นป่าที่แห้งแล้วประกอบกับพฤติการณ์ทั่วไปของมนุษย์ในการใช้ไฟ ไม่ว่าการต้งถ่ินฐานที่ดำเนินมานับพันๆ ปี และใช้ในการเพาะปลูกเพื่อช่วยในการปรับสภาพพื้นที่ อีกทั้งความหนาแน่นของจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นจึงเป็นที่จะต้องใช้เพนื่อที่ป่าเพื่อการเพาะปลูก
การเกิดไฟป่าตามที่ศึกษามานั้ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1982 มีการเกิดไฟป่าครั้งใหญ่ถึง 5 ครัง้ง ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ครั้งที่ใหญ่ที่สุดคือในประเทศอินโดนีเซีย ปี ค.ศ. 1997 ที่ทำลายพื้นที่ป่ามากกว่าเก้าล้านเฮกเตอร์ และปัจจัยที่ทำให้เกิดไฟป่าในครั้งนั้น มี 3 อย่าง คือ ความแห้งแล้งของวัสดุที่เป็นเชื้อเพลิง มีไฟเกิดขึ้นไม่ว่าด้วยเหตุใด และปัจจัยสุดท้ายคือลมที่เกิดการเผาไห้ได้อย่างสมบูรณ์ เมื่อเกิดปรากฎการ เอล นินโย ขึ้นจึงส่งผลให้ประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกิดภัยแล้งเป็นบริเาวณกว้างอากาศร้อยอบอ้าวและกินระยะเวลายาวนานประมาณ 2-3 เอืน ก่อให้เกิดเชื้อเพลิงที่ง่ายต่อการติดไฟและมีความรุนแรงกว่าปกติทั่วไปบริเวณที่เกิดไฟป่านั้นเกิดในเกาะสุมาตราและเากกะลิมันตันของประเทศอินโดนีเซีย ที่มีลักษณะเป็นเกาะขนาดใหญ่และยังมีพื้ที่ป่าเป็นบริเวณกว้าง จุดที่เกิดไฟป่ามีจำนวนากกว่า 200-300 จุด
ทำให้ยากต่อการเ้ควบคุมไฟผ่าประกอบดกับการขาดเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการตรวจสสอบและควบคุม ความไม่เพียงพอของจำนวนเจ้าหน้าที่ที่เข้ควบคุมสไฟป่า ความแตกต่า
ของภพภูมิประเทศในพื้นทีแต่ละแห่งในกาเข้าไปด้บไฟ ผลของการเกิดไฟป่าครั้งนั้นก่อใหเิกกลุ่มหมอกควันขนาดใหญ่ โดยกลุ่มควันดังกล่วไใช้เวลาเดินทางไปยังน่านฟ้าประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่บรเิวณใกล้เคียงและเริ่มส่งผลกระทบ โดยเฉลี่ยใช้ระยะเวลาประมาณ 24 ชั่วโมง หลังจากเกิดเกตุไฟป่า อย่างใน
ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย ประเทศบรูไน ดารุซาลาม เกาะมินดาเปนาของประเทศฟิลิปปินส์ และหลายจังหวัดภาคใต้ของประเทศไทย คือ จังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดสงขลา จังหวัดสตูล และจังหวัดตรัง การที่ประเทศไทยได้รับผลกระทบนอ้ยกว่าประเทศอื่นๆ เนื่องจากระยะควาห่างไกลจากพื้นที่เกิดเหตุ แต่ก็ส่งผลกระทบต่อ
ภาพรวมของการท่องเทียว เศราฐกิจ สิ่งแวดล้อม โดยหมกควันสีขาวเข้ามาบังทัศนะวิสัยในการมอง เห็นได้ไม่เกิดระยะ 100 เมตร และกลุ่มควันดังกล่าวครอบคลุมพื้นที่าภคใต้ของประเทศไทยเป็นระยะเวลาประมาณ 1 อาทิตย กลุ่มคควันถึงเร่ิมจางหายไป เนื่องจากมีฝนตกลงมาสถาณการณ์ในประเทศไทยจึงจะเข้าสู่ภาวะปกติ..
ผลกระทบและความเสียหายที่เกิดจากมลพิษของหมอกควันจากไฟป่าข้ามแดน
เมื่อเกิดไฟป่าและมีกลุ่มหมอกควันเกิดขึ้น ย่อมส่งผลกระทบที่ร้ายแรงในหลายๆ ด้าน ความเสียหายที่เกิดจากลุ่มหมอกควันนั้นไม่อาจคำนวนความเสียหายได้ชัดเจน ไม่ว่าความเสียหายด้านเศรษฐกิ ด้านสิ่งแวดลอ้มไ่ว่าทางอากาศ ดิน น้ำ หรือสัตว์ป่า ด้านสังคม และทั้งเป็นผลที่เกิดโดยตรงหรือโดยอ้อม ขอบเขตของผลกระทบนี้ก็ขึ้นอยู่กับควมถ่และควมรุนแรงของการเกิดไฟป่าและกลุ่มหมอกควัน โดยมีความเสียหารหลายด้าน อาทิ
- ความเสียหายด้านเศรษกิจ จากกรณีไฟป่าประเทศอินโดนีเซีย พ.ศ. 2540 ประมาณการว่าประเทศอินโดนีเซียได้รับความเสียหายด้านเศราฐกิจถึง 6 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ รวมทั้งมีกาแารประเทิน
ค่าความเสียหายของประเทศต่างๆ ที่กลุ่มหมอกควันได้ครอบคลุมถึง คือ
ประเทศสิงคโปร์มูลค่าความเสียหายเป็นเงินโดยประมาณ 4 พันล้าเหรียญสหรัฐฯ รวมถึงค่ารักษาพยาบาลและการขนส่งที่เกิดขัดข้อง
ประเทศมาเลเซียก็ได้มีการคาดกาณ์ว่าเกิดความเสียหาย 9.3 พันล้านเหรียญสหรัฐรวมถึงค่ารักษาสุขภาพของประชาชนด้วย
ประเทศไทย ได้มีการคาดการณ์มูลค่าความเสียหาย 1 พันล้านบาท รวมถึงค่ารักษาสุขภาพของประชาชน
- ความเสียหายด้านสุขภาพ กลุ่มหมอกควัยขนาดใหญ่หนาทึบและสูงจาพื้นอินประมาณ 100-200 เมตรนั้น พัดพาไปครอบคลุมหลายประเทศส่งผลให้ประชาชน เกิดอันตรยต่อสุขภาพเป็นจำนวน 10 ล้านคน ส่งผลให้เกิดการระคายเคือยต่อระบบทางเดินหายใจและมีออาการแสบตา และผลกรทบต่อสุภาพที่เกิดมากหรือน้อยก็ขึ้นกับขนาออนุภาคของฝุ่นละอองที่สูดมเข้าไป...
- ความเสียหายด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดกับพืช ก่อให้เกิดการสูญพันธ์ของพืชชนิดที่ไม่ทนไฟ ไฟป่าจะส่งผลต่อระบบนิเวศน์ของป่าไม้ สิ่งแวดล้อมที่อยุรอบตัวเราจะเสื่อลงเกิดการขยายตัวของทุ่งหญ้าเขตร้อน การเสือลงของความหลากหลายสายพันธุ์ในพืชและสัตว์กับป่าไม้ การสูญพันธุ์ของสัตว์ในป่าไ้ การเสียที่อยุ่อาศัยของสัตว์ป่า การสร้างมลพิษในปม่น้ำและปากแม่น้ำ, ดิน ผลกระทบของไฟป่าต่ออินจะมากหรือน้อยขึ้นอยุ่กับความุนแรงของไฟ ความยาวนานของการเกิดไฟและความชื้นของเชื้อเพลิง รวมทั้งความชื้นและชนิดของดินด้วย, น้ำ ผลจากการเกิดไฟป่าทำให้น้ำบ่าหน้าดินเพ่ิมขึ้นประมาณ 3 เท่าการพังทลายของดินเพิ่มขึ้น ธาตุอาหารพืชในดินถูกน้ำฝนชะล้างละลายไปกับน้ำ โดยเฉพาะถ้าเกิดไฟไหม้
อย่างรุนแรงและบ่อยครั้ง แหล่งน้ำตื้นเขิน ผิวน้ำเป็นกรมมากขึ้นและระบบนิเวศน์เปลี่ยนแปลง สัตว์น้ำบางชนิดที่ไม่อาจปรับตัวได้ต้องตายลง, อากาศ เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์เพิ่มขึ้นในบรรยากาศเป็นจำนวนมาก ทั้งนี้ เพราะว่าในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาจนทุกวันนี้วิวัฒนธากรของมนุษย์เจริญขึ้นอยา่งรวดเร็ว ย่ิงป่าไม้ถูกทำลายก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ยิ่งเพ่ิมขึ้นเนื่่องจากใบไม้จะเป็นผุ้ใช้ก๊าซในการปรุงอาหาร และไฟป่าก่อให้เกิดหมอกควันที่ทำให้สภาพอากาศของโลกเปลี่ยนแปลง เมื่อเกิดกลุ่มควันจาก๊าซคารบอนไดออกไซน์ที่มีความเข้มข้นสูงในชั้นบรรยากาศก๊าซสามารถดึงดูดความร้อนจากพื้นผิวโลกเข้าในตัวเอง ส่งผลให้อุณหภูมิในชั้นบรรยากาศของโลกสูงขึ้น, สัตว์ป่า ได้รับผลกระทบอย่างมากและรุนแรง digi.library.tu.ac.th/thesis/la/0813/07CHAPTER_2.pdf
เป้าหมายเชิงกลยุทธศาสตร์ ดำเนินมาตการและส่งเสริมความร่วมมือระดับภุมิภาคและรกว่างประเทศเพื่อต่อต้านปัญหามลพิษจากสิ่งแวดล้อม ซึ่งรวมถึงปัญหามลพิษหมอกควันข้ามแดน การเคลื่อนย้ายปฏิกูลอันตรายข้ามแดน โดยการเสริมสร้างขีดความสามารถ ส่งเสริมการตระหนักรับรู้ต่อสาธณชน เพ่ิมอำนาจการบังคับใช้กฎหมาย และสนับสนุนปฏิบติการด้านสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน และำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษหมอกควันข้ามแดน
มลพิษหมอกควันข้ามแดน มาตรการ
- ดำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษหมอกควันข้ามแดน โดยดำเนินกมาตรการป้องกันให้เป็ฯรูปธรรในการติดตามและลดผลกระทบ และริเริ่มกระบวนการจัดทำพิธีสารสำหรับการดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามความตกลง
- จัดทำความร่วมมือที่อำนวยประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนที่ยอมรับกฎหมาย กฎ ระเบียบ และนโยบาย ระับชาติของกันและกัน ไม่ว่าจะเป้นควมร่วมมือระดับพหุภาคีหรือทวิภาคีโดยเน้นกิจกรรมในการป้องกัน
- ให้ศูนย์ประสานงานการควบคุมมลพิษจากหมอกควันข้ามพรมแดน โดยการบริจาคอย่างสมัครใจจากประเทศสมาลิกและด้วยความร่วมมือจากประเทศคุ่เจรจาเพื่อให้มีเงินทุนสำรองสำหรับการดำเนินการที่เป็นประสทิะภาพในการปฏิบัตความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควนข้ามพรมแดน
-ควบคุมและสอดส่องดูแลพื้ที่และากรเกิดไฟป่าในภูมิภาคและส่งเสริมการจัดการอย่างยั่งยือนและการจัดการกับพื้นที่พรุในภูมิภาคอาเซียนเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดไฟป่าและมลพิษจากหมอกควันโดยการดำเนินการข้อริเริ่มในการจัดการพื้นที่พรุในอาเซียน (APMI) ภายในปี 2558
D 2.2 มลพิษจากของเสียที่มีพิษข้ามแดน มาตรการ
- ส่งเสริมการประสานงานในระดับภูมิภาคและการแลกเปลี่ยนข้อมูล ประสบการณ์ และความสามารถในการจัดการของเสียอันตราย
- ใช้ประโยชน์จากศูนย์ภูมิภาคอนุสัญญาบาเซลในการฝึกอบรมและถายทอดเทคโนโลยีในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- จัดตั้งกลไกระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพและพ้อมที่จะปฏิบัติการในการจัดการของเสียอันตรายข้ามแดน รวมทั้งการขนย้ายของเสียที่ผิดกฎหมายโดยให้สอดคล้องกับอนุสัญญาบาเซลmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d2/
ไฟป่าในประเทศอินโดนีเซีย
ประเทศอินโดนีเซียมีป่าไม้ในแถร้อนชื่นเป็นจำนวนมาก ซึ่งมีลักษณะของป่าไม้นี้จะมีความชื้นสูง อุณหภูมิสูง ปริมาณน้ำฝนมีมาก มีความหนาแน่นและหลากหลายของพันธุ์พืชมาก โดยปกติแล้ว การเกิดไฟป่าในป่าไม้ชนิดนี้ เกิดขึ้นไดค่อนข้างยาก แต่จากลักษณะของป่าไม้เป็นป่าทึบมใบไม้ทับถมกันสูงและหนาแน่น สภาพพื้นดินในส่วนที่เป้นป่ารกน้น ชั้นใต้ติดจะเป็นชันของถ่านหินซึงไฟป่าในปะเทอินโดนีเซียจะเป็นไฟป่าที่เกิดในชั้นใต้ดิน หากเป้ฯไฟใต้ตินสมบูรณืแบบ ซึ่งบยากในการตรวจสอบ บางรั้งไฟใหม้มาเกือบสองปีแล้วกว่าจะตรวจพบจนกระทั่งต้นไม่ที่่ถูกไฟไหม้ใน
ส่วนรากเร่ิมยืนแห้งตายพร้มอกันทั้งป่า และในบางแห่งจะเป็นไฟป่าแบบไฟกึ่งผิดินกึ่งใต้ดิน ว฿่งจะบพมาในเกาะสุมาตรา อีทั้งปรากฎการณ์ เอล นินโย ทำให้ป่าร้อนขชื้นกลายเป็นป่าที่แห้งแล้วประกอบกับพฤติการณ์ทั่วไปของมนุษย์ในการใช้ไฟ ไม่ว่าการต้งถ่ินฐานที่ดำเนินมานับพันๆ ปี และใช้ในการเพาะปลูกเพื่อช่วยในการปรับสภาพพื้นที่ อีกทั้งความหนาแน่นของจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นจึงเป็นที่จะต้องใช้เพนื่อที่ป่าเพื่อการเพาะปลูก
การเกิดไฟป่าตามที่ศึกษามานั้ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1982 มีการเกิดไฟป่าครั้งใหญ่ถึง 5 ครัง้ง ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ครั้งที่ใหญ่ที่สุดคือในประเทศอินโดนีเซีย ปี ค.ศ. 1997 ที่ทำลายพื้นที่ป่ามากกว่าเก้าล้านเฮกเตอร์ และปัจจัยที่ทำให้เกิดไฟป่าในครั้งนั้น มี 3 อย่าง คือ ความแห้งแล้งของวัสดุที่เป็นเชื้อเพลิง มีไฟเกิดขึ้นไม่ว่าด้วยเหตุใด และปัจจัยสุดท้ายคือลมที่เกิดการเผาไห้ได้อย่างสมบูรณ์ เมื่อเกิดปรากฎการ เอล นินโย ขึ้นจึงส่งผลให้ประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกิดภัยแล้งเป็นบริเาวณกว้างอากาศร้อยอบอ้าวและกินระยะเวลายาวนานประมาณ 2-3 เอืน ก่อให้เกิดเชื้อเพลิงที่ง่ายต่อการติดไฟและมีความรุนแรงกว่าปกติทั่วไปบริเวณที่เกิดไฟป่านั้นเกิดในเกาะสุมาตราและเากกะลิมันตันของประเทศอินโดนีเซีย ที่มีลักษณะเป็นเกาะขนาดใหญ่และยังมีพื้ที่ป่าเป็นบริเวณกว้าง จุดที่เกิดไฟป่ามีจำนวนากกว่า 200-300 จุด
ทำให้ยากต่อการเ้ควบคุมไฟผ่าประกอบดกับการขาดเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการตรวจสสอบและควบคุม ความไม่เพียงพอของจำนวนเจ้าหน้าที่ที่เข้ควบคุมสไฟป่า ความแตกต่า
ของภพภูมิประเทศในพื้นทีแต่ละแห่งในกาเข้าไปด้บไฟ ผลของการเกิดไฟป่าครั้งนั้นก่อใหเิกกลุ่มหมอกควันขนาดใหญ่ โดยกลุ่มควันดังกล่วไใช้เวลาเดินทางไปยังน่านฟ้าประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่บรเิวณใกล้เคียงและเริ่มส่งผลกระทบ โดยเฉลี่ยใช้ระยะเวลาประมาณ 24 ชั่วโมง หลังจากเกิดเกตุไฟป่า อย่างใน
ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย ประเทศบรูไน ดารุซาลาม เกาะมินดาเปนาของประเทศฟิลิปปินส์ และหลายจังหวัดภาคใต้ของประเทศไทย คือ จังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดสงขลา จังหวัดสตูล และจังหวัดตรัง การที่ประเทศไทยได้รับผลกระทบนอ้ยกว่าประเทศอื่นๆ เนื่องจากระยะควาห่างไกลจากพื้นที่เกิดเหตุ แต่ก็ส่งผลกระทบต่อ
ภาพรวมของการท่องเทียว เศราฐกิจ สิ่งแวดล้อม โดยหมกควันสีขาวเข้ามาบังทัศนะวิสัยในการมอง เห็นได้ไม่เกิดระยะ 100 เมตร และกลุ่มควันดังกล่าวครอบคลุมพื้นที่าภคใต้ของประเทศไทยเป็นระยะเวลาประมาณ 1 อาทิตย กลุ่มคควันถึงเร่ิมจางหายไป เนื่องจากมีฝนตกลงมาสถาณการณ์ในประเทศไทยจึงจะเข้าสู่ภาวะปกติ..
ผลกระทบและความเสียหายที่เกิดจากมลพิษของหมอกควันจากไฟป่าข้ามแดน
เมื่อเกิดไฟป่าและมีกลุ่มหมอกควันเกิดขึ้น ย่อมส่งผลกระทบที่ร้ายแรงในหลายๆ ด้าน ความเสียหายที่เกิดจากลุ่มหมอกควันนั้นไม่อาจคำนวนความเสียหายได้ชัดเจน ไม่ว่าความเสียหายด้านเศรษฐกิ ด้านสิ่งแวดลอ้มไ่ว่าทางอากาศ ดิน น้ำ หรือสัตว์ป่า ด้านสังคม และทั้งเป็นผลที่เกิดโดยตรงหรือโดยอ้อม ขอบเขตของผลกระทบนี้ก็ขึ้นอยู่กับควมถ่และควมรุนแรงของการเกิดไฟป่าและกลุ่มหมอกควัน โดยมีความเสียหารหลายด้าน อาทิ
- ความเสียหายด้านเศรษกิจ จากกรณีไฟป่าประเทศอินโดนีเซีย พ.ศ. 2540 ประมาณการว่าประเทศอินโดนีเซียได้รับความเสียหายด้านเศราฐกิจถึง 6 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ รวมทั้งมีกาแารประเทิน
ค่าความเสียหายของประเทศต่างๆ ที่กลุ่มหมอกควันได้ครอบคลุมถึง คือ
ประเทศสิงคโปร์มูลค่าความเสียหายเป็นเงินโดยประมาณ 4 พันล้าเหรียญสหรัฐฯ รวมถึงค่ารักษาพยาบาลและการขนส่งที่เกิดขัดข้อง
ประเทศมาเลเซียก็ได้มีการคาดกาณ์ว่าเกิดความเสียหาย 9.3 พันล้านเหรียญสหรัฐรวมถึงค่ารักษาสุขภาพของประชาชนด้วย
ประเทศไทย ได้มีการคาดการณ์มูลค่าความเสียหาย 1 พันล้านบาท รวมถึงค่ารักษาสุขภาพของประชาชน
- ความเสียหายด้านสุขภาพ กลุ่มหมอกควัยขนาดใหญ่หนาทึบและสูงจาพื้นอินประมาณ 100-200 เมตรนั้น พัดพาไปครอบคลุมหลายประเทศส่งผลให้ประชาชน เกิดอันตรยต่อสุขภาพเป็นจำนวน 10 ล้านคน ส่งผลให้เกิดการระคายเคือยต่อระบบทางเดินหายใจและมีออาการแสบตา และผลกรทบต่อสุภาพที่เกิดมากหรือน้อยก็ขึ้นกับขนาออนุภาคของฝุ่นละอองที่สูดมเข้าไป...
- ความเสียหายด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดกับพืช ก่อให้เกิดการสูญพันธ์ของพืชชนิดที่ไม่ทนไฟ ไฟป่าจะส่งผลต่อระบบนิเวศน์ของป่าไม้ สิ่งแวดล้อมที่อยุรอบตัวเราจะเสื่อลงเกิดการขยายตัวของทุ่งหญ้าเขตร้อน การเสือลงของความหลากหลายสายพันธุ์ในพืชและสัตว์กับป่าไม้ การสูญพันธุ์ของสัตว์ในป่าไ้ การเสียที่อยุ่อาศัยของสัตว์ป่า การสร้างมลพิษในปม่น้ำและปากแม่น้ำ, ดิน ผลกระทบของไฟป่าต่ออินจะมากหรือน้อยขึ้นอยุ่กับความุนแรงของไฟ ความยาวนานของการเกิดไฟและความชื้นของเชื้อเพลิง รวมทั้งความชื้นและชนิดของดินด้วย, น้ำ ผลจากการเกิดไฟป่าทำให้น้ำบ่าหน้าดินเพ่ิมขึ้นประมาณ 3 เท่าการพังทลายของดินเพิ่มขึ้น ธาตุอาหารพืชในดินถูกน้ำฝนชะล้างละลายไปกับน้ำ โดยเฉพาะถ้าเกิดไฟไหม้
อย่างรุนแรงและบ่อยครั้ง แหล่งน้ำตื้นเขิน ผิวน้ำเป็นกรมมากขึ้นและระบบนิเวศน์เปลี่ยนแปลง สัตว์น้ำบางชนิดที่ไม่อาจปรับตัวได้ต้องตายลง, อากาศ เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์เพิ่มขึ้นในบรรยากาศเป็นจำนวนมาก ทั้งนี้ เพราะว่าในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาจนทุกวันนี้วิวัฒนธากรของมนุษย์เจริญขึ้นอยา่งรวดเร็ว ย่ิงป่าไม้ถูกทำลายก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ยิ่งเพ่ิมขึ้นเนื่่องจากใบไม้จะเป็นผุ้ใช้ก๊าซในการปรุงอาหาร และไฟป่าก่อให้เกิดหมอกควันที่ทำให้สภาพอากาศของโลกเปลี่ยนแปลง เมื่อเกิดกลุ่มควันจาก๊าซคารบอนไดออกไซน์ที่มีความเข้มข้นสูงในชั้นบรรยากาศก๊าซสามารถดึงดูดความร้อนจากพื้นผิวโลกเข้าในตัวเอง ส่งผลให้อุณหภูมิในชั้นบรรยากาศของโลกสูงขึ้น, สัตว์ป่า ได้รับผลกระทบอย่างมากและรุนแรง digi.library.tu.ac.th/thesis/la/0813/07CHAPTER_2.pdf
วันอาทิตย์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2560
ASCC : D1
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC มุ่งหวังให้ประชากรอาเซียนมีาภาพความเป็นอยุ่ที่ดี มีความมั่นคงทางสังคม มีการพัฒนาในทุกๆ ด้าน และมีสังคมแบบเอื้ออาทร โดยจะมีแผนงานสร้างความร่วมมือ 6 ด้าน คือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม สทิะิและความยุติธรรมทางสังคม ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน การลดช่องว่างทางการพัฒนา
หมวด D 1 ว่าด้วย กาจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ : แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลกโดยปราศจากผลกระทบต่อหลักการแข่งขันและการพัฒนาเณาฐกิจและสังคมโดยอยู่บนพื้นฐานของหลักความเท่าเทียม ยือดหยุ่น มีประสทิธิภาพ และหลักการความรับผิดชอบร่วมกันในระดับที่แตกต่างโดยสะท้อนถึงสภาพการพัฒนาทางเสณาฐกิจและสังคมของประเทศแตกต่างกัน
มาตรการ
- เพิ่มพูนความร่วมมือในระดับภูมิภาคเพรือปรับปรุงและเสริมสร้างศักยภาพ ในระดับประเทศและภูมิภาคในการจัดการประเด็นและพันธกรณีที่เกี่ยวข้องกับความตกลงพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม โดยการวิจัยระดับภูมิภาค การส่งเสริมความตระกนักรับรู้ โครงการส่งเสริมขีดความสามารถและตัวเลือกนโยบายที่มีข้อมูลครบถ้วน
- ส่งเสริมการประสานในการดำเนิงานกับ MEAs ที่เกี่ยวข้องโดยผ่านการกระชับความร่วมมือระดับภุมิภคในกาจัดการมาตรการต่างๆ ที่เีก่ยวข้องกับ MEAs ว่าด้วยเรื่องชั้นบรรยากาศ เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สารทำลายชั้นโอโซน และ MEAs ว่าด้วยเรื่องสารเคมีและของเสียที่เป้นสารเคมี
- ส่งเสริมความเข้าใจ/และท่าทีร่วมของอาเซียนใน MEAs และ
- การนำการจัดการแบบภาพรวมไปใช้ในกสรเสริมสร้างควาร่วมมือระดับภุมิภาคด้านสิ่งแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมของผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดที่เกี่ยข้องรวมถึงนักธุรกิจ นักวิชาการ องค์กรเอกชน และภาคประชาสังคมmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d1/
ความตกลงพหุภาคีทางด้านสิ่งแวดล้อม Multilateral Environment Agreement : MEAs
เป็นความตกลงระหว่างประเทศที่มีวัตถุประสงค์ในการเสริมสร้างความร่วมมือระดับสากลเพื่อการปกป้องและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยอาเศัยความรวมมือของประเทศภาคีในการสอดส่องดูแลความประพฤติของประเทศภาคีอื่นๆ
กระแสการต้าโลในปัจจุบันมีแนวโน้มเชื่อมโยงเรื่องสิ่งแวดล้อมกับการต้ามากขึ้นเนื่องจากความตกลงพหุภาคีด้านส่ิงแวดล้อมส่วนใหญ่ไม่สามารถบังคับใช้ได้อย่างมีประสทิธิภาพ จึงทำให้มีความพยายามที่จะเชื่อมโยงเรื่องการต้าระหว่างประเทศกับการแก้ไัญหาสิ่งแวดล้อมเข้าด้วยกัน เพื่อช่วยบังคับให้ความตกลงด้านสิ่งแวดล้อมมีประสทิะภาพมากยิ่งขึ้นยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วอย่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปที่มักจะกำหนดมาตรฐานสินค้าที่เข้มงวดโดยเชื่อมโยงไปกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งพยายามผลักดันให้ประเทศกำลังพัฒนาอืนๆ ปรับเปลี่ยนมาใช้มตรการในระดับที่ใกล้เคียงกัน นโยบายดังกล่าวทำให้เกิดข้อสงสัยว่าเป้ฯการกำหนดมาตการโดยมีวัตถประส่งค์เพื่อรักาสิ่งแวดล้อมหรือเป็นการกำหนดโดยแอบแฝงไว้ซึ่งากรดีกันทงงการต้าซึ่งขัดต่อหลักการต้าเสรี ความตกลงพหุภาคีทางด้านส่ิงแวดล้อมที่สำคัญๆ ที่มีผลกระทบต่อการต้า ได้แก่
1 อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ United Nation Framework Convention on Climate Change : UNFCCC มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2537 เพื่อรักษาระดับความหนแน่นของก๊าซเรือนกระจกที่สะสมอยู่ในบรรยากาศให้อยู่ในระดับที่ไม่เป็นอันตรยต่อโลก โดยจะต้องดำเนินการให้อยู่ภายในกรอบระยะเวลาที่กำหนดเพื่อให้ระบบนิเวศน์มีเวลาเพียงพอในการปรับตัวและให้เกิดความแน่ใจว่าการผลิตอาหาร ตลอดจนการพัฒนาเศรษบกิจจะไม่ถูกกระทบกระเทือน ปัจจุบัน ประเทศไทยได้ลงนามในอนุสัญญาเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2535 และเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาฯ โดยสมบูรณ์แล้วเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2537 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2538 มาตรการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ UNFCCC ไม่จำกัด/ควบคุมการค้าแต่มาตรการของประเทศภาคีอาจกระทบต่อการค้าได้
2 พิธีสารเกี่ยวโต Kyoto Protocol มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2548 วัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว (ตามภาคผนวก1) ต้องลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ปะกอบด้วย คาร์บอนไดอกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซต์ และซัลเฟอร์ เฮกซะฟลูออไรด์ ก๊าซในกลุ่มไฮโดรฟลูโอโรคาร์บอน และก๊าซในกลุ่มเปอร์ฟลูออโรคาร์บอน เข้าสู่บรรยากาศโลกโดยตั้งเป้าหมายให้ต่ำกว่าปริมาณก๊าซที่ปล่อยในปี 2533 ร้อยละ 5 โดยเฉลี่ยให้ได้ในปี 2555 ปัจจุบันประเทศไทยให้สัตยาบันเมือวันที่ 28 สิงหาคม 2545 มาตรการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ ประเทศภาคีในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วดำเนินการลดปริมาณารปล่อยก๊าซเรือนกระจกจึงส่งผลต่อการเพ่ิมต้นทุนการผลิต, กลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM) ที่อนุญาตให้ประเทศพัฒนาแล้วสมารถดำเนินการร่วมกับประเทศกำลังพัฒนาในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก อาจส่งผลต่อการลงทุนในกิจกรรมต่างๆ และก่อให้เกิดตลาดการต้าเครดิตที่เกิดจากการดำเนินโครงการด้วย
3 พิธีการมอนทรีออลว่าด้วยสารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน The Montreal Protocol on Substances that Deplet the Ozone Layer มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2532 วัตถุประสงค์เพื่อควบคุมการผลิต การใช้ การจำกัด กาลด หรือยกเลิกใช้สารเคมีที่ทำลายโอโซนในชัี้นบรรยากาศสตารโตสเฟียร์ เป็นข้อตกลงที่ต่อเนื่องจากอนุสัญญาเวียนนา ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าร่วมเป้นภาคีโดยให้สัตยาบันเมือวันที่ 7 กรกฎาคม 2532 มีผลบังคับใช้วันที่ 5 ตุลาคม 2532 มาตรการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ ข้อจำกัดการปล่อยสารที่ทำลายชั้นบรรยากาศ ซึงสารเคมีที่สามารถทอแทนได้มีสิทธิบัตรในหลายประเทศ ทำให้มีราคาแพง อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศกำลังพัฒนาไม่อาจใช้สารทดแทนนี้ในการผลิตเครืองปรับอากาศและตู้เย็นได้เพราะเป้นการเพิ่มต้อนทุนการผลิต, ห้ามการนำเข้าแลสงออกสารเคมีต้องห้ามจากประเทศที่ไม่ได้เป็นภาคี ซึ่งเป็นการเลือกปฏิบัติระหว่างประเทศภาคีและนอกภาคี
ด้านสารเคมี
4. อนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดน The Basel Convention on The Control of Transboundary Movements of Hazardous Wasted and their Disposal มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2435 จุดประสงค์ เพื่อลดความเสี่ยงจากความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ตรวจสอบติดตามการเกิดและการเคลื่อนย้าย "กากของเสียอันตราย" โดยกำหนดกลไกในการใช้การแจ้ง และการรับรองการแจ้งล่วงหน้า เกี่ยวกับการนำเข้า หรือการสงออกของเสียอันตรายซึ่งจะครอบคลุมถึง "ขยะอุตสาหกรรม" ปัจจุบันประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาโดยสมบูรณ์แล้วเมืองันที่ 24 พฤศจิกายน 2540 และมีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2541 มาตรการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ มาตรการเกี่ยว
กับการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายข้ามประเทศทั้งในด้านการส่งออกและนำเข้า โดยห้ามประเทศภาคีค้าของเสียอัจรายกับประเทศที่ไม่ได้เป็นภาคี, มีข้อห้ามการส่งออกสินค้าที่ไม่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อมจนกว่าประเทศผุ้นำเข้าสามารถจะจัดการกับการนำเข้านั้นได้, มาตรการห้ามปล่อยของเสียอันตรายจากเขตการต้าที่ผิดกฎหมายและการปล่อยในที่ที่ไม่เหมาะสม, รัฐมีสิทธิที่จะห้ามการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายและของเสียอื่นๆ ในพื้นที่ของตน, มาตรการภาษี ในการนำกลับเข้ามาใหม่ ถ้าของเสียนั้นไม่สามารถกำจัดได้ในสภาวะที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
5. อนุสัญยารอตเตอร์ดัมว่าด้วยกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าสำหรับสารเคมีอันตรายและสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์บางชนิดในกาต้าระหว่างประเทศ Rotterdam Convention the Prior Informed Consent Procedure for Certain Hazardous Chemical and Pesticides in Internatural Trade : PIC มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2541 วัตถุประสงค์เพื่อควบคุมการนำเข้าและส่งออกสารเคมีอันตรายต้องห้าม หรือจำกัดการใช้อย่างเข้มงวดและสูตรผสมของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรงเพื่อปกป้องสุขภาพอนามัยของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจากอันตรายของ
สารเคมี และเพื่อส่งเสริมการใช้สารเคมีอย่างไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ปัจจุบัน ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2545 และมีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2547 มาตรการที่อาจมีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ คือ การจำหน่ายสารเคมีอันตรายส่งไปยังประเทศกำลังพัฒนาหรือประเทศด้อยพัฒนา ก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรทางการค้า, มาตรการเกี่ยวกับการควบคุมการนำเข้าและส่งออกสารเคมีในกลุ่มประเทศภาคีอนุสัญญา, หลักการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าสำหรับสารเคมีอันตราย และสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชในการค้าระหว่างประเทศ
ด้านอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ
6. อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชวภาพ The Convention on Biological Diversity : CBD มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2536 วัตถุประสงค์หลัก 3 ประการ คือ 1) เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ 2) เพื่อใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน และ 3) เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จาการใช้ทรัพยากรพัธุกรรมอย่างเท่าเทียมและยุติธรรม ปัจจุบัน ประเทศไทยลงนามรับรองอนุสัญญาฯ แล้วเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ณ กรุงริโอ เดอจาเนโร ประเทศบราซิล และให้สัตยาบันเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาฯ โดยสมบูรณ์แล้วเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2546 มีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทย เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2547 มาตรการที่อาจมีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ ประกอบด้วยมาตรการเกี่ยวกับการต้าจะปรากฎในร่างพธีสารว่าด้วยความปลดภัยทางชวภาพ ซึ่งจะครอบคลุมการเคลื่อนย้าย ดูแลและการใช้สารเคมีที่ได้ผ่านกระบวนการทางชีวภาพที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิต ทุกชนิดโดยผุ้ส่งออกต้องได้รับความยินยอมจากผุ้นำเข้าตามกระบวนการที่กำหนด, การใช้ Precautionary Approach ในการพิจารณา
7 อนุัญญาไซเตสว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Floras : CITES มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2518 วัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยกรธรรมชาติป้องกันการต้าพืช สัตว์คุ้มครอง เพื่อนำไปสู่การจัดการใช้ทรัพยากรชีวภาพอย่างยั่งยืน ปัจจุบันประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิกโดยสมบูรณ์แล้วเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2526 มาตรการที่อาจมีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทสได้แก่ อนุสัญญาฯ ได้กำหนดกรอบปฏิบัติระหว่างประเทศเกี่ยวกับการส่งออกนำเข้า และนำผ่านชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่กำลังจะนูญพันธุ์ เพื่อให้แน่ใจว่าการค้าระหว่างประเทศจะไม่มีผลกระทบต่อความเสี่ยงที่ชนิดพันธ์ุนั้นๆ จะสูญพันธ์, อนุญาตให้มีการต้ากับประเทสที่ไม่ใช่สมาชิก, กำหนดห้ามค้ากับประเทศที่ไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ สำนักยุทธศาสตร์การเจรจาการค้า กรกฎา 2554 (Environmment_-_Overview.doc)
หมวด D 1 ว่าด้วย กาจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ : แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลกโดยปราศจากผลกระทบต่อหลักการแข่งขันและการพัฒนาเณาฐกิจและสังคมโดยอยู่บนพื้นฐานของหลักความเท่าเทียม ยือดหยุ่น มีประสทิธิภาพ และหลักการความรับผิดชอบร่วมกันในระดับที่แตกต่างโดยสะท้อนถึงสภาพการพัฒนาทางเสณาฐกิจและสังคมของประเทศแตกต่างกัน
มาตรการ
- เพิ่มพูนความร่วมมือในระดับภูมิภาคเพรือปรับปรุงและเสริมสร้างศักยภาพ ในระดับประเทศและภูมิภาคในการจัดการประเด็นและพันธกรณีที่เกี่ยวข้องกับความตกลงพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม โดยการวิจัยระดับภูมิภาค การส่งเสริมความตระกนักรับรู้ โครงการส่งเสริมขีดความสามารถและตัวเลือกนโยบายที่มีข้อมูลครบถ้วน
- ส่งเสริมการประสานในการดำเนิงานกับ MEAs ที่เกี่ยวข้องโดยผ่านการกระชับความร่วมมือระดับภุมิภคในกาจัดการมาตรการต่างๆ ที่เีก่ยวข้องกับ MEAs ว่าด้วยเรื่องชั้นบรรยากาศ เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สารทำลายชั้นโอโซน และ MEAs ว่าด้วยเรื่องสารเคมีและของเสียที่เป้นสารเคมี
- ส่งเสริมความเข้าใจ/และท่าทีร่วมของอาเซียนใน MEAs และ
- การนำการจัดการแบบภาพรวมไปใช้ในกสรเสริมสร้างควาร่วมมือระดับภุมิภาคด้านสิ่งแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมของผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดที่เกี่ยข้องรวมถึงนักธุรกิจ นักวิชาการ องค์กรเอกชน และภาคประชาสังคมmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d1/
ความตกลงพหุภาคีทางด้านสิ่งแวดล้อม Multilateral Environment Agreement : MEAs
เป็นความตกลงระหว่างประเทศที่มีวัตถุประสงค์ในการเสริมสร้างความร่วมมือระดับสากลเพื่อการปกป้องและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยอาเศัยความรวมมือของประเทศภาคีในการสอดส่องดูแลความประพฤติของประเทศภาคีอื่นๆ
กระแสการต้าโลในปัจจุบันมีแนวโน้มเชื่อมโยงเรื่องสิ่งแวดล้อมกับการต้ามากขึ้นเนื่องจากความตกลงพหุภาคีด้านส่ิงแวดล้อมส่วนใหญ่ไม่สามารถบังคับใช้ได้อย่างมีประสทิธิภาพ จึงทำให้มีความพยายามที่จะเชื่อมโยงเรื่องการต้าระหว่างประเทศกับการแก้ไัญหาสิ่งแวดล้อมเข้าด้วยกัน เพื่อช่วยบังคับให้ความตกลงด้านสิ่งแวดล้อมมีประสทิะภาพมากยิ่งขึ้นยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วอย่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปที่มักจะกำหนดมาตรฐานสินค้าที่เข้มงวดโดยเชื่อมโยงไปกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งพยายามผลักดันให้ประเทศกำลังพัฒนาอืนๆ ปรับเปลี่ยนมาใช้มตรการในระดับที่ใกล้เคียงกัน นโยบายดังกล่าวทำให้เกิดข้อสงสัยว่าเป้ฯการกำหนดมาตการโดยมีวัตถประส่งค์เพื่อรักาสิ่งแวดล้อมหรือเป็นการกำหนดโดยแอบแฝงไว้ซึ่งากรดีกันทงงการต้าซึ่งขัดต่อหลักการต้าเสรี ความตกลงพหุภาคีทางด้านส่ิงแวดล้อมที่สำคัญๆ ที่มีผลกระทบต่อการต้า ได้แก่
1 อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ United Nation Framework Convention on Climate Change : UNFCCC มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2537 เพื่อรักษาระดับความหนแน่นของก๊าซเรือนกระจกที่สะสมอยู่ในบรรยากาศให้อยู่ในระดับที่ไม่เป็นอันตรยต่อโลก โดยจะต้องดำเนินการให้อยู่ภายในกรอบระยะเวลาที่กำหนดเพื่อให้ระบบนิเวศน์มีเวลาเพียงพอในการปรับตัวและให้เกิดความแน่ใจว่าการผลิตอาหาร ตลอดจนการพัฒนาเศรษบกิจจะไม่ถูกกระทบกระเทือน ปัจจุบัน ประเทศไทยได้ลงนามในอนุสัญญาเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2535 และเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาฯ โดยสมบูรณ์แล้วเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2537 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2538 มาตรการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ UNFCCC ไม่จำกัด/ควบคุมการค้าแต่มาตรการของประเทศภาคีอาจกระทบต่อการค้าได้
2 พิธีสารเกี่ยวโต Kyoto Protocol มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2548 วัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว (ตามภาคผนวก1) ต้องลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ปะกอบด้วย คาร์บอนไดอกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซต์ และซัลเฟอร์ เฮกซะฟลูออไรด์ ก๊าซในกลุ่มไฮโดรฟลูโอโรคาร์บอน และก๊าซในกลุ่มเปอร์ฟลูออโรคาร์บอน เข้าสู่บรรยากาศโลกโดยตั้งเป้าหมายให้ต่ำกว่าปริมาณก๊าซที่ปล่อยในปี 2533 ร้อยละ 5 โดยเฉลี่ยให้ได้ในปี 2555 ปัจจุบันประเทศไทยให้สัตยาบันเมือวันที่ 28 สิงหาคม 2545 มาตรการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ ประเทศภาคีในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วดำเนินการลดปริมาณารปล่อยก๊าซเรือนกระจกจึงส่งผลต่อการเพ่ิมต้นทุนการผลิต, กลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM) ที่อนุญาตให้ประเทศพัฒนาแล้วสมารถดำเนินการร่วมกับประเทศกำลังพัฒนาในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก อาจส่งผลต่อการลงทุนในกิจกรรมต่างๆ และก่อให้เกิดตลาดการต้าเครดิตที่เกิดจากการดำเนินโครงการด้วย
3 พิธีการมอนทรีออลว่าด้วยสารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน The Montreal Protocol on Substances that Deplet the Ozone Layer มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2532 วัตถุประสงค์เพื่อควบคุมการผลิต การใช้ การจำกัด กาลด หรือยกเลิกใช้สารเคมีที่ทำลายโอโซนในชัี้นบรรยากาศสตารโตสเฟียร์ เป็นข้อตกลงที่ต่อเนื่องจากอนุสัญญาเวียนนา ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าร่วมเป้นภาคีโดยให้สัตยาบันเมือวันที่ 7 กรกฎาคม 2532 มีผลบังคับใช้วันที่ 5 ตุลาคม 2532 มาตรการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ ข้อจำกัดการปล่อยสารที่ทำลายชั้นบรรยากาศ ซึงสารเคมีที่สามารถทอแทนได้มีสิทธิบัตรในหลายประเทศ ทำให้มีราคาแพง อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศกำลังพัฒนาไม่อาจใช้สารทดแทนนี้ในการผลิตเครืองปรับอากาศและตู้เย็นได้เพราะเป้นการเพิ่มต้อนทุนการผลิต, ห้ามการนำเข้าแลสงออกสารเคมีต้องห้ามจากประเทศที่ไม่ได้เป็นภาคี ซึ่งเป็นการเลือกปฏิบัติระหว่างประเทศภาคีและนอกภาคี
ด้านสารเคมี
4. อนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดน The Basel Convention on The Control of Transboundary Movements of Hazardous Wasted and their Disposal มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2435 จุดประสงค์ เพื่อลดความเสี่ยงจากความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ตรวจสอบติดตามการเกิดและการเคลื่อนย้าย "กากของเสียอันตราย" โดยกำหนดกลไกในการใช้การแจ้ง และการรับรองการแจ้งล่วงหน้า เกี่ยวกับการนำเข้า หรือการสงออกของเสียอันตรายซึ่งจะครอบคลุมถึง "ขยะอุตสาหกรรม" ปัจจุบันประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาโดยสมบูรณ์แล้วเมืองันที่ 24 พฤศจิกายน 2540 และมีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2541 มาตรการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ มาตรการเกี่ยว
กับการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายข้ามประเทศทั้งในด้านการส่งออกและนำเข้า โดยห้ามประเทศภาคีค้าของเสียอัจรายกับประเทศที่ไม่ได้เป็นภาคี, มีข้อห้ามการส่งออกสินค้าที่ไม่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อมจนกว่าประเทศผุ้นำเข้าสามารถจะจัดการกับการนำเข้านั้นได้, มาตรการห้ามปล่อยของเสียอันตรายจากเขตการต้าที่ผิดกฎหมายและการปล่อยในที่ที่ไม่เหมาะสม, รัฐมีสิทธิที่จะห้ามการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายและของเสียอื่นๆ ในพื้นที่ของตน, มาตรการภาษี ในการนำกลับเข้ามาใหม่ ถ้าของเสียนั้นไม่สามารถกำจัดได้ในสภาวะที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
5. อนุสัญยารอตเตอร์ดัมว่าด้วยกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าสำหรับสารเคมีอันตรายและสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์บางชนิดในกาต้าระหว่างประเทศ Rotterdam Convention the Prior Informed Consent Procedure for Certain Hazardous Chemical and Pesticides in Internatural Trade : PIC มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2541 วัตถุประสงค์เพื่อควบคุมการนำเข้าและส่งออกสารเคมีอันตรายต้องห้าม หรือจำกัดการใช้อย่างเข้มงวดและสูตรผสมของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรงเพื่อปกป้องสุขภาพอนามัยของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจากอันตรายของ
สารเคมี และเพื่อส่งเสริมการใช้สารเคมีอย่างไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ปัจจุบัน ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2545 และมีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2547 มาตรการที่อาจมีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ คือ การจำหน่ายสารเคมีอันตรายส่งไปยังประเทศกำลังพัฒนาหรือประเทศด้อยพัฒนา ก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรทางการค้า, มาตรการเกี่ยวกับการควบคุมการนำเข้าและส่งออกสารเคมีในกลุ่มประเทศภาคีอนุสัญญา, หลักการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าสำหรับสารเคมีอันตราย และสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชในการค้าระหว่างประเทศ
ด้านอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ
6. อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชวภาพ The Convention on Biological Diversity : CBD มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2536 วัตถุประสงค์หลัก 3 ประการ คือ 1) เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ 2) เพื่อใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน และ 3) เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จาการใช้ทรัพยากรพัธุกรรมอย่างเท่าเทียมและยุติธรรม ปัจจุบัน ประเทศไทยลงนามรับรองอนุสัญญาฯ แล้วเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ณ กรุงริโอ เดอจาเนโร ประเทศบราซิล และให้สัตยาบันเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาฯ โดยสมบูรณ์แล้วเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2546 มีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทย เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2547 มาตรการที่อาจมีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ ประกอบด้วยมาตรการเกี่ยวกับการต้าจะปรากฎในร่างพธีสารว่าด้วยความปลดภัยทางชวภาพ ซึ่งจะครอบคลุมการเคลื่อนย้าย ดูแลและการใช้สารเคมีที่ได้ผ่านกระบวนการทางชีวภาพที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิต ทุกชนิดโดยผุ้ส่งออกต้องได้รับความยินยอมจากผุ้นำเข้าตามกระบวนการที่กำหนด, การใช้ Precautionary Approach ในการพิจารณา
7 อนุัญญาไซเตสว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Floras : CITES มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2518 วัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยกรธรรมชาติป้องกันการต้าพืช สัตว์คุ้มครอง เพื่อนำไปสู่การจัดการใช้ทรัพยากรชีวภาพอย่างยั่งยืน ปัจจุบันประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิกโดยสมบูรณ์แล้วเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2526 มาตรการที่อาจมีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทสได้แก่ อนุสัญญาฯ ได้กำหนดกรอบปฏิบัติระหว่างประเทศเกี่ยวกับการส่งออกนำเข้า และนำผ่านชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่กำลังจะนูญพันธุ์ เพื่อให้แน่ใจว่าการค้าระหว่างประเทศจะไม่มีผลกระทบต่อความเสี่ยงที่ชนิดพันธ์ุนั้นๆ จะสูญพันธ์, อนุญาตให้มีการต้ากับประเทสที่ไม่ใช่สมาชิก, กำหนดห้ามค้ากับประเทศที่ไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ สำนักยุทธศาสตร์การเจรจาการค้า กรกฎา 2554 (Environmment_-_Overview.doc)
วันเสาร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2560
Performance appraisal (ASCC)
โครงการติดตามประเมินผล การดำเนินงานตามแผนการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2558 (ระยะสิ้นสุดแผน)
จากการรวบรวมข้อมูลจากรายงานประจำปีการดำเนินงานตาม ASCC Blueprint ในระดับประเทศข้อมูลจากการประชุมระดับความคิดเห็นกลุ่มย่อยกับหน่วยงานที่ไ้รับมอบหมายให้ดำเะนินการตาม ASCC Blueprint ข้อมูลจากการทำแบบสำรวจความคิดเห็น และข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิและผุ้เชียวชาญในสาขาทุกสาขาที่เกี่ยวข้องกับ ASCC สามารถสรุปผลดำเนินการตามแผนงานการจัดตั้งปะชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พ.ศ.2552-2558 ของประเทศไทย ระยะสิ้นสุดแผนได้ดังนี้
สรุปผลการดำเนินการตาม ASCC ฺBlueprite 2009-2015 ของประเทศไทย
ภาพรวมผลการอำเนินการตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พงศ. 2552-2558 ของประเทศไทย ระยะสิ้นสุดแผน พบว่า จำนวนทั้งหมด 339 มาตรการ มีจำนวน 262 มาตรการ หรือร้อยละ 77 ที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จตามเป้าหมายที่กำหนดและได้เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินการอย่างถาวรของหน่วยงานต่างๆ ต่อไป และมีจำนวน 33 มาตรการหรือร้อยละ 10 กำลังอยู่ในระหว่างการดำเนินการและอีกจำนวน 44 มาตรการหรือร้อยละ 13 อยู่ระหว่างการพิจารณาหรือไม่มีข้อมูลในการประเมิน หรือเป็นมาตรการที่ต้องมีการปฏิบัติในระดับนานาชาติ
หมวด A การพัฒนามนุษย์ 61 มาตรการ ดำเนินงานข้ามหน่วยงาน 1 มาตรการ เสร็จสมบูรณ์/เสร็สมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 55 มาตรการ(90%) อยู่ระหว่างการดำเนินงาน 6 มาตรการ (10%)
หมวด B การคุ้มครองสวัสดิการสังคม จำนวน 94 มาตการ ตำเนินการข้ามหน่วยงาน 13 มาตรการ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 79 มาตรการ (84%) อยู่ในระหว่างการดำเนินการ 7 มาตรการ (7%) อยู่ระหว่างการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล แบ่งเป็นระดับภูมิภาค 3 มาตรการ ระหว่างการพิจารณา 1 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 4 มาตรการ (รวมเป็น 9%)
หมวด C ความยุติธรรมและสิทธิ 28 มาตรการ ดำเนินงานข้ามหน่วยงาน 7 มาตรการ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนือง 27 มาตรการ (96%) อยุ่ระหว่างดำเนินการ 1 มาตรการ (4%)
หมวด D ส่งเสริมความยั่งยือนด้านสิ่งแวดล้อม 98 มาตรการ ดำเนินงานข้ามหน่วยงาน 9 มาตรการ สถานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป้นกระบสนการต่อเนื่อง 57 มาตรการ (58%) อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน 16 มาตรการ (16%) อยู่ระหว่างการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล แบ่งออกเป็น ระดับภูมิภาค 2 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 2 มาตรการ ระหว่างการพิจารณา 2 มาตการ (26%)
หมวด E การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน 50 มาตรการ ดำเนินการข้ามหน่วยงาน 3 มาตรการ สถานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 40 มาตรการ (80%) อยู่ระหว่างพิจารณา/ไม่มีข้อมูล ระดับภูมิภาค 3 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 3 มาตรการ ระหว่างการพิจารณา 1 มาตรการ (14%)
หมวด F กาลดช่องว่างทางการพัฒนา 8 มาตรการ ไม่มีการดำเนินงานข้ามหน่วยงาน สถานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 4 มาตรการ (50%) อยู่ระหว่างการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล แบ่งออกเป็นระดับภูมิภาค 3 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 1 มาตรการ (50%)
รวม มาตรการทั้งสิ้น 339 มาตรการ เป็นมาตรการที่ดำเนินการข้ามหน่วยงาน 33 มาตรการ สภานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 262 มาตรการ คิดเป็น 77 % อยุ่ในระหว่างดำเนินการ 33 มาตรการ คิดเป็น 10% รอการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล 44 มาตรการ คิดเป็น 13%
และเมื่อเปรียบเทียบกับการประเมินผลในระยะครึ่งแผน พบว่า ในรอบการประเมินผลครึ่งแผนมีจำนวนมาตรการที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามเป้าหมาย 218 มาตรการหรือร้อยละ 64 จากจำนวนมาตรการทั้งหมด 339 มาตการ และอีก 54 มาตรการหรือร้อยละ 16 กำลังอยุ่ในระหว่างการดำเนินการ และอีก 67 มาตรการหรือร้อยละ 20 ที่อยุ่ระหว่างการพิจารณาหรือไม่มีข้อมูลในการประเมิน หรือ เป็นมาตรการที่ต้องมีการปฏิบัติในระดับนานาชาติ และจากทั้งหมด 6 เป้าหมาย เป้าหมาย C ความยุติธรรมและสิทธิ ยังคงมีสัดส่วนในการดำเนินแล้วเสร็จสูงสุดทั้งในระดับการประเมินผลในระยะครึ่งแผนและสิ้นสุดแผน
การประเมินระบบ กลไก และทรัพยากรในการดำนินการตาม ASCC BLUEPRINT ของประเทศไทย
ภาพรวมการประเมิน
- ความเชื่อมโยง พบว่า เป้าหมายและมาตรการตาม ASCC Blueprint มีความเชื่อมโยงกับแนวนโยบาย ภารกิจ และแนวการดำเนินการของหน่วยงาานีี่เกี่ยว้องอยุ่ในระดับสุง
- ประสิทธิผล พบว่า การดำเนินงานของหน่วยงานที่เกียว้องนับว่ามีประสิทธิผลอยู่ในระดับปานกลางดดยมีประเด็นร่วมที่สำคัญได้แก่ การจัดสรรวลบประมาณ และกระบวนการติดตามประเมินผลที่ยังขาดความชัดเจน
- ประสิทธิภาพ พบว่า การดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องม่ประสทิะภาพอยุ่นระดับปานกลาง โดยมีประเด็นร่วมที่สำคัญได้แก่ ข้อจำกัดของบุคลากรทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ ทั้งนี เมื่อขอบเขตงานมากขึ้น แต่จำนวนบุคลากรยังคงเดิมจึงก่อให้เกิดปัญหางานล้มมือ และที่สำคัญข้องจำกัดด้านขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งขีดความสามารถในสื่อสารภาษาต่างประเทศ
- ความยั่งยืน พบว่า แนวการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความยั่งยืนอยู่ในระดับปานนกลางโดยทั่วไปพบข้อจำกัดด้านการประสานงานข้ามหน่วยงาน
- ผลกระทบ พบว่า การดำเนินการตาม ASCC Blueprint ก่อให้เกิดผลกระทบเชิงบวกในวงกว้งอยุ่ในระดับกลาง ทั้งในระดับประเทศ ระดับชุมชน และระดับบุคคล
- โครงการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2558 (ระยะสิ้นสุดแผน)
จากการรวบรวมข้อมูลจากรายงานประจำปีการดำเนินงานตาม ASCC Blueprint ในระดับประเทศข้อมูลจากการประชุมระดับความคิดเห็นกลุ่มย่อยกับหน่วยงานที่ไ้รับมอบหมายให้ดำเะนินการตาม ASCC Blueprint ข้อมูลจากการทำแบบสำรวจความคิดเห็น และข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิและผุ้เชียวชาญในสาขาทุกสาขาที่เกี่ยวข้องกับ ASCC สามารถสรุปผลดำเนินการตามแผนงานการจัดตั้งปะชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พ.ศ.2552-2558 ของประเทศไทย ระยะสิ้นสุดแผนได้ดังนี้
สรุปผลการดำเนินการตาม ASCC ฺBlueprite 2009-2015 ของประเทศไทย
ภาพรวมผลการอำเนินการตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พงศ. 2552-2558 ของประเทศไทย ระยะสิ้นสุดแผน พบว่า จำนวนทั้งหมด 339 มาตรการ มีจำนวน 262 มาตรการ หรือร้อยละ 77 ที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จตามเป้าหมายที่กำหนดและได้เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินการอย่างถาวรของหน่วยงานต่างๆ ต่อไป และมีจำนวน 33 มาตรการหรือร้อยละ 10 กำลังอยู่ในระหว่างการดำเนินการและอีกจำนวน 44 มาตรการหรือร้อยละ 13 อยู่ระหว่างการพิจารณาหรือไม่มีข้อมูลในการประเมิน หรือเป็นมาตรการที่ต้องมีการปฏิบัติในระดับนานาชาติ
หมวด A การพัฒนามนุษย์ 61 มาตรการ ดำเนินงานข้ามหน่วยงาน 1 มาตรการ เสร็จสมบูรณ์/เสร็สมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 55 มาตรการ(90%) อยู่ระหว่างการดำเนินงาน 6 มาตรการ (10%)
หมวด B การคุ้มครองสวัสดิการสังคม จำนวน 94 มาตการ ตำเนินการข้ามหน่วยงาน 13 มาตรการ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 79 มาตรการ (84%) อยู่ในระหว่างการดำเนินการ 7 มาตรการ (7%) อยู่ระหว่างการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล แบ่งเป็นระดับภูมิภาค 3 มาตรการ ระหว่างการพิจารณา 1 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 4 มาตรการ (รวมเป็น 9%)
หมวด C ความยุติธรรมและสิทธิ 28 มาตรการ ดำเนินงานข้ามหน่วยงาน 7 มาตรการ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนือง 27 มาตรการ (96%) อยุ่ระหว่างดำเนินการ 1 มาตรการ (4%)
หมวด D ส่งเสริมความยั่งยือนด้านสิ่งแวดล้อม 98 มาตรการ ดำเนินงานข้ามหน่วยงาน 9 มาตรการ สถานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป้นกระบสนการต่อเนื่อง 57 มาตรการ (58%) อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน 16 มาตรการ (16%) อยู่ระหว่างการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล แบ่งออกเป็น ระดับภูมิภาค 2 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 2 มาตรการ ระหว่างการพิจารณา 2 มาตการ (26%)
หมวด E การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน 50 มาตรการ ดำเนินการข้ามหน่วยงาน 3 มาตรการ สถานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 40 มาตรการ (80%) อยู่ระหว่างพิจารณา/ไม่มีข้อมูล ระดับภูมิภาค 3 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 3 มาตรการ ระหว่างการพิจารณา 1 มาตรการ (14%)
หมวด F กาลดช่องว่างทางการพัฒนา 8 มาตรการ ไม่มีการดำเนินงานข้ามหน่วยงาน สถานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 4 มาตรการ (50%) อยู่ระหว่างการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล แบ่งออกเป็นระดับภูมิภาค 3 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 1 มาตรการ (50%)
รวม มาตรการทั้งสิ้น 339 มาตรการ เป็นมาตรการที่ดำเนินการข้ามหน่วยงาน 33 มาตรการ สภานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 262 มาตรการ คิดเป็น 77 % อยุ่ในระหว่างดำเนินการ 33 มาตรการ คิดเป็น 10% รอการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล 44 มาตรการ คิดเป็น 13%
และเมื่อเปรียบเทียบกับการประเมินผลในระยะครึ่งแผน พบว่า ในรอบการประเมินผลครึ่งแผนมีจำนวนมาตรการที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามเป้าหมาย 218 มาตรการหรือร้อยละ 64 จากจำนวนมาตรการทั้งหมด 339 มาตการ และอีก 54 มาตรการหรือร้อยละ 16 กำลังอยุ่ในระหว่างการดำเนินการ และอีก 67 มาตรการหรือร้อยละ 20 ที่อยุ่ระหว่างการพิจารณาหรือไม่มีข้อมูลในการประเมิน หรือ เป็นมาตรการที่ต้องมีการปฏิบัติในระดับนานาชาติ และจากทั้งหมด 6 เป้าหมาย เป้าหมาย C ความยุติธรรมและสิทธิ ยังคงมีสัดส่วนในการดำเนินแล้วเสร็จสูงสุดทั้งในระดับการประเมินผลในระยะครึ่งแผนและสิ้นสุดแผน
การประเมินระบบ กลไก และทรัพยากรในการดำนินการตาม ASCC BLUEPRINT ของประเทศไทย
ภาพรวมการประเมิน
- ความเชื่อมโยง พบว่า เป้าหมายและมาตรการตาม ASCC Blueprint มีความเชื่อมโยงกับแนวนโยบาย ภารกิจ และแนวการดำเนินการของหน่วยงาานีี่เกี่ยว้องอยุ่ในระดับสุง
- ประสิทธิผล พบว่า การดำเนินงานของหน่วยงานที่เกียว้องนับว่ามีประสิทธิผลอยู่ในระดับปานกลางดดยมีประเด็นร่วมที่สำคัญได้แก่ การจัดสรรวลบประมาณ และกระบวนการติดตามประเมินผลที่ยังขาดความชัดเจน
- ประสิทธิภาพ พบว่า การดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องม่ประสทิะภาพอยุ่นระดับปานกลาง โดยมีประเด็นร่วมที่สำคัญได้แก่ ข้อจำกัดของบุคลากรทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ ทั้งนี เมื่อขอบเขตงานมากขึ้น แต่จำนวนบุคลากรยังคงเดิมจึงก่อให้เกิดปัญหางานล้มมือ และที่สำคัญข้องจำกัดด้านขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งขีดความสามารถในสื่อสารภาษาต่างประเทศ
- ความยั่งยืน พบว่า แนวการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความยั่งยืนอยู่ในระดับปานนกลางโดยทั่วไปพบข้อจำกัดด้านการประสานงานข้ามหน่วยงาน
- ผลกระทบ พบว่า การดำเนินการตาม ASCC Blueprint ก่อให้เกิดผลกระทบเชิงบวกในวงกว้งอยุ่ในระดับกลาง ทั้งในระดับประเทศ ระดับชุมชน และระดับบุคคล
- โครงการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2558 (ระยะสิ้นสุดแผน)
วันศุกร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2560
ASEAN Environment
กรอบความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม
กลไกการดำเนินงานอาเวียนด้านสิ่งแวดล้อม
ในปี พ.ศ. 2520 สิบปีหลังการก่อตั้งอาเซียน ประเทศสมาชิกได้ร่วมกันริเร่ิมโคึรงการควาร่วมมือด้านส่ิงแวดล้อมขึ้นเป้ฯครั้งแรกโดยความช่วยเหลือของโครงการส่ิงแวดล้อมแห่งสประชาชาติ จัดทำโครงการอนุภูมิภาคด้านส่ิงแวดล้อม พร้อมกับจัดตั้งคณะผุ้เชี่ยวชาญอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม ภายใต้คณะกรรมการอาเวียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคนโลยี เป็นผุ้ดำเนินการโครงการ ASEP 1 ซึ่งระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2520-2524) หลังจากนั้นก็มีโครงการต่อเนื่องอีสองโครงการคือ ASEP II (พ.ศ.2525-2530)และ ASEP III (พ.ศ. 2531-2535)
ในช่วงปี พ.ศ. 2535 ได้มีการปรับรูปแบบคณะผุ้เชี่ยวชาญอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม(AEGE) โดยยกฐานะจากคณะผุ้เชี่ยวชาญเป็นคณะกรรมการ ซึ่งแยกออกจากคณะกรรมการด้านวิทยาศาสตร์ฯ เป็นเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม มีหน้าที่กำกับดูแลงานด้านสิ่งแวดล้อมโยเฉพาะ เสนอแนนโยบาย และประสานการจัดการสิ่งแวดล้อมของภุมิภาคอาเซียน รวมทั้งส่งเสริมความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างกันในอาเซียน อาเซียนกับภูมิภาคอื่นๆ และอาเซียนกับองค์กรระหว่างประเทศ ซึ่อยุ่ภายใต้การกำกับดุแลของรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม โดยที่เจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อมจะรายงานการดำเนินงานและเสนอกิจกรรมและดครงการต่อที่ประชุมรัฐมนตรีทุกปี
การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม เป็นการประชุมเพื่อพิจารณากำหนดนโยบาย และทบทวนข้อตัดสินใจต่างๆ รวมทั้งให้ความเห็นชอบต่อแผนงาน/โครงการต่างๆ จะแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ การประชุมทางการซึ่งจะจัดขึ้นทุก 3 ปี โดยจะมีการหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพตามลำดับตัวอักษร และ การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมอย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งเกิดขึ้นจากมติที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 6 เมื่อ 25-26 เมษายน 2537 ณ บรูไนดารุสซาลาม เพื่อให้รัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมมีโอกาสพบปะ หารือแลกเปลี่ยนความคิดเห้ฯและข้อเสนอแนะต่างไ ในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นประจำในปีที่มไ่มีการประุมอย่างเป็นทางการ นอกจากนี้ ในการปรชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมแต่ละครั้งยังมีการประชุมกรอบอาเซียน +3 เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านส่ิงแวดล้อมของอาเซียนกับกับประเทศาธารณรับประชาชนจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี และกรอบเอเชียตะวันออก หรือ อาเซียน + 6 โดยมีเตรือรัฐออสเตรเลีย สาธารณรัฐอินเดีย และนิวซีแลนด์ และปัจจุบันมีสมาชิกเพื่อขึนคือ สหรัฐอเมริกา และสหพันธรัฐรัสเซีย ในระดับปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมได้รับมอบหมายจากรัฐมนตรีให้จัดตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนิน
โครงการ กจิกรรมตามนโยบาย แผน และแนวทางต่างๆ ที่ได้รับมอบหมายจากรัฐมนตรีซึ่งในปัจจุบันมีคณะทำงานทั้งหมด 7 คณะ คือ
- คณะทำงานอาเซียน้ดานการอนุรักษ์ธรรมชาติและความหมากหลายทางชีวภาพ ดดยมีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป็นหน่วยงานกลางประสานงานดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่ง โดยมี กรมควบคุมมลพิษ เป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนิงาน
- คณะทำงานอาเซียนด้านข้อตกลงพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม โดยมี กรมควบคุมมลพิษ เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อมเมืองที่ยั่งยือน โดยมี สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเซียนด้านการจัดการทรัพยากรน้ำ โดยมี กรมทรัพยากรน้ำ เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเซียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมี สำนักงานนธยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คะณทำงานอาเซียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมี สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเซียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมี สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา โดยมี กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
นอกจากนี้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมยังีการดำเนินงานทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ ที่ควบเกี่ยวกับการดำเนินงานของกระทรวงต่างๆ ได้แก่
1. คณะกรรมการอาเซียนด้านวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหน่วยงานหลักมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสมาชิกอาเซียน และมีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการ 9 สาขา มีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเป็นหน่วยประสานงานคณะอนุกรรมการอาเวียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางทะเล ซึ่งเป้นคณะอนุกรรมการระดับเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบกำกับดูแล และประสานการดำเนินงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางทะเลในภุมิภาคอาเซียน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคน 2549 ทั้งนี้มีการประชุม เมื่อปี 2555 ที่
เมือง เนปิดอว์ ประเทศเมียนมาร์
2. การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนด้านการเกษตรและป่าไม้ โดยมีกระทรวงเกษตรและสหกรณืเป้นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก เพื่อกำหนดแนวทางในระดับนโยบายและทบทวนข้อตัดสินใจ และมีการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านการเกษตรและป่าไม้ และการประชุมคณะทำงานสาขาต่างๆ ทำหน้าที่ดูแลด้านวิชาการและด้านการปฏิบัติการ ทั้งนี้ กรมป่าไม้เป็นหน่วยประสานงานเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านป่าไม้ ซึ่งมีคณะทำงานภายไต้ ASOF อีก 6 หน่วยงาน
3. การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านแร่ มีกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก มีการตั้งเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านแร่ของอาเซียน เพื่อพิจารณา หารือ หรือกำหนดกรอบแผนปฏิบัติการ เร่งรัด/ติดตามการดำเนินงานของคณะทำงานด้านต่างๆ และพิจารณาให้ความเห็นชอบในโครงการความร่วมมือระหว่งประเทศสมาชิกอาเซียน ตลอดจนประเทศคู่เจรจาในด้านทรัพยากรแร่ และเป็นกลไกหลักที่สำคัญในประชาคมเศราฐกิจอาเซียน โดยมีคณะทำงานด้านต่างๆ ที่ทำหน้าที่เป้นหน่วยปฏิบัติงาน 4 ด้าน โดยมีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรมเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน ดังนี้
- คณะทำงานด้านสารสนเทศและฐานข้อมูลแร่ ซึงกรมทรัพยากรธรณี ได้รับเชิญให้เข้าร่วมเป็นคณะทำงาน
- คณะทำงานด้านการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรด้านแร่
- คณะทำงานด้านการพัฒนาทรัพยากรแร่อย่างยั่งยืน
- คณะทำงานด้านการค้าและการลงทุนในทรัพยากรแร่oic.mnre.go.th/ewt_news.php?nid=486
กลไกการดำเนินงานอาเวียนด้านสิ่งแวดล้อม
ในปี พ.ศ. 2520 สิบปีหลังการก่อตั้งอาเซียน ประเทศสมาชิกได้ร่วมกันริเร่ิมโคึรงการควาร่วมมือด้านส่ิงแวดล้อมขึ้นเป้ฯครั้งแรกโดยความช่วยเหลือของโครงการส่ิงแวดล้อมแห่งสประชาชาติ จัดทำโครงการอนุภูมิภาคด้านส่ิงแวดล้อม พร้อมกับจัดตั้งคณะผุ้เชี่ยวชาญอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม ภายใต้คณะกรรมการอาเวียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคนโลยี เป็นผุ้ดำเนินการโครงการ ASEP 1 ซึ่งระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2520-2524) หลังจากนั้นก็มีโครงการต่อเนื่องอีสองโครงการคือ ASEP II (พ.ศ.2525-2530)และ ASEP III (พ.ศ. 2531-2535)
ในช่วงปี พ.ศ. 2535 ได้มีการปรับรูปแบบคณะผุ้เชี่ยวชาญอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม(AEGE) โดยยกฐานะจากคณะผุ้เชี่ยวชาญเป็นคณะกรรมการ ซึ่งแยกออกจากคณะกรรมการด้านวิทยาศาสตร์ฯ เป็นเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม มีหน้าที่กำกับดูแลงานด้านสิ่งแวดล้อมโยเฉพาะ เสนอแนนโยบาย และประสานการจัดการสิ่งแวดล้อมของภุมิภาคอาเซียน รวมทั้งส่งเสริมความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างกันในอาเซียน อาเซียนกับภูมิภาคอื่นๆ และอาเซียนกับองค์กรระหว่างประเทศ ซึ่อยุ่ภายใต้การกำกับดุแลของรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม โดยที่เจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อมจะรายงานการดำเนินงานและเสนอกิจกรรมและดครงการต่อที่ประชุมรัฐมนตรีทุกปี
การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม เป็นการประชุมเพื่อพิจารณากำหนดนโยบาย และทบทวนข้อตัดสินใจต่างๆ รวมทั้งให้ความเห็นชอบต่อแผนงาน/โครงการต่างๆ จะแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ การประชุมทางการซึ่งจะจัดขึ้นทุก 3 ปี โดยจะมีการหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพตามลำดับตัวอักษร และ การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมอย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งเกิดขึ้นจากมติที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 6 เมื่อ 25-26 เมษายน 2537 ณ บรูไนดารุสซาลาม เพื่อให้รัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมมีโอกาสพบปะ หารือแลกเปลี่ยนความคิดเห้ฯและข้อเสนอแนะต่างไ ในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นประจำในปีที่มไ่มีการประุมอย่างเป็นทางการ นอกจากนี้ ในการปรชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมแต่ละครั้งยังมีการประชุมกรอบอาเซียน +3 เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านส่ิงแวดล้อมของอาเซียนกับกับประเทศาธารณรับประชาชนจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี และกรอบเอเชียตะวันออก หรือ อาเซียน + 6 โดยมีเตรือรัฐออสเตรเลีย สาธารณรัฐอินเดีย และนิวซีแลนด์ และปัจจุบันมีสมาชิกเพื่อขึนคือ สหรัฐอเมริกา และสหพันธรัฐรัสเซีย ในระดับปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมได้รับมอบหมายจากรัฐมนตรีให้จัดตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนิน
โครงการ กจิกรรมตามนโยบาย แผน และแนวทางต่างๆ ที่ได้รับมอบหมายจากรัฐมนตรีซึ่งในปัจจุบันมีคณะทำงานทั้งหมด 7 คณะ คือ
- คณะทำงานอาเซียน้ดานการอนุรักษ์ธรรมชาติและความหมากหลายทางชีวภาพ ดดยมีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป็นหน่วยงานกลางประสานงานดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่ง โดยมี กรมควบคุมมลพิษ เป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนิงาน
- คณะทำงานอาเซียนด้านข้อตกลงพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม โดยมี กรมควบคุมมลพิษ เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อมเมืองที่ยั่งยือน โดยมี สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเซียนด้านการจัดการทรัพยากรน้ำ โดยมี กรมทรัพยากรน้ำ เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเซียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมี สำนักงานนธยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คะณทำงานอาเซียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมี สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเซียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมี สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
- คณะทำงานอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา โดยมี กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เป้ฯหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน
นอกจากนี้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมยังีการดำเนินงานทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ ที่ควบเกี่ยวกับการดำเนินงานของกระทรวงต่างๆ ได้แก่
1. คณะกรรมการอาเซียนด้านวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหน่วยงานหลักมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสมาชิกอาเซียน และมีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการ 9 สาขา มีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเป็นหน่วยประสานงานคณะอนุกรรมการอาเวียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางทะเล ซึ่งเป้นคณะอนุกรรมการระดับเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบกำกับดูแล และประสานการดำเนินงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางทะเลในภุมิภาคอาเซียน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคน 2549 ทั้งนี้มีการประชุม เมื่อปี 2555 ที่
เมือง เนปิดอว์ ประเทศเมียนมาร์
2. การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนด้านการเกษตรและป่าไม้ โดยมีกระทรวงเกษตรและสหกรณืเป้นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก เพื่อกำหนดแนวทางในระดับนโยบายและทบทวนข้อตัดสินใจ และมีการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านการเกษตรและป่าไม้ และการประชุมคณะทำงานสาขาต่างๆ ทำหน้าที่ดูแลด้านวิชาการและด้านการปฏิบัติการ ทั้งนี้ กรมป่าไม้เป็นหน่วยประสานงานเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านป่าไม้ ซึ่งมีคณะทำงานภายไต้ ASOF อีก 6 หน่วยงาน
3. การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านแร่ มีกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก มีการตั้งเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านแร่ของอาเซียน เพื่อพิจารณา หารือ หรือกำหนดกรอบแผนปฏิบัติการ เร่งรัด/ติดตามการดำเนินงานของคณะทำงานด้านต่างๆ และพิจารณาให้ความเห็นชอบในโครงการความร่วมมือระหว่งประเทศสมาชิกอาเซียน ตลอดจนประเทศคู่เจรจาในด้านทรัพยากรแร่ และเป็นกลไกหลักที่สำคัญในประชาคมเศราฐกิจอาเซียน โดยมีคณะทำงานด้านต่างๆ ที่ทำหน้าที่เป้นหน่วยปฏิบัติงาน 4 ด้าน โดยมีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรมเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำเนินงาน ดังนี้
- คณะทำงานด้านสารสนเทศและฐานข้อมูลแร่ ซึงกรมทรัพยากรธรณี ได้รับเชิญให้เข้าร่วมเป็นคณะทำงาน
- คณะทำงานด้านการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรด้านแร่
- คณะทำงานด้านการพัฒนาทรัพยากรแร่อย่างยั่งยืน
- คณะทำงานด้านการค้าและการลงทุนในทรัพยากรแร่oic.mnre.go.th/ewt_news.php?nid=486
วันพฤหัสบดีที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2560
Environment
สิ่งแวดล้อม หมายถึง
- สิ่งแวดล้อม (ชีวฟิสิกส์) ปัจจัยทางฟิสิกส์และชีววิทยา ร่วมกับอันตรกิริยาทางเคมีที่กระทบต่อสิ่งมีชีวิต
- สิ่งแวดล้อม (ระบบ) สภาพแวดล้อมของระบบเชิงกายภาพที่อาจมีอัตรกิริยากับระบบโดยแลกเปลี่ยนมวล พลังงานหรือคุณสมบัติอย่างอื่น
นอกจากนี้อาจหมายถึง
- สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง, สภาพแวดล้อมที่ถุกสร้างขึ้ซึ่งเป็นสถานที่สำหรัีบกิจกรรมของมนุษย์ มีตั้งแต่สภาพแวดล้อมพลเมืองขนาดใหญ่ไปจนถึงสถานที่ส่วนบุคคล
- สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ, สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตทั้งหมด
- สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ, สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตทั้งหมด
- สิ่งแวดล้อมทางสังคม, วัฒนธรรมที่ปัจเจกบุคคลอาศัยอยู่ และบุคคลและสถาบันที่มีอันตรกิริยากับบุคคลนั้น
- สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ, ในนิเวศวิทยา
- สิ่งแวดล้อมศึกษา, กระบวนการที่มุ่งสร้างในประชากรโลกมีความสำนึกและห่วงใยในปัญหาส่ิงแวดล้อมth.wikipedia.org/wiki/สิ่งแวดล้อม
สถานการณ์ ปัญหา สิ่งแวดล้อม ในปัจจุบัน
ในปัจจุบันสามารถจำแนก ปัญหาสิ่งแวดล้อม ที่สังคมมนุษย์กำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งแบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ปัญหาการลดลงของทรัพยากรธรรมชาติ, ปัญหามลภาวะหรือมลพิษทางสิ่งแวดล้อม, ปัญหาการทำลายระบบนิเวศ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม สามารถเกิดขึ้นทุกพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างิย่งพื้นที่ ที่ประชกรอาศัยอยู่หนาแน่นและในพื้นที่ดังกล่าวปัญหาความเสื่อมโรมของสิ่งแวดล้อมก็จะมากด้วย ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท ความหนาแน่นของประชากรในเขตเมืองจะเป้ฯตัวเร่งทำให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมเร็วและรุนแรงขึ้น ดดยที่คนในเมืองจะมีลักษระของการใช้ทรัพยากรมากกว่าในชนบท อัตราส่วนการใช้ทรัพยากรของคนในเมืองจะสูงกว่าคนชนบทดังนั้น ปัญหาส่ิงแวดล้อม ในเมืองจึงเกิดการใช้ทรัพยากรของบุคคลและการผลิตของเสียจากการใช้ทรัพยากร ส่วนปัญหาสิงแวดล้อม ในเขตชนบท การเพ่ิมความต้องการด้านที่อยุ่อาศัย อาหาร มีผลทำให้มีการบุกรุก ทำลายป่าสงวน เพื่อนำไม้มาสร้างที่อยุ่อาศัย และเพ่อขยายพื้นที่การเพาะปลูก การตัดไม้ทำลายป่าก่อให้เกิดผลเสียตามมามากมาย เช่น ปัญหาฝนแล้ง น้ำท่วม ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ความสูญเสียด้านผลผลิตทางการเกษตร เป้นต้น
สถานการณ์และปัญหาสิ่งแวดล้อมโลก ปัจจุบันโลกประกอบไปด้วยประชากรมนุาญืประมาณ 5,926 ล้านคน (พ.ศ.2541) ประเทที่มีขนาดใหญ่และมีจำนวนประชากรมากที่สุดในโลก คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน มนุษย์มีความต้องการปัจจัยพื้นฐานสำหรับการดำรงชีวิต เพ่ิมมากขึ้นเป็นลำดับ ในขณะที่ความต้องการปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตของประชากรเพ่ิมมากขึ้น แต่ทรัพยากรที่สามารถสนองความต้องการของประชากรน้นอยุ่ในสภาพที่คงที่ และหลายอย่างลดลง บางอย่างสูญพันธ์หรือหมดไป และที่ผ่านมามนุษย์พยายามตักตวงการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
ที่มีอยู่อย่งฟุ่มเฟือย มีการใช้สรเคมีก่อให้เกิดสารพิษตกค้างกลายเป้นปัญหาส่ิงแวดล้อมที่เป้ฯวิกฤตการณ์ เป้นภัยภิบัติรุนแรงต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์เองและต่อสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ของโลก การประชุมสหประชาชาติเมื่อปี พ.ศ. 2515 ว่าด้วยสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ของโลก การประชุมสหประชาชาติที่กรุงสต็อกโฮม ประเทศสวีเดน เมื่อมิถุนายน พ.ศ. 2515 ว่าด้วยส่ิงแวดล้อมมนุษย์ ได้มีการจัดตั้ง โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งประชาชาติหรือเรียกย่อๆ ว่า UNEP ขึ้น และกำหนดให้วันที่ 5 มิถุนายนของทุกปีเป็นวันสิ่งแวดล้อมโลกwastewatertreatments.wordpress.com/2010/10/06/สถานการณ์-ปัญหาสิ่งเเวด/
อาเซียน อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางระบบนิเวศและมีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ที่สุดแห่งปนึ่งในโลกแต่ก็ต้องเผชิญกัปัญหาด้าน่ิงแวดล้อมด้วยในขณะเดียวกัน เนื่องจากการเพ่ิมขึ้นของประชากรและการพัฒนาเศราฐกิจในช่วงที่ผ่านมา ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติ และระบบนิเวศในหลายพื้นที่เสื่อมโทรมลง ความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมจึงเป้ฯอีกมิติหนึ่งของความร่วมมือในอาเซียน ซึ่งสะท้อนถึงบทบาทที่สร้างสรรค์ของอาเซียนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
กลไกความร่วมือ อาเซียนตระหนักถึงปัญหาด้านส่ิงแวดล้อมในภูมิภาคเป้นอย่างดี จึงได้เร่งพัฒนาความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่การริเริ่ม "โครงการส่ิงแวดลอ้มอนุภูมิภาคอาเซียนระยะที่ 1 " เมื่อปี 2520 ภายใต้การสนับสนุนจาก "โครงการส่ิงแวดล้อมสหประชาชาติ เพื่อสึกษาถึงมุมมองและช่องว่างของโครงการด้านส่ิงแวดล้อมที่แต่ละประเทศอาเซียนกำลังดำเนินการอยู่ในขณะนั้น
ในปีถัดมา อาเซียนได้ตั้ง "กลุ่มผุึ้เชียวชาญด้านส่ิงแวดล้อมอาเซียนเพื่อดูแลคามร่วมมือด้านส่ิส่งแวดล้อม ศึกษาปัญหา ตลอดจนให้คำแนะนำต่ออาเซียนในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับส่ิงแวดล้อม ดดยมีการจัดประชุมครั้งแรกขึ้นเมืองเดอืนธันวาคม 2521 ณ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียกลุ่มผู้เชียวชาญดังกล่าว ได้ยกระดับขึ้นเป็น "คณะเจ้าหน้าที่อสุโสด้านสิ่งแวดล้อมอาเซียน" และได้ดำเนินงานต่อเนื่องมาจนึถงปัจจุบัน ถือเป้นกลไกที่มีบทบาทอยางมากในการสึกษาปัญหาสิ่งแวดล้อม การกลั่นกรองพิจารณาคามร่วมมือต่างๆ ตลอดจนการให้คำแนะนำเชิงนโยบายต่อที่ประชุมรัฐมนตรีด้านส่ิงแวดล้อมของอาเซียน
กลไกความมือระดับสุงสุดในด้านสิ่งแวดล้อมของอาเว๊ยนในปัจจุบันคือ "การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม" ซึ่งจักขึ้นครังแรกเมื่อปี 2524 และมีกำหนดจัดประชุมอย่างเป้ฯทางการอย่างน้อยทุกๆ 3 ปี แต่ด้วยความตระหนักถึงปัญหาส่ิงแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปและทวีความรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงมีการจัดการประชุมอย่างไม่เป็นทางการเมื่อเกือบทุกปี ตั้งปต่ปี 2537 เป็นต้นมา เพ่อร่วมกันกำหนดกรอบและแนทางการจัดการด้านส่ิงแวดล้อมของอาเวียน รวมทีั้งร่วมติดตามความคือบหน้าของกลไกและความร่วมมือด้านส่ิงแวดล้อมของอาเซียนด้วย
ยิ่งไปกว่านั้นเมื่อปัญหาส่ิงแวดล้อมที่สำคัญอย่งปัญหามลพิษหมอกควัน ข้ามแอนทวีความรุนแรงขึ้นอย่งมากในช่วงปี 2540-2541 อาเซียนได้จัด "การประชุมรัฐมนตรีว่าด้วยปัญหาหมอกควัน" ในปี 2541 ที่สิงคโปร์ เพื่อหาทางบรรเทาปัญหาดังกล่ว ดดยมีการจัดประชุมมาอย่างต่อเนื่อง และในปี 2545 อาเซียนยังได้บรรลุ "ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควัน" ที่สิงคโปร์ เื่อหาทางบรรเท่าปัญหาดังกล่ว โดยมีการจัดประชุมมาอย่างต่อเนื่อง และในปี 2545 อาเซียนยังได้บรรลุ "ความตกลงอาเวียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน" ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันและลดมลพิษจากหมอกควันข้ามแดนอันเกิดจากไฟป่าเป็นสำคัญ
ต่อมา อาเวียนเร่ิมบูรณาการให้เกิดความร่วมมือทีเ่ป็นูปธรรมมากขึ้น โดยสร้างความตระหนักรู้ว่าปัญหาว่ิงแวดล้อมไม่ใช่ปัญหาที่รัฐบาลของประเทศต่างๆ มีหน้าที่แก้ไขเท่านััน แต่ต้องอาศัยความร่วมมือจากประชาชนทุกคนเป้นกำลังสำคัญด้วย โดยมีการกำหนดเขตคพื้นที่ป้องกันและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมขึ้นมาอย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของอุทยานแห่งชาติหรืเครือข่ายอนุรักษ์ธรรมชาติ นอกจากนั้นยังมีการวางแผนงานลดมลภาวะในด้านต่างๆ ทั้งมลภาวะ อากาศ น้ำ หรือ ทะเล อย่างครอบคลุมอีกด้วย
การสร้างความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมของอาเวียนในช่วงต่อมาเน้นการสร้างคยามเข้มแข็งและความเป้นระบบให้กับกลไกต่างๆ มากขึ้น โดยได้มีการวางแผนยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมของอาเว๊ยนนั้น และมีการบูรณาการสถาบันต่างๆ ภายใต้กลไกอาเซียน เืพ่อให้ความร่วมมือด้านส่ิงแวดล้อมประสบความสำเร็จ และยังสามารถนำไปสู่ความร่วมมือด้านอื่นๆ ในภูมิภาคได้ด้วยwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=7237&filename=index_2
สิ่งแวดล้อมมีความสำคัญต่อชีวิตมุษย์ เพราะสิ่งแวดล้อมเอื้ออำนวยประโยชน์ให้มนุษย์ได้รับบปัจจัยสี่ในการดำรงชีวิต ดังนั้นเมื่อจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้นก็จะส่งผลให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทมและเกิดมลพิษทำใหมนุษย์ในด้านสุขภาพอนามัีย ปัญหาสังคม ปัญหาการขาดแคลนปัจจัยในการดำรงชวติด
สถานการร์สิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน สิ่งแวดล้อมที่เป้ฯธรรมชาติ ทั้งภายในประเทศและในท้องถ่ินมีแนวโน้ม ถูกทำลายเพ่ิมมากขึ้น ใขณะเดียวกัน สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม (ที่มนุษย์สร้างขึ้น) กลับเพิ่มมาแทนมากขึ้นเป็นลำดับ ทั้งนี้เนื่องจาก ในปัจจุบันจำนวนประชากรมนุษย์เพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการปรดิษญ์และพัฒนาเทคโนโลยี มาใช้อำนวยประโยชน์ต่อมนุษย์ เพ่ิมมากขึ้น ผลจาการทำลายส่ิงแวดล้อม ทงธรรมชาติ ส่งผลกระทบต่อ มนุษย์หลายประการ เช่น ปัญหาการแปรปรวนของภูมิอากาศโลกการร่อยหรอ ของทรัพยากรธรรม ชาติภัยพิบัติมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น มลพิษส่ิงแวดล้อมขยายขอบเขต กว้างขวางมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรง ต่อการดำรงอยู่และการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของมนุษย์ สาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดปัญหาดังกล่าวเกิดจา การเพิ่มขึ้นของประชากร, การขยายตัวทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี, ภัยธรรมชาติ
สภานการณ์ส่ิงแวดล้อมของประเทศไทย
การเจริญเติบโตทงเศราฐกิจอย่างรวดเ็วในช่วง 3 ทศวรรษที่ผ่านมา ได้ส่งผลเสียต่อสถานกาณ์สิ่งแวดล้ดมของประเทศไทย และก่อให้เกิดปัญหารการใช้ทรัพยากรอย่างไม่ยั่งยืน ได้แก่ ปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรป่าไม้ ที่ดิน น้ำ และทรัพยการชายฝั่ง รวมทั้งปัญหามลพิษที่ทวีความรุนแรงมาขึ้น ทั้งด้านมลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพแก่ประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมือง ทั้งหมดนี้ล้วนแสดงให้เห็นถึงความรุนแรงของปัญหาส่ิงแวดล้อมและผลกระทบที่มีต่อชีวิตความเป้นอยู่ของประชาชน สรุปสถานการณ์สิ่งแวดของประเทศไทยมีดังนี้
- สถานการณ์ของทรพัยากรดิน เป้นทรัพยากกรธรรมชาติที่สำคัญในการดำรงชีพของมนุษย์ ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมที่ต้องใช้ที่ดินเป็นปัจจยหลักการเพ่ิมขึ้นของประชากร ประกอบดับความต้องการใช้ที่ดิน เพื่อใช้ในกิจกรรมทางเศราฐกิจสาขาอื ่นก็มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น เช่น การพัฒนาเมือง เขตอุตสาหกรรม เป้นต้น ดังนั้น ปัญหาที่เกิดขึ้นในการใช้ประโยชน์ที่ดิน คือ การนำพื้นที่เหมาะสมทางการเกษตรมาใช้ในการขยายเมือง การนำพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมต่อการเกษตรมาใช้ในการเกษตร การใช้ประดชน์จากดินที่ไม่ถุกต้องตามหลักวิชาการ ทำให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของดิน ซึ่งส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อเกษตรกร ชุมชนและประเทศชาติสำหรับปัญหาทรัพยากรดินของประเทศไทยคือ การพังทลายของดิน, การเสื่อมโทรมของดิน, การขาดความอุดมสมบูรณ์ของดินเนื่องจากการปลูกพืชไม่ถูกวิธี, ดินเป็นพิษจากสารเคมีปราบศัตรูพืชและปุ๋ยเคมี,
- สถานการของทรัพยากรน้ำ น้ำเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญอย่งยิ่ง สิ่งมีชีวิตทุกชนิดสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ต้องอาศัยน้ำ นอกจากนี้ น้ำยังเป้นปัจจัยการผลิตที่สำคัญไม่วาจะเป้นการผลิตตในภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม หรือภาคบริการ โดยเฉพาะการผลิตในภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรมเกษตร ซึงเป็นภาคการผลิตที่ต้องใช้น้ำเป็น ปริมาณมาก แต่ทรัพยากรน้ำเป้นทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด ในโลกมีน้ำอยุ่ประมาณ 1,234 ล้านลูกบาศก์กิโลเมตร เป็นน้ำจืดเพียงร้อยละ 5 และประมาณ 4 ใน 5 ของน้ำจืดที่มีอยู่ เป็นน้ำแข็งในเขตขั่วโลก นอกจากนี้ยังเป้นน้ำใต้ดินถึงร้อยละ 99 ของน้ำจือดที่เป็นของเหลว สถานการ์ของทรัพยการน้ำในปัจจุบัน สรุปดังนี้ การขาดแคลนน้ำ, น้ำสเียและสารพิษในน้ำ, น้ำท่วม, น้ำทะลหนุน, นำ้บาดาลลดระดับ, แหล่วน้ำตื้นเขิ, สถานกาณณืคุณภาพอากาศ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อปัญหาคุณภาพอากาศภายในอาคารสำนักงาน อาคาราชการทั่วไป พบว่มักได้รับการออกแบบเป้นแบบปิดทึบจัดมีระบบปรับอากาศ และโดยส่วนใหยพบว่มีการนำอากาศจากด้านนอกเข้ามาในอาคารเล็กน้อยเพื่อลดค่าใช้จ่ายเรืองระบบปรับอากาศ ทำให้อากาศที่หมุนเวียนอยู่ในอาคารเป้นอากาศเดิม จะทำให้สถานที่ทำงานกลายเป้นแหล่งสะสมของสารเคมี ฝุ่นกลิ่นเชื้อโรคทำให้รู้สึกไม่สบาย และเป้ฯสาเหตุของโรคติดต่อซึ่งเป็ถัยเงียบยั่นทอนประสิทธิภาถการทำงาน และสุขภาพอนามัยของคนทำงานได้
- สถานการของทรัพยากรป่าไม้ การใช้ประโยชน์จากพื้นที่ป่าอย่างต่อเนื่องในช่วงสีทศวรรษที่ผ่านมทำให้ประเทศไทยสูญเสียพื้นที่ป่าไปแล้วประมาณ 67 ล้านไร่ หรือเฉลี่ยประมาณ 1.6 ล้านไร่ต่อปี รัฐบาลในอดีตได้พยายามจะรักษาพื้นที่ป่าโดยประกาศยกเลิกสัมปทานการทำไม้ในป่าบกทั้งหมด ในปี พ.ศ. 2532 แต่หลังจากยกลิกสัมปทานป่าไม้ สถานการณ์ดีขึ้นในระยะแรดเท่านั้น ต่อมาการทำลายก็ยังควเกิดขึ้นไม่แตกต่างจากสถานการ์ก่อนยกเลิกสัมปทานป่าไม้เท่าใดนัก โดยพื้นที่ป่าที่ถุกบุกรุกก่อนการยกเลิกสัมปทาน เฉลี่ยต่อปี เท่ากับ 1.2 ล้านไร่ และพื้นที่ป่าที่ถุกบุกรุกหลังการยกเลิกสัมปรทาน เฉลี่ย 1.1 ล้านไร่ต่อปี สรุปสถานการณ์ในปัจจุบันดังนี้ การสูญเสียพื้นที่ป่า, การอนุรักษ์พื้อนที่ป่าไม้เป็นไปตามเป้าหมาย, ปริมาณการปลูกป่า,
- สถานการณ์ของทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงาน, แร่ธาตุแลพลังงานเป็ทรัพยากรที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษบกิจของประเทศสถานการณ์แร่ธาตุและพฃลีังงานในปัจจุบัน สรุปดังนี้ ปัญหาความขาดแคลน, ปัญหาทางเศรษฐกิจ, ปัญหาต่อสุขภาพอนามัย, ปัญหาสิ่งแวดล้อม, ปัญหาต่อสังคม,
- สถานการขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอยเป็นเหตุสำคัญประการหนึ่งที่ก่อให้เกิปัญหาสิ่งแวดล้อม และมีผลต่อสขภาพอนามัย มูลฝอยหรือของเสียกำลังมีปริมาณเพ่ิมมากขึ้นทุกปี เพราะสาเหตุจากการเพ่ิมของประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจและทางอุตสาหกรรม นับเป็นปัญหาที่สำคัญของชุมชนซึ่งต้องจัดการและแก้ไย ปริมาณกากของเสียและสารอันตราย ได้แก่ ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และสารพิษที่ปนเปื้อนอยุ่ในแหล่งน้ำ ดิน และอากาศ ตลอดจนบางส่วนตกค้าอยุ่ในอาหารทำให้ประชาชนทั่วไปเสี่ยงต่ออันตรายจากการเป็นโรคต่างๆ เช่น มะเร็ง และโรคผิดปกติทางพันธุกรรม เป็นต้น...wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_lifeenvironmentandtechnology/wiki/8191c/_7_.html
- สิ่งแวดล้อม (ชีวฟิสิกส์) ปัจจัยทางฟิสิกส์และชีววิทยา ร่วมกับอันตรกิริยาทางเคมีที่กระทบต่อสิ่งมีชีวิต
- สิ่งแวดล้อม (ระบบ) สภาพแวดล้อมของระบบเชิงกายภาพที่อาจมีอัตรกิริยากับระบบโดยแลกเปลี่ยนมวล พลังงานหรือคุณสมบัติอย่างอื่น
นอกจากนี้อาจหมายถึง
- สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง, สภาพแวดล้อมที่ถุกสร้างขึ้ซึ่งเป็นสถานที่สำหรัีบกิจกรรมของมนุษย์ มีตั้งแต่สภาพแวดล้อมพลเมืองขนาดใหญ่ไปจนถึงสถานที่ส่วนบุคคล
- สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ, สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตทั้งหมด
- สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ, สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตทั้งหมด
- สิ่งแวดล้อมทางสังคม, วัฒนธรรมที่ปัจเจกบุคคลอาศัยอยู่ และบุคคลและสถาบันที่มีอันตรกิริยากับบุคคลนั้น
- สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ, ในนิเวศวิทยา
- สิ่งแวดล้อมศึกษา, กระบวนการที่มุ่งสร้างในประชากรโลกมีความสำนึกและห่วงใยในปัญหาส่ิงแวดล้อมth.wikipedia.org/wiki/สิ่งแวดล้อม
สถานการณ์ ปัญหา สิ่งแวดล้อม ในปัจจุบัน
ในปัจจุบันสามารถจำแนก ปัญหาสิ่งแวดล้อม ที่สังคมมนุษย์กำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งแบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ปัญหาการลดลงของทรัพยากรธรรมชาติ, ปัญหามลภาวะหรือมลพิษทางสิ่งแวดล้อม, ปัญหาการทำลายระบบนิเวศ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม สามารถเกิดขึ้นทุกพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างิย่งพื้นที่ ที่ประชกรอาศัยอยู่หนาแน่นและในพื้นที่ดังกล่าวปัญหาความเสื่อมโรมของสิ่งแวดล้อมก็จะมากด้วย ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท ความหนาแน่นของประชากรในเขตเมืองจะเป้ฯตัวเร่งทำให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมเร็วและรุนแรงขึ้น ดดยที่คนในเมืองจะมีลักษระของการใช้ทรัพยากรมากกว่าในชนบท อัตราส่วนการใช้ทรัพยากรของคนในเมืองจะสูงกว่าคนชนบทดังนั้น ปัญหาส่ิงแวดล้อม ในเมืองจึงเกิดการใช้ทรัพยากรของบุคคลและการผลิตของเสียจากการใช้ทรัพยากร ส่วนปัญหาสิงแวดล้อม ในเขตชนบท การเพ่ิมความต้องการด้านที่อยุ่อาศัย อาหาร มีผลทำให้มีการบุกรุก ทำลายป่าสงวน เพื่อนำไม้มาสร้างที่อยุ่อาศัย และเพ่อขยายพื้นที่การเพาะปลูก การตัดไม้ทำลายป่าก่อให้เกิดผลเสียตามมามากมาย เช่น ปัญหาฝนแล้ง น้ำท่วม ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ความสูญเสียด้านผลผลิตทางการเกษตร เป้นต้น
สถานการณ์และปัญหาสิ่งแวดล้อมโลก ปัจจุบันโลกประกอบไปด้วยประชากรมนุาญืประมาณ 5,926 ล้านคน (พ.ศ.2541) ประเทที่มีขนาดใหญ่และมีจำนวนประชากรมากที่สุดในโลก คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน มนุษย์มีความต้องการปัจจัยพื้นฐานสำหรับการดำรงชีวิต เพ่ิมมากขึ้นเป็นลำดับ ในขณะที่ความต้องการปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตของประชากรเพ่ิมมากขึ้น แต่ทรัพยากรที่สามารถสนองความต้องการของประชากรน้นอยุ่ในสภาพที่คงที่ และหลายอย่างลดลง บางอย่างสูญพันธ์หรือหมดไป และที่ผ่านมามนุษย์พยายามตักตวงการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
ที่มีอยู่อย่งฟุ่มเฟือย มีการใช้สรเคมีก่อให้เกิดสารพิษตกค้างกลายเป้นปัญหาส่ิงแวดล้อมที่เป้ฯวิกฤตการณ์ เป้นภัยภิบัติรุนแรงต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์เองและต่อสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ของโลก การประชุมสหประชาชาติเมื่อปี พ.ศ. 2515 ว่าด้วยสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ของโลก การประชุมสหประชาชาติที่กรุงสต็อกโฮม ประเทศสวีเดน เมื่อมิถุนายน พ.ศ. 2515 ว่าด้วยส่ิงแวดล้อมมนุษย์ ได้มีการจัดตั้ง โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งประชาชาติหรือเรียกย่อๆ ว่า UNEP ขึ้น และกำหนดให้วันที่ 5 มิถุนายนของทุกปีเป็นวันสิ่งแวดล้อมโลกwastewatertreatments.wordpress.com/2010/10/06/สถานการณ์-ปัญหาสิ่งเเวด/
อาเซียน อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางระบบนิเวศและมีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ที่สุดแห่งปนึ่งในโลกแต่ก็ต้องเผชิญกัปัญหาด้าน่ิงแวดล้อมด้วยในขณะเดียวกัน เนื่องจากการเพ่ิมขึ้นของประชากรและการพัฒนาเศราฐกิจในช่วงที่ผ่านมา ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติ และระบบนิเวศในหลายพื้นที่เสื่อมโทรมลง ความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมจึงเป้ฯอีกมิติหนึ่งของความร่วมมือในอาเซียน ซึ่งสะท้อนถึงบทบาทที่สร้างสรรค์ของอาเซียนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
กลไกความร่วมือ อาเซียนตระหนักถึงปัญหาด้านส่ิงแวดล้อมในภูมิภาคเป้นอย่างดี จึงได้เร่งพัฒนาความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่การริเริ่ม "โครงการส่ิงแวดลอ้มอนุภูมิภาคอาเซียนระยะที่ 1 " เมื่อปี 2520 ภายใต้การสนับสนุนจาก "โครงการส่ิงแวดล้อมสหประชาชาติ เพื่อสึกษาถึงมุมมองและช่องว่างของโครงการด้านส่ิงแวดล้อมที่แต่ละประเทศอาเซียนกำลังดำเนินการอยู่ในขณะนั้น
ในปีถัดมา อาเซียนได้ตั้ง "กลุ่มผุึ้เชียวชาญด้านส่ิงแวดล้อมอาเซียนเพื่อดูแลคามร่วมมือด้านส่ิส่งแวดล้อม ศึกษาปัญหา ตลอดจนให้คำแนะนำต่ออาเซียนในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับส่ิงแวดล้อม ดดยมีการจัดประชุมครั้งแรกขึ้นเมืองเดอืนธันวาคม 2521 ณ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียกลุ่มผู้เชียวชาญดังกล่าว ได้ยกระดับขึ้นเป็น "คณะเจ้าหน้าที่อสุโสด้านสิ่งแวดล้อมอาเซียน" และได้ดำเนินงานต่อเนื่องมาจนึถงปัจจุบัน ถือเป้นกลไกที่มีบทบาทอยางมากในการสึกษาปัญหาสิ่งแวดล้อม การกลั่นกรองพิจารณาคามร่วมมือต่างๆ ตลอดจนการให้คำแนะนำเชิงนโยบายต่อที่ประชุมรัฐมนตรีด้านส่ิงแวดล้อมของอาเซียน
กลไกความมือระดับสุงสุดในด้านสิ่งแวดล้อมของอาเว๊ยนในปัจจุบันคือ "การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม" ซึ่งจักขึ้นครังแรกเมื่อปี 2524 และมีกำหนดจัดประชุมอย่างเป้ฯทางการอย่างน้อยทุกๆ 3 ปี แต่ด้วยความตระหนักถึงปัญหาส่ิงแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปและทวีความรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงมีการจัดการประชุมอย่างไม่เป็นทางการเมื่อเกือบทุกปี ตั้งปต่ปี 2537 เป็นต้นมา เพ่อร่วมกันกำหนดกรอบและแนทางการจัดการด้านส่ิงแวดล้อมของอาเวียน รวมทีั้งร่วมติดตามความคือบหน้าของกลไกและความร่วมมือด้านส่ิงแวดล้อมของอาเซียนด้วย
ยิ่งไปกว่านั้นเมื่อปัญหาส่ิงแวดล้อมที่สำคัญอย่งปัญหามลพิษหมอกควัน ข้ามแอนทวีความรุนแรงขึ้นอย่งมากในช่วงปี 2540-2541 อาเซียนได้จัด "การประชุมรัฐมนตรีว่าด้วยปัญหาหมอกควัน" ในปี 2541 ที่สิงคโปร์ เพื่อหาทางบรรเทาปัญหาดังกล่ว ดดยมีการจัดประชุมมาอย่างต่อเนื่อง และในปี 2545 อาเซียนยังได้บรรลุ "ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควัน" ที่สิงคโปร์ เื่อหาทางบรรเท่าปัญหาดังกล่ว โดยมีการจัดประชุมมาอย่างต่อเนื่อง และในปี 2545 อาเซียนยังได้บรรลุ "ความตกลงอาเวียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน" ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันและลดมลพิษจากหมอกควันข้ามแดนอันเกิดจากไฟป่าเป็นสำคัญ
ต่อมา อาเวียนเร่ิมบูรณาการให้เกิดความร่วมมือทีเ่ป็นูปธรรมมากขึ้น โดยสร้างความตระหนักรู้ว่าปัญหาว่ิงแวดล้อมไม่ใช่ปัญหาที่รัฐบาลของประเทศต่างๆ มีหน้าที่แก้ไขเท่านััน แต่ต้องอาศัยความร่วมมือจากประชาชนทุกคนเป้นกำลังสำคัญด้วย โดยมีการกำหนดเขตคพื้นที่ป้องกันและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมขึ้นมาอย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของอุทยานแห่งชาติหรืเครือข่ายอนุรักษ์ธรรมชาติ นอกจากนั้นยังมีการวางแผนงานลดมลภาวะในด้านต่างๆ ทั้งมลภาวะ อากาศ น้ำ หรือ ทะเล อย่างครอบคลุมอีกด้วย
การสร้างความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมของอาเวียนในช่วงต่อมาเน้นการสร้างคยามเข้มแข็งและความเป้นระบบให้กับกลไกต่างๆ มากขึ้น โดยได้มีการวางแผนยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมของอาเว๊ยนนั้น และมีการบูรณาการสถาบันต่างๆ ภายใต้กลไกอาเซียน เืพ่อให้ความร่วมมือด้านส่ิงแวดล้อมประสบความสำเร็จ และยังสามารถนำไปสู่ความร่วมมือด้านอื่นๆ ในภูมิภาคได้ด้วยwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=7237&filename=index_2
สิ่งแวดล้อมมีความสำคัญต่อชีวิตมุษย์ เพราะสิ่งแวดล้อมเอื้ออำนวยประโยชน์ให้มนุษย์ได้รับบปัจจัยสี่ในการดำรงชีวิต ดังนั้นเมื่อจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้นก็จะส่งผลให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทมและเกิดมลพิษทำใหมนุษย์ในด้านสุขภาพอนามัีย ปัญหาสังคม ปัญหาการขาดแคลนปัจจัยในการดำรงชวติด
สถานการร์สิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน สิ่งแวดล้อมที่เป้ฯธรรมชาติ ทั้งภายในประเทศและในท้องถ่ินมีแนวโน้ม ถูกทำลายเพ่ิมมากขึ้น ใขณะเดียวกัน สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม (ที่มนุษย์สร้างขึ้น) กลับเพิ่มมาแทนมากขึ้นเป็นลำดับ ทั้งนี้เนื่องจาก ในปัจจุบันจำนวนประชากรมนุษย์เพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการปรดิษญ์และพัฒนาเทคโนโลยี มาใช้อำนวยประโยชน์ต่อมนุษย์ เพ่ิมมากขึ้น ผลจาการทำลายส่ิงแวดล้อม ทงธรรมชาติ ส่งผลกระทบต่อ มนุษย์หลายประการ เช่น ปัญหาการแปรปรวนของภูมิอากาศโลกการร่อยหรอ ของทรัพยากรธรรม ชาติภัยพิบัติมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น มลพิษส่ิงแวดล้อมขยายขอบเขต กว้างขวางมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรง ต่อการดำรงอยู่และการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของมนุษย์ สาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดปัญหาดังกล่าวเกิดจา การเพิ่มขึ้นของประชากร, การขยายตัวทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี, ภัยธรรมชาติ
สภานการณ์ส่ิงแวดล้อมของประเทศไทย
การเจริญเติบโตทงเศราฐกิจอย่างรวดเ็วในช่วง 3 ทศวรรษที่ผ่านมา ได้ส่งผลเสียต่อสถานกาณ์สิ่งแวดล้ดมของประเทศไทย และก่อให้เกิดปัญหารการใช้ทรัพยากรอย่างไม่ยั่งยืน ได้แก่ ปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรป่าไม้ ที่ดิน น้ำ และทรัพยการชายฝั่ง รวมทั้งปัญหามลพิษที่ทวีความรุนแรงมาขึ้น ทั้งด้านมลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพแก่ประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมือง ทั้งหมดนี้ล้วนแสดงให้เห็นถึงความรุนแรงของปัญหาส่ิงแวดล้อมและผลกระทบที่มีต่อชีวิตความเป้นอยู่ของประชาชน สรุปสถานการณ์สิ่งแวดของประเทศไทยมีดังนี้
- สถานการณ์ของทรพัยากรดิน เป้นทรัพยากกรธรรมชาติที่สำคัญในการดำรงชีพของมนุษย์ ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมที่ต้องใช้ที่ดินเป็นปัจจยหลักการเพ่ิมขึ้นของประชากร ประกอบดับความต้องการใช้ที่ดิน เพื่อใช้ในกิจกรรมทางเศราฐกิจสาขาอื ่นก็มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น เช่น การพัฒนาเมือง เขตอุตสาหกรรม เป้นต้น ดังนั้น ปัญหาที่เกิดขึ้นในการใช้ประโยชน์ที่ดิน คือ การนำพื้นที่เหมาะสมทางการเกษตรมาใช้ในการขยายเมือง การนำพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมต่อการเกษตรมาใช้ในการเกษตร การใช้ประดชน์จากดินที่ไม่ถุกต้องตามหลักวิชาการ ทำให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของดิน ซึ่งส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อเกษตรกร ชุมชนและประเทศชาติสำหรับปัญหาทรัพยากรดินของประเทศไทยคือ การพังทลายของดิน, การเสื่อมโทรมของดิน, การขาดความอุดมสมบูรณ์ของดินเนื่องจากการปลูกพืชไม่ถูกวิธี, ดินเป็นพิษจากสารเคมีปราบศัตรูพืชและปุ๋ยเคมี,
- สถานการของทรัพยากรน้ำ น้ำเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญอย่งยิ่ง สิ่งมีชีวิตทุกชนิดสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ต้องอาศัยน้ำ นอกจากนี้ น้ำยังเป้นปัจจัยการผลิตที่สำคัญไม่วาจะเป้นการผลิตตในภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม หรือภาคบริการ โดยเฉพาะการผลิตในภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรมเกษตร ซึงเป็นภาคการผลิตที่ต้องใช้น้ำเป็น ปริมาณมาก แต่ทรัพยากรน้ำเป้นทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด ในโลกมีน้ำอยุ่ประมาณ 1,234 ล้านลูกบาศก์กิโลเมตร เป็นน้ำจืดเพียงร้อยละ 5 และประมาณ 4 ใน 5 ของน้ำจืดที่มีอยู่ เป็นน้ำแข็งในเขตขั่วโลก นอกจากนี้ยังเป้นน้ำใต้ดินถึงร้อยละ 99 ของน้ำจือดที่เป็นของเหลว สถานการ์ของทรัพยการน้ำในปัจจุบัน สรุปดังนี้ การขาดแคลนน้ำ, น้ำสเียและสารพิษในน้ำ, น้ำท่วม, น้ำทะลหนุน, นำ้บาดาลลดระดับ, แหล่วน้ำตื้นเขิ, สถานกาณณืคุณภาพอากาศ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อปัญหาคุณภาพอากาศภายในอาคารสำนักงาน อาคาราชการทั่วไป พบว่มักได้รับการออกแบบเป้นแบบปิดทึบจัดมีระบบปรับอากาศ และโดยส่วนใหยพบว่มีการนำอากาศจากด้านนอกเข้ามาในอาคารเล็กน้อยเพื่อลดค่าใช้จ่ายเรืองระบบปรับอากาศ ทำให้อากาศที่หมุนเวียนอยู่ในอาคารเป้นอากาศเดิม จะทำให้สถานที่ทำงานกลายเป้นแหล่งสะสมของสารเคมี ฝุ่นกลิ่นเชื้อโรคทำให้รู้สึกไม่สบาย และเป้ฯสาเหตุของโรคติดต่อซึ่งเป็ถัยเงียบยั่นทอนประสิทธิภาถการทำงาน และสุขภาพอนามัยของคนทำงานได้
- สถานการของทรัพยากรป่าไม้ การใช้ประโยชน์จากพื้นที่ป่าอย่างต่อเนื่องในช่วงสีทศวรรษที่ผ่านมทำให้ประเทศไทยสูญเสียพื้นที่ป่าไปแล้วประมาณ 67 ล้านไร่ หรือเฉลี่ยประมาณ 1.6 ล้านไร่ต่อปี รัฐบาลในอดีตได้พยายามจะรักษาพื้นที่ป่าโดยประกาศยกเลิกสัมปทานการทำไม้ในป่าบกทั้งหมด ในปี พ.ศ. 2532 แต่หลังจากยกลิกสัมปทานป่าไม้ สถานการณ์ดีขึ้นในระยะแรดเท่านั้น ต่อมาการทำลายก็ยังควเกิดขึ้นไม่แตกต่างจากสถานการ์ก่อนยกเลิกสัมปทานป่าไม้เท่าใดนัก โดยพื้นที่ป่าที่ถุกบุกรุกก่อนการยกเลิกสัมปทาน เฉลี่ยต่อปี เท่ากับ 1.2 ล้านไร่ และพื้นที่ป่าที่ถุกบุกรุกหลังการยกเลิกสัมปรทาน เฉลี่ย 1.1 ล้านไร่ต่อปี สรุปสถานการณ์ในปัจจุบันดังนี้ การสูญเสียพื้นที่ป่า, การอนุรักษ์พื้อนที่ป่าไม้เป็นไปตามเป้าหมาย, ปริมาณการปลูกป่า,
- สถานการณ์ของทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงาน, แร่ธาตุแลพลังงานเป็ทรัพยากรที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษบกิจของประเทศสถานการณ์แร่ธาตุและพฃลีังงานในปัจจุบัน สรุปดังนี้ ปัญหาความขาดแคลน, ปัญหาทางเศรษฐกิจ, ปัญหาต่อสุขภาพอนามัย, ปัญหาสิ่งแวดล้อม, ปัญหาต่อสังคม,
- สถานการขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอยเป็นเหตุสำคัญประการหนึ่งที่ก่อให้เกิปัญหาสิ่งแวดล้อม และมีผลต่อสขภาพอนามัย มูลฝอยหรือของเสียกำลังมีปริมาณเพ่ิมมากขึ้นทุกปี เพราะสาเหตุจากการเพ่ิมของประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจและทางอุตสาหกรรม นับเป็นปัญหาที่สำคัญของชุมชนซึ่งต้องจัดการและแก้ไย ปริมาณกากของเสียและสารอันตราย ได้แก่ ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และสารพิษที่ปนเปื้อนอยุ่ในแหล่งน้ำ ดิน และอากาศ ตลอดจนบางส่วนตกค้าอยุ่ในอาหารทำให้ประชาชนทั่วไปเสี่ยงต่ออันตรายจากการเป็นโรคต่างๆ เช่น มะเร็ง และโรคผิดปกติทางพันธุกรรม เป็นต้น...wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_lifeenvironmentandtechnology/wiki/8191c/_7_.html
วันพุธที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2560
Narcotic suppression
นโยบายการปราบปรามยาเสพติดในอาเซียน
ปัญหารยาเสพติดเป็นปัญหาวึ่งอาเว๊ยนได้ให้ความสำคัญอย่างยิ่งในการทำหใ้หมดไปจากภูมิภาคความพยายามของอาเซียนแสดงให้เห้ได้จากผุนำอาเซียนได้ลงนามในแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยการทำหใ้อาเวียนเป้ฯภูมิภาคที่ปลอดจากยาเสพติด ในแถลงการณ์ร่วมได้ระบุว่าภูมิภาคอาเซียนจะปลอดจากยาเสพติดภาในปี พ.ศ. 2563 ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ดำเนินนโยบายที่แข็งกร้าวเช่น ลงฌทษอย่างรุนแรง่อผุ้ขาย ปราบปรามเส้นทางขนยาสเพติด แต่หลังจากดำเนินนโยบายที่แข้งกร้าวเป็นเวลานานปัญหายาเสพติดก็มิได้หมดไปแต่อย่างใดทำให้ประเทศทยเริ่มทีจะหานธยบายทางเลือก เช่น การเปิดให้รัฐสามารถเป็นผุ้ขายยาเสพติดได้ หรือการใช้ยาเสพติดรักษาผู้ป่าย ในขณะที่เดียวกันประเทศสมาชิก
อาเซียนอย่างประเทศฟิลิปปินส์กลับใช้มาตรการที่แข็งกร้าวมากขึ้ตตอยาเสพติด ทิศทางดังกล่วแสดงให้เห็นถึงประวัติศาสตร์ควาเป้ฯมาและทิศทางต่อไปของอาเว๊ยนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
สงครามยาเสพติด ปัญหายาเสพิตดเป็นปัญหาที่พบได้ทุกประเทศซึ่งแต่ละประเทศมีแนวทางที่แตกต่างกันออกไปในการรับมือกับปัฐหา แต่การใช้นโยบายที่แข็งกร้าวต่อยาเสพติดในยุคสมัยใหม่เกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกาในสมัย ประธานาธิบดี ริชาร์ด นิกสัน สหรั,อเมิการประสบกับปัญหาบาเสพติดอย่งมากมีการใช้ยาเสพติดกันอย่างแพร่หลายในหมู่วัยรุน รัฐสภาผ่านกฎหมายแยกประเภทยาเสพติดและกำหนดโทษ
ปัญหายาเสพติดในอาเซียนมีคามแตกต่างจากในสหรัฐอเมริการโดยที่ภุมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้เป็นแหล่งผลิตยาเสพติดสำคัญ เช่น ภาคเหนือของปประเทศไทยปลูกฝิ่น และบริเวณสามเหลี่ยมทงคำก็เป็นแหล่งส่งออกเฮโรอีนไปทั่วโลก
ประเทศไทยเคยประกาศสงครามกับบยาเสพติดในช่วงปี 2544 ซึ่งสงครามดังกล่วใช้การปราบ
ปรามอย่างรุนแรงเช่นการวิสามัญทีันที่ในที่เกิดเหตุ สงผลให้มีผุ้เสียชีวิตในหลักพันคน นอกจากผูถูกกล่าวรุแรงถึงขั้นที่องค์กรระหว่างประเศต้องออกแถลงการณ์ให้ประเทศหยุดการใช้มาติการดังกล่าว
ฟิลิปปินส์ตามรอยประเทศไทย จากการเข้ารับตำแหน่งของประธานาธิบดี โรดิโอ ดูเตเต้ เมื่อปี 2559 ฟิลิปปินส์ได้ประกาศสงครามกับบาเสพติดทั่วประเทศมาตรการ ที่นำมาใช้คล้ายกับประเทศไทยเช่นการวิสามัญผุ้ค้ายาในที่เกิดเหตุโดยมไ่มีการสอบสวน ซึ่งการใช้มาตรการดังกล่าวทำให้มีประชาชนถุกวิสามัญแล้วกว่า 3 พันคน จะเห้นได้ว่าความรุนแรงดัลกว่วเทียบได้กับสมัยที่ประเทศไทยดำเนินมาตรการปราบปรามยาเสพติด
อาเซียนยังคงใช้วิธีปราบปรามกับปัญหาเสพติด ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศดำเนินนโยบายทางยาเสพติดคล้ายกันคือบังคับใช้โทษประหารชีวิต ยาเสพติดถูกห้ามใช้เป้นยานักาาทางการแพทย์ ซึ่งนโยบายดังกลาวเป็นนโยบายที่แตกต่างอย่างสิ้เชิงกับประเทในยุโรปที่ใช้แนวทางการป้องกัน ตัวอย่างเช่นประเทศโปรตุเกสในช่วงในอดีตเคยเป็นประเทศที่มีปัญหายาเสพติดอย่างมาก และโปรตุเกสใช้นโยบายปราบปรามอย่างรุนแรงหากพบว่าคตรอบครองยาเสพติดจะถือว่าเป็นผุ้จำหน่ายทันที่ แต่การใช้แนวทางดังกล่าวก็ไม่ได้ทำให้ปัญหารุนแรงน้อยลง โปรตุเกสจึงตัดสินใจที่จะเปิดเสรีให้ประชาชนสามารถครอบครองเพื่อใช้ในการส่วนตัวได้ การเปิดเสรีดังกล่าวเปิดโอกาสให้โปรตุเกสสามารถนำเงนิงบประมาณไปลงทุนในส่วนการบำบัดผุ้ติดยาเสพติดและการตามจับผุ้ผลิตยาเสพติด นอกจากแนวทางในยุโรปแล้วแนวทางในสหรัฐอเมริกาหลายมลรัฐเร่ิมยกเลิกกัญชาเป้นยาสเพติดส่งให้เกิดธุรกิจใหม่ ๆ เช่น การนำกัญชามาใส่กับอาหาร
จะเห็นได้ว่ากระแสของนโยบายยาเสพติดทั่วโลกเร่ิมไปในแนวทางการยกเลิกโทษยาเสพติดและบำบัดผุ้ติดยาไม่มีการใช้มาตรการรุนแรง แต่ประเทศสมาชิกอาเซียนนั้นนอกจากฟิลิปปินส์แล้วอินโดนีเซียเร่ิมมีการพูดถึงการใช้มาตรการรุนแรงในการจัดการกับยาเสพติดเช่นกัน
ประเทศไทยเร่ิมปรับเปลี่ยนแนวทาง ปัจจุบันถึงแม้ว่าประเทศไทยจุยังคงโทษประหารชีวิตสำหรับผุ้ค้ายาเสพติดอต่ในทางข้อเท็จจริงแล้วประเทศไทยไม่มีการประหารชีวิตแล้วนอกจานี้ประเทศไทยมีนโยบายที่จะคัดแยกผุ้เสพออกจากผุ้ขาย การแยกดังกล่าวส่งผปลให้สามารถนำกระบวนการบำบัดผุ้ติดยาเสพติดมาใช้เพื่อแก้ปัญหาได้ เพราะการนำผุ้ติดยาเสพติดเข้าไปอยู่ในเรือนจำแต่ไม่ได้มีการบำบัดก็เสมือนกับการนำปัญหาไปเก็บไว้รอกลับออกสู่สังคม นอกจากแนวทางการปฏิบัติต่อผุ้ติดยาเสพติดแล้วประเทศไทยก็เร่ิมมีการพูดถึงการยกเลิกให้ยาเสพติดบางชนิดสามารถจำหนายเพื่อเป็นยารักษาได้ ดังเช่นที่เกิดขึ้นในหลายประเทศฯในทวีปยุโรป
กล่าวโดยสรุปคือ แนวทางการจัดการปัฐหายาเสพติดของประทศสมาชิกอาเซียนที่ผ่ารมาเน้นการใช้ความรุนแรงให้เกิดความหวาดกลัวแต่ถึงที่สุดแล้วแนวทางดังกล่าวในระยะยาวก็ไม่ได้ทำให้ปัญหาหมดไป จะเห็นได้ว่า ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซียน เลือกแนวทางที่สวนทางกับทั่วดลกแต่ประเทศไทยเลือกที่จะเินทางสายกลางที่ค่อยไปการยกเลิกยาเสพติดเป็นสิ่งผิดกฎหมาย
lawforasean.com/blog/2016/11/ASEAN_Member_counties_drug_policies
... ประกาศสงครามยาเสพติด..สำเร็จหรือล้มเหลว ย้อนกับไปในอดีต ปฏิเสธไม่ได้ว่า "ยาเสพติด" ถูกมองว่าเป็นภัยร้ายหมายเลขหนึ่งของสังคมตั้งแต่ข่าวการจับกุมแก็งค้ายาเสพติดพร้อมของกลางกองมหึมา คนคลุ้มคลั่งใช้มีดจ่อคอตัวประกัน สิบล้อตีนผีฉี่ม่วงคร่าชีวิตผุ้บริสุทธิ์บนท้องถนน ...ทำให้รัฐบาลแต่ละชุดต่างใช้นโยบายต่อสู้ยาเสพติด ภายใต้แนวคิด "ความไม่สามารถอดทนได้ต่อปัญหาญาเสพติด"
และ "ลงโทษอย่างรุนแรง" กระทั่งปี 2546 ถึงจุดพีคสุด เมื่อรัฐบาล ทักษิน ชินวัตร ประกาศครามกับยาเสพติดเป็นครั้งแรก ด้วยมาตรการปราบปรามอันเด็ดขาดรุนแรง ส่งผลทำให้ภายในปีน้นปีเดียวมีผุ้เสียชีวิตถึง 2,873 ราย จำนวนคดีเกี่ยวกับยาพุ่งสูงขึ้นนับแสนคดี ผ่านไป 13 ปี สถานากรณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดยังคงทวีความรุนแรง ปัจจุบันมีผุ้ติดยาเสพติดถึง 2 ล้านคน มีคดีเข้าสุ่กระบวนการชั้นศาลถึง 1.8 แสนคดี มีนักโทษยาเสพติดทั่วประเทศกว่า สามแสนคน รัฐบาลต้องใช้งบประมาณเกี่ยวกับยาเสพติดสูงกว่าหมืนสี่แสนล้านบาท/ปี ทั้งหมดสะท้อนให้เห็นว่า นโยบายปราบปรามอย่างรุนแรงไม่ได้ผล
"ที่ผ่านมามีการสร้างภาพให้ยาเสพติดดูน่ากลัวเกินจริง วาทกรรมที่ว่า "ยาเสพติดเป้นภัยต่อชีวิต เป็นพิษต่อสังคม" ทำให้ใครก็ตามที่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดถูกมองว่าเป้ฯคนเลวชั่วช้า เป็นอาชญากร สมควรต้องใช้กฎหมายรุนแรงลงโทษ ประหารชีวิต ไม่ก็ให้ติดคุกนานๆ ปัญหาคือแทนที่จะเป็นปลาใหญ่อย่างผุ้ผลิตและผู้ค้ารายใหญ่ กว่า 90% กฎหมายถูกบังคัยใช้กับพวกปลาซิวปลาสร้อย เช่น ผุ้เสพธรรมดาๆ คนกลุ่มนี้ควรได้รับการบพบัดรักษามากกว่าส่งเข้าเรือนจำ เจตนารมณืของ พรบ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 มองว่าผุ้เสพยาเสพติดคือผุ้ป่วยไม่ใช้อาชญากร ดังนั้นควรต้องให้การดูแลรักาา แต่ในทางปกิบัตเมือกฎหมายยังเขียนไว้ว่าการเสพยาเสพติดมีความผิดทางอาญา มีโทษจำคุก นั่นก็ไม่ต่างกับต้องจับเขาเข้าคุกก่อนแล้วค่อยส่งตัวไปบำบัด...
วีรพัน งามมี เลขานุการมูลนิธิโอโซนองค์กรที่ทำงานด้านการลดอันตรายาจากการใช้สารเสพติด ูเกาะติดนดยบายปราบปรามยาเสพติดของเมืองไทยมานานนับสิบปี กล่าวต่อไปว่า ขณะนี้กำลังจะมีการจัดทำร่างประมวลอาญา พรบ.ยาเสพติด พ.ศ. 2522 ใหม่ โดยจะมีการจำแนกแยกแยะผู้ที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดออกเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วย 1. กลุ่มผุ้มีบทบาทนำ (ผู้ผลิต ผู้ค้า หรือคนที่ได้ประโยชน์จากธุรกิจยาเสพติด) 2. กลุ่มที่มีบทบาทรอง เช่น ผุ้ขนลำเลียงยาเสพติด 3. กลุ่มที่ได้รับผลกระทบ นั่นคือ ผุ้เสพ ซึ่งเป็นกลุ่มที่ใหย๋ที่สุดในวงจรนี้
"กลุ่มที่ควรให้ความสำคัญที่สุดคือกลุ่มที่ 3 นั้นคือผุ้เสพ ซึ่งมีจำนวนเยอะสุด คนเหล่านี้เปรียบเสมือนผุ้ได้รับผลกระทบ หรือเหยือ เราต้องมองคนกลุ่มนี้ใหม่ ทำยังไงให้เขากลับมาอยู่ข้างเรา อย่าไปมองว่าการเสพยาเป็นอาชญากรรม แต่ถาเสพยาบ้าแล้วไปก่ออาชญากรรมอยา่งอื่น จึงมีความผิดทางกฎหมาย เรื่องใหญ่ที่สำคัญที่สุดคือ การทำความเข้าใจต่อสาธารณะ เปลี่ยนมุมมองต่อผุ้เสพหรือผุ้ที่ได้รับผลกระทบเหล่านี้ เพื่อให้เขามีพื้นที่ยืน และกลับมาใช้ชีวิตปกติคือนสู่สังคม ดดยไม่ต้องรอให้เขาเลิกยา ทุกคนอย่างเห็นเขาปลอดจากยาเสพติดด้วยกันทั้งนั้น แต่มนมีกระบวนการซึ่งต้องใช้ระยะยเวลากว่าจะไปถึงจุดนั้นถ้าในประมวลกฎหมายยังกำหนดให้เขาเป้นอาชญากร มีความผิดทางอาญา ก็จะเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาระบบบำบัดรักษาและฟื้นฟูคนเหล่านี้"
และกล่าวต่อว่า "ณวันนี้ กระแสโลกให้ความสำคัยกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยคำนึงถึงเรื่องความมั่นคงของมนุษย์ คำนึงถึงเรื่องของสุขภาพ คำนึงถึงเรื่องสิทธิมนุษยชน ผมคิดว่าเรื่องใหญ่ที่สุดคือ การปลอล็อคผุ้เสพหรือผุ้ได้รับผลกระทบออกจากคำว่า "อาชญากร" ัฐมีมาตรการอื่นๆ ที่ดีหว่า สร้างสรรค์กว่า และเป็นมิตรก่ามาใช้ควบคุม การปลดล็อคครงนี้จะช่วยสร้างสภพแวดล้อมที่ดีในการทำให้คนเหล่านี้เข้าสู่กระบวนการดูแลบำบัดรักษา และเปิดโอกาสนำมาตการใหม่ๆ ที่มีประสทิภาพนำมาใช้ ซึ่งที่ผ่านมา พอรู้ว่าคนในคตรอบครัวติดยาก็ตื่นตระหนก ทำเหมือนมีอาชญากรอยู่ในบ้าน อาย บอกใครไม่ได้ ชุมชนก็ไม่กล้าพุดว่ามีคนใช้ยา เพราะมัวแต่ห่วเรื่องการเป็นชุมชนสีขาว ทั้งหมดนี้ทำให้เกิดการเขี่ย ผลักไสออกไป การเปลี่ยนทัศนคติของสังคมให้มองผุ้เสพยาเสียใหม๋ มองว่าเขาเป็นเหยือ เป็นผุ้ป่วย เป็นลูกหลานที่เราต้องดูแลรักษา ไม่ใช่มองว่าเขาเป็นคนเลว เป็นอาชญากรน่ารังเกียจ รัฐบาลต้องใช้ข่องทางของรัญ ใช้อำนาจให้เต็มที่ในการทำคามเข้าใจกับสังคม แม้จะเป้นเรืองที่ยาก แต่ไม่ใช่วาจะเป้นไปไม่ได้"....www.posttoday.com/analysis/interview/439755
ปัญหารยาเสพติดเป็นปัญหาวึ่งอาเว๊ยนได้ให้ความสำคัญอย่างยิ่งในการทำหใ้หมดไปจากภูมิภาคความพยายามของอาเซียนแสดงให้เห้ได้จากผุนำอาเซียนได้ลงนามในแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยการทำหใ้อาเวียนเป้ฯภูมิภาคที่ปลอดจากยาเสพติด ในแถลงการณ์ร่วมได้ระบุว่าภูมิภาคอาเซียนจะปลอดจากยาเสพติดภาในปี พ.ศ. 2563 ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ดำเนินนโยบายที่แข็งกร้าวเช่น ลงฌทษอย่างรุนแรง่อผุ้ขาย ปราบปรามเส้นทางขนยาสเพติด แต่หลังจากดำเนินนโยบายที่แข้งกร้าวเป็นเวลานานปัญหายาเสพติดก็มิได้หมดไปแต่อย่างใดทำให้ประเทศทยเริ่มทีจะหานธยบายทางเลือก เช่น การเปิดให้รัฐสามารถเป็นผุ้ขายยาเสพติดได้ หรือการใช้ยาเสพติดรักษาผู้ป่าย ในขณะที่เดียวกันประเทศสมาชิก
อาเซียนอย่างประเทศฟิลิปปินส์กลับใช้มาตรการที่แข็งกร้าวมากขึ้ตตอยาเสพติด ทิศทางดังกล่วแสดงให้เห็นถึงประวัติศาสตร์ควาเป้ฯมาและทิศทางต่อไปของอาเว๊ยนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
สงครามยาเสพติด ปัญหายาเสพิตดเป็นปัญหาที่พบได้ทุกประเทศซึ่งแต่ละประเทศมีแนวทางที่แตกต่างกันออกไปในการรับมือกับปัฐหา แต่การใช้นโยบายที่แข็งกร้าวต่อยาเสพติดในยุคสมัยใหม่เกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกาในสมัย ประธานาธิบดี ริชาร์ด นิกสัน สหรั,อเมิการประสบกับปัญหาบาเสพติดอย่งมากมีการใช้ยาเสพติดกันอย่างแพร่หลายในหมู่วัยรุน รัฐสภาผ่านกฎหมายแยกประเภทยาเสพติดและกำหนดโทษ
ปัญหายาเสพติดในอาเซียนมีคามแตกต่างจากในสหรัฐอเมริการโดยที่ภุมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้เป็นแหล่งผลิตยาเสพติดสำคัญ เช่น ภาคเหนือของปประเทศไทยปลูกฝิ่น และบริเวณสามเหลี่ยมทงคำก็เป็นแหล่งส่งออกเฮโรอีนไปทั่วโลก
ประเทศไทยเคยประกาศสงครามกับบยาเสพติดในช่วงปี 2544 ซึ่งสงครามดังกล่วใช้การปราบ
ปรามอย่างรุนแรงเช่นการวิสามัญทีันที่ในที่เกิดเหตุ สงผลให้มีผุ้เสียชีวิตในหลักพันคน นอกจากผูถูกกล่าวรุแรงถึงขั้นที่องค์กรระหว่างประเศต้องออกแถลงการณ์ให้ประเทศหยุดการใช้มาติการดังกล่าว
ฟิลิปปินส์ตามรอยประเทศไทย จากการเข้ารับตำแหน่งของประธานาธิบดี โรดิโอ ดูเตเต้ เมื่อปี 2559 ฟิลิปปินส์ได้ประกาศสงครามกับบาเสพติดทั่วประเทศมาตรการ ที่นำมาใช้คล้ายกับประเทศไทยเช่นการวิสามัญผุ้ค้ายาในที่เกิดเหตุโดยมไ่มีการสอบสวน ซึ่งการใช้มาตรการดังกล่าวทำให้มีประชาชนถุกวิสามัญแล้วกว่า 3 พันคน จะเห้นได้ว่าความรุนแรงดัลกว่วเทียบได้กับสมัยที่ประเทศไทยดำเนินมาตรการปราบปรามยาเสพติด
อาเซียนยังคงใช้วิธีปราบปรามกับปัญหาเสพติด ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศดำเนินนโยบายทางยาเสพติดคล้ายกันคือบังคับใช้โทษประหารชีวิต ยาเสพติดถูกห้ามใช้เป้นยานักาาทางการแพทย์ ซึ่งนโยบายดังกลาวเป็นนโยบายที่แตกต่างอย่างสิ้เชิงกับประเทในยุโรปที่ใช้แนวทางการป้องกัน ตัวอย่างเช่นประเทศโปรตุเกสในช่วงในอดีตเคยเป็นประเทศที่มีปัญหายาเสพติดอย่างมาก และโปรตุเกสใช้นโยบายปราบปรามอย่างรุนแรงหากพบว่าคตรอบครองยาเสพติดจะถือว่าเป็นผุ้จำหน่ายทันที่ แต่การใช้แนวทางดังกล่าวก็ไม่ได้ทำให้ปัญหารุนแรงน้อยลง โปรตุเกสจึงตัดสินใจที่จะเปิดเสรีให้ประชาชนสามารถครอบครองเพื่อใช้ในการส่วนตัวได้ การเปิดเสรีดังกล่าวเปิดโอกาสให้โปรตุเกสสามารถนำเงนิงบประมาณไปลงทุนในส่วนการบำบัดผุ้ติดยาเสพติดและการตามจับผุ้ผลิตยาเสพติด นอกจากแนวทางในยุโรปแล้วแนวทางในสหรัฐอเมริกาหลายมลรัฐเร่ิมยกเลิกกัญชาเป้นยาสเพติดส่งให้เกิดธุรกิจใหม่ ๆ เช่น การนำกัญชามาใส่กับอาหาร
จะเห็นได้ว่ากระแสของนโยบายยาเสพติดทั่วโลกเร่ิมไปในแนวทางการยกเลิกโทษยาเสพติดและบำบัดผุ้ติดยาไม่มีการใช้มาตรการรุนแรง แต่ประเทศสมาชิกอาเซียนนั้นนอกจากฟิลิปปินส์แล้วอินโดนีเซียเร่ิมมีการพูดถึงการใช้มาตรการรุนแรงในการจัดการกับยาเสพติดเช่นกัน
ประเทศไทยเร่ิมปรับเปลี่ยนแนวทาง ปัจจุบันถึงแม้ว่าประเทศไทยจุยังคงโทษประหารชีวิตสำหรับผุ้ค้ายาเสพติดอต่ในทางข้อเท็จจริงแล้วประเทศไทยไม่มีการประหารชีวิตแล้วนอกจานี้ประเทศไทยมีนโยบายที่จะคัดแยกผุ้เสพออกจากผุ้ขาย การแยกดังกล่าวส่งผปลให้สามารถนำกระบวนการบำบัดผุ้ติดยาเสพติดมาใช้เพื่อแก้ปัญหาได้ เพราะการนำผุ้ติดยาเสพติดเข้าไปอยู่ในเรือนจำแต่ไม่ได้มีการบำบัดก็เสมือนกับการนำปัญหาไปเก็บไว้รอกลับออกสู่สังคม นอกจากแนวทางการปฏิบัติต่อผุ้ติดยาเสพติดแล้วประเทศไทยก็เร่ิมมีการพูดถึงการยกเลิกให้ยาเสพติดบางชนิดสามารถจำหนายเพื่อเป็นยารักษาได้ ดังเช่นที่เกิดขึ้นในหลายประเทศฯในทวีปยุโรป
กล่าวโดยสรุปคือ แนวทางการจัดการปัฐหายาเสพติดของประทศสมาชิกอาเซียนที่ผ่ารมาเน้นการใช้ความรุนแรงให้เกิดความหวาดกลัวแต่ถึงที่สุดแล้วแนวทางดังกล่าวในระยะยาวก็ไม่ได้ทำให้ปัญหาหมดไป จะเห็นได้ว่า ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซียน เลือกแนวทางที่สวนทางกับทั่วดลกแต่ประเทศไทยเลือกที่จะเินทางสายกลางที่ค่อยไปการยกเลิกยาเสพติดเป็นสิ่งผิดกฎหมาย
lawforasean.com/blog/2016/11/ASEAN_Member_counties_drug_policies
... ประกาศสงครามยาเสพติด..สำเร็จหรือล้มเหลว ย้อนกับไปในอดีต ปฏิเสธไม่ได้ว่า "ยาเสพติด" ถูกมองว่าเป็นภัยร้ายหมายเลขหนึ่งของสังคมตั้งแต่ข่าวการจับกุมแก็งค้ายาเสพติดพร้อมของกลางกองมหึมา คนคลุ้มคลั่งใช้มีดจ่อคอตัวประกัน สิบล้อตีนผีฉี่ม่วงคร่าชีวิตผุ้บริสุทธิ์บนท้องถนน ...ทำให้รัฐบาลแต่ละชุดต่างใช้นโยบายต่อสู้ยาเสพติด ภายใต้แนวคิด "ความไม่สามารถอดทนได้ต่อปัญหาญาเสพติด"
และ "ลงโทษอย่างรุนแรง" กระทั่งปี 2546 ถึงจุดพีคสุด เมื่อรัฐบาล ทักษิน ชินวัตร ประกาศครามกับยาเสพติดเป็นครั้งแรก ด้วยมาตรการปราบปรามอันเด็ดขาดรุนแรง ส่งผลทำให้ภายในปีน้นปีเดียวมีผุ้เสียชีวิตถึง 2,873 ราย จำนวนคดีเกี่ยวกับยาพุ่งสูงขึ้นนับแสนคดี ผ่านไป 13 ปี สถานากรณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดยังคงทวีความรุนแรง ปัจจุบันมีผุ้ติดยาเสพติดถึง 2 ล้านคน มีคดีเข้าสุ่กระบวนการชั้นศาลถึง 1.8 แสนคดี มีนักโทษยาเสพติดทั่วประเทศกว่า สามแสนคน รัฐบาลต้องใช้งบประมาณเกี่ยวกับยาเสพติดสูงกว่าหมืนสี่แสนล้านบาท/ปี ทั้งหมดสะท้อนให้เห็นว่า นโยบายปราบปรามอย่างรุนแรงไม่ได้ผล
"ที่ผ่านมามีการสร้างภาพให้ยาเสพติดดูน่ากลัวเกินจริง วาทกรรมที่ว่า "ยาเสพติดเป้นภัยต่อชีวิต เป็นพิษต่อสังคม" ทำให้ใครก็ตามที่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดถูกมองว่าเป้ฯคนเลวชั่วช้า เป็นอาชญากร สมควรต้องใช้กฎหมายรุนแรงลงโทษ ประหารชีวิต ไม่ก็ให้ติดคุกนานๆ ปัญหาคือแทนที่จะเป็นปลาใหญ่อย่างผุ้ผลิตและผู้ค้ารายใหญ่ กว่า 90% กฎหมายถูกบังคัยใช้กับพวกปลาซิวปลาสร้อย เช่น ผุ้เสพธรรมดาๆ คนกลุ่มนี้ควรได้รับการบพบัดรักษามากกว่าส่งเข้าเรือนจำ เจตนารมณืของ พรบ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 มองว่าผุ้เสพยาเสพติดคือผุ้ป่วยไม่ใช้อาชญากร ดังนั้นควรต้องให้การดูแลรักาา แต่ในทางปกิบัตเมือกฎหมายยังเขียนไว้ว่าการเสพยาเสพติดมีความผิดทางอาญา มีโทษจำคุก นั่นก็ไม่ต่างกับต้องจับเขาเข้าคุกก่อนแล้วค่อยส่งตัวไปบำบัด...
วีรพัน งามมี เลขานุการมูลนิธิโอโซนองค์กรที่ทำงานด้านการลดอันตรายาจากการใช้สารเสพติด ูเกาะติดนดยบายปราบปรามยาเสพติดของเมืองไทยมานานนับสิบปี กล่าวต่อไปว่า ขณะนี้กำลังจะมีการจัดทำร่างประมวลอาญา พรบ.ยาเสพติด พ.ศ. 2522 ใหม่ โดยจะมีการจำแนกแยกแยะผู้ที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดออกเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วย 1. กลุ่มผุ้มีบทบาทนำ (ผู้ผลิต ผู้ค้า หรือคนที่ได้ประโยชน์จากธุรกิจยาเสพติด) 2. กลุ่มที่มีบทบาทรอง เช่น ผุ้ขนลำเลียงยาเสพติด 3. กลุ่มที่ได้รับผลกระทบ นั่นคือ ผุ้เสพ ซึ่งเป็นกลุ่มที่ใหย๋ที่สุดในวงจรนี้
"กลุ่มที่ควรให้ความสำคัญที่สุดคือกลุ่มที่ 3 นั้นคือผุ้เสพ ซึ่งมีจำนวนเยอะสุด คนเหล่านี้เปรียบเสมือนผุ้ได้รับผลกระทบ หรือเหยือ เราต้องมองคนกลุ่มนี้ใหม่ ทำยังไงให้เขากลับมาอยู่ข้างเรา อย่าไปมองว่าการเสพยาเป็นอาชญากรรม แต่ถาเสพยาบ้าแล้วไปก่ออาชญากรรมอยา่งอื่น จึงมีความผิดทางกฎหมาย เรื่องใหญ่ที่สำคัญที่สุดคือ การทำความเข้าใจต่อสาธารณะ เปลี่ยนมุมมองต่อผุ้เสพหรือผุ้ที่ได้รับผลกระทบเหล่านี้ เพื่อให้เขามีพื้นที่ยืน และกลับมาใช้ชีวิตปกติคือนสู่สังคม ดดยไม่ต้องรอให้เขาเลิกยา ทุกคนอย่างเห็นเขาปลอดจากยาเสพติดด้วยกันทั้งนั้น แต่มนมีกระบวนการซึ่งต้องใช้ระยะยเวลากว่าจะไปถึงจุดนั้นถ้าในประมวลกฎหมายยังกำหนดให้เขาเป้นอาชญากร มีความผิดทางอาญา ก็จะเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาระบบบำบัดรักษาและฟื้นฟูคนเหล่านี้"
และกล่าวต่อว่า "ณวันนี้ กระแสโลกให้ความสำคัยกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยคำนึงถึงเรื่องความมั่นคงของมนุษย์ คำนึงถึงเรื่องของสุขภาพ คำนึงถึงเรื่องสิทธิมนุษยชน ผมคิดว่าเรื่องใหญ่ที่สุดคือ การปลอล็อคผุ้เสพหรือผุ้ได้รับผลกระทบออกจากคำว่า "อาชญากร" ัฐมีมาตรการอื่นๆ ที่ดีหว่า สร้างสรรค์กว่า และเป็นมิตรก่ามาใช้ควบคุม การปลดล็อคครงนี้จะช่วยสร้างสภพแวดล้อมที่ดีในการทำให้คนเหล่านี้เข้าสู่กระบวนการดูแลบำบัดรักษา และเปิดโอกาสนำมาตการใหม่ๆ ที่มีประสทิภาพนำมาใช้ ซึ่งที่ผ่านมา พอรู้ว่าคนในคตรอบครัวติดยาก็ตื่นตระหนก ทำเหมือนมีอาชญากรอยู่ในบ้าน อาย บอกใครไม่ได้ ชุมชนก็ไม่กล้าพุดว่ามีคนใช้ยา เพราะมัวแต่ห่วเรื่องการเป็นชุมชนสีขาว ทั้งหมดนี้ทำให้เกิดการเขี่ย ผลักไสออกไป การเปลี่ยนทัศนคติของสังคมให้มองผุ้เสพยาเสียใหม๋ มองว่าเขาเป็นเหยือ เป็นผุ้ป่วย เป็นลูกหลานที่เราต้องดูแลรักษา ไม่ใช่มองว่าเขาเป็นคนเลว เป็นอาชญากรน่ารังเกียจ รัฐบาลต้องใช้ข่องทางของรัญ ใช้อำนาจให้เต็มที่ในการทำคามเข้าใจกับสังคม แม้จะเป้นเรืองที่ยาก แต่ไม่ใช่วาจะเป้นไปไม่ได้"....www.posttoday.com/analysis/interview/439755
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...