Environment

          สิ่งแวดล้อม หมายถึง
          - สิ่งแวดล้อม (ชีวฟิสิกส์) ปัจจัยทางฟิสิกส์และชีววิทยา ร่วมกับอันตรกิริยาทางเคมีที่กระทบต่อสิ่งมีชีวิต
          - สิ่งแวดล้อม (ระบบ) สภาพแวดล้อมของระบบเชิงกายภาพที่อาจมีอัตรกิริยากับระบบโดยแลกเปลี่ยนมวล พลังงานหรือคุณสมบัติอย่างอื่น
          นอกจากนี้อาจหมายถึง
          - สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง, สภาพแวดล้อมที่ถุกสร้างขึ้ซึ่งเป็นสถานที่สำหรัีบกิจกรรมของมนุษย์ มีตั้งแต่สภาพแวดล้อมพลเมืองขนาดใหญ่ไปจนถึงสถานที่ส่วนบุคคล
          - สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ, สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตทั้งหมด
          - สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ, สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตทั้งหมด
          - สิ่งแวดล้อมทางสังคม, วัฒนธรรมที่ปัจเจกบุคคลอาศัยอยู่ และบุคคลและสถาบันที่มีอันตรกิริยากับบุคคลนั้น
           - สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ, ในนิเวศวิทยา
           - สิ่งแวดล้อมศึกษา, กระบวนการที่มุ่งสร้างในประชากรโลกมีความสำนึกและห่วงใยในปัญหาส่ิงแวดล้อมth.wikipedia.org/wiki/สิ่งแวดล้อม
           สถานการณ์ ปัญหา สิ่งแวดล้อม ในปัจจุบัน
           ในปัจจุบันสามารถจำแนก ปัญหาสิ่งแวดล้อม ที่สังคมมนุษย์กำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งแบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ปัญหาการลดลงของทรัพยากรธรรมชาติ, ปัญหามลภาวะหรือมลพิษทางสิ่งแวดล้อม, ปัญหาการทำลายระบบนิเวศ
            ปัญหาสิ่งแวดล้อม สามารถเกิดขึ้นทุกพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างิย่งพื้นที่ ที่ประชกรอาศัยอยู่หนาแน่นและในพื้นที่ดังกล่าวปัญหาความเสื่อมโรมของสิ่งแวดล้อมก็จะมากด้วย ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท ความหนาแน่นของประชากรในเขตเมืองจะเป้ฯตัวเร่งทำให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมเร็วและรุนแรงขึ้น ดดยที่คนในเมืองจะมีลักษระของการใช้ทรัพยากรมากกว่าในชนบท อัตราส่วนการใช้ทรัพยากรของคนในเมืองจะสูงกว่าคนชนบทดังนั้น ปัญหาส่ิงแวดล้อม ในเมืองจึงเกิดการใช้ทรัพยากรของบุคคลและการผลิตของเสียจากการใช้ทรัพยากร ส่วนปัญหาสิงแวดล้อม ในเขตชนบท การเพ่ิมความต้องการด้านที่อยุ่อาศัย อาหาร มีผลทำให้มีการบุกรุก ทำลายป่าสงวน เพื่อนำไม้มาสร้างที่อยุ่อาศัย และเพ่อขยายพื้นที่การเพาะปลูก การตัดไม้ทำลายป่าก่อให้เกิดผลเสียตามมามากมาย เช่น ปัญหาฝนแล้ง น้ำท่วม ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ความสูญเสียด้านผลผลิตทางการเกษตร เป้นต้น
           
สถานการณ์และปัญหาสิ่งแวดล้อมโลก ปัจจุบันโลกประกอบไปด้วยประชากรมนุาญืประมาณ 5,926 ล้านคน (พ.ศ.2541) ประเทที่มีขนาดใหญ่และมีจำนวนประชากรมากที่สุดในโลก คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน มนุษย์มีความต้องการปัจจัยพื้นฐานสำหรับการดำรงชีวิต เพ่ิมมากขึ้นเป็นลำดับ ในขณะที่ความต้องการปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตของประชากรเพ่ิมมากขึ้น แต่ทรัพยากรที่สามารถสนองความต้องการของประชากรน้นอยุ่ในสภาพที่คงที่ และหลายอย่างลดลง บางอย่างสูญพันธ์หรือหมดไป และที่ผ่านมามนุษย์พยายามตักตวงการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
           ที่มีอยู่อย่งฟุ่มเฟือย มีการใช้สรเคมีก่อให้เกิดสารพิษตกค้างกลายเป้นปัญหาส่ิงแวดล้อมที่เป้ฯวิกฤตการณ์ เป้นภัยภิบัติรุนแรงต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์เองและต่อสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ของโลก การประชุมสหประชาชาติเมื่อปี พ.ศ. 2515 ว่าด้วยสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ของโลก การประชุมสหประชาชาติที่กรุงสต็อกโฮม ประเทศสวีเดน เมื่อมิถุนายน พ.ศ. 2515 ว่าด้วยส่ิงแวดล้อมมนุษย์ ได้มีการจัดตั้ง โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งประชาชาติหรือเรียกย่อๆ ว่า UNEP ขึ้น และกำหนดให้วันที่ 5 มิถุนายนของทุกปีเป็นวันสิ่งแวดล้อมโลกwastewatertreatments.wordpress.com/2010/10/06/สถานการณ์-ปัญหาสิ่งเเวด/
          อาเซียน อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางระบบนิเวศและมีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ที่สุดแห่งปนึ่งในโลกแต่ก็ต้องเผชิญกัปัญหาด้าน่ิงแวดล้อมด้วยในขณะเดียวกัน เนื่องจากการเพ่ิมขึ้นของประชากรและการพัฒนาเศราฐกิจในช่วงที่ผ่านมา ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติ และระบบนิเวศในหลายพื้นที่เสื่อมโทรมลง ความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมจึงเป้ฯอีกมิติหนึ่งของความร่วมมือในอาเซียน ซึ่งสะท้อนถึงบทบาทที่สร้างสรรค์ของอาเซียนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
          กลไกความร่วมือ อาเซียนตระหนักถึงปัญหาด้านส่ิงแวดล้อมในภูมิภาคเป้นอย่างดี จึงได้เร่งพัฒนาความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่การริเริ่ม "โครงการส่ิงแวดลอ้มอนุภูมิภาคอาเซียนระยะที่ 1 " เมื่อปี 2520 ภายใต้การสนับสนุนจาก "โครงการส่ิงแวดล้อมสหประชาชาติ เพื่อสึกษาถึงมุมมองและช่องว่างของโครงการด้านส่ิงแวดล้อมที่แต่ละประเทศอาเซียนกำลังดำเนินการอยู่ในขณะนั้น
           ในปีถัดมา อาเซียนได้ตั้ง "กลุ่มผุึ้เชียวชาญด้านส่ิงแวดล้อมอาเซียนเพื่อดูแลคามร่วมมือด้านส่ิส่งแวดล้อม ศึกษาปัญหา ตลอดจนให้คำแนะนำต่ออาเซียนในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับส่ิงแวดล้อม ดดยมีการจัดประชุมครั้งแรกขึ้นเมืองเดอืนธันวาคม 2521  ณ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียกลุ่มผู้เชียวชาญดังกล่าว ได้ยกระดับขึ้นเป็น "คณะเจ้าหน้าที่อสุโสด้านสิ่งแวดล้อมอาเซียน" และได้ดำเนินงานต่อเนื่องมาจนึถงปัจจุบัน ถือเป้นกลไกที่มีบทบาทอยางมากในการสึกษาปัญหาสิ่งแวดล้อม การกลั่นกรองพิจารณาคามร่วมมือต่างๆ ตลอดจนการให้คำแนะนำเชิงนโยบายต่อที่ประชุมรัฐมนตรีด้านส่ิงแวดล้อมของอาเซียน
            กลไกความมือระดับสุงสุดในด้านสิ่งแวดล้อมของอาเว๊ยนในปัจจุบันคือ "การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านส่ิงแวดล้อม" ซึ่งจักขึ้นครังแรกเมื่อปี 2524 และมีกำหนดจัดประชุมอย่างเป้ฯทางการอย่างน้อยทุกๆ 3 ปี แต่ด้วยความตระหนักถึงปัญหาส่ิงแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปและทวีความรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงมีการจัดการประชุมอย่างไม่เป็นทางการเมื่อเกือบทุกปี ตั้งปต่ปี 2537 เป็นต้นมา เพ่อร่วมกันกำหนดกรอบและแนทางการจัดการด้านส่ิงแวดล้อมของอาเวียน รวมทีั้งร่วมติดตามความคือบหน้าของกลไกและความร่วมมือด้านส่ิงแวดล้อมของอาเซียนด้วย
         
ยิ่งไปกว่านั้นเมื่อปัญหาส่ิงแวดล้อมที่สำคัญอย่งปัญหามลพิษหมอกควัน ข้ามแอนทวีความรุนแรงขึ้นอย่งมากในช่วงปี 2540-2541 อาเซียนได้จัด "การประชุมรัฐมนตรีว่าด้วยปัญหาหมอกควัน" ในปี 2541 ที่สิงคโปร์ เพื่อหาทางบรรเทาปัญหาดังกล่ว ดดยมีการจัดประชุมมาอย่างต่อเนื่อง และในปี 2545 อาเซียนยังได้บรรลุ "ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควัน" ที่สิงคโปร์ เื่อหาทางบรรเท่าปัญหาดังกล่ว โดยมีการจัดประชุมมาอย่างต่อเนื่อง และในปี 2545 อาเซียนยังได้บรรลุ "ความตกลงอาเวียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน" ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันและลดมลพิษจากหมอกควันข้ามแดนอันเกิดจากไฟป่าเป็นสำคัญ
           ต่อมา อาเวียนเร่ิมบูรณาการให้เกิดความร่วมมือทีเ่ป็นูปธรรมมากขึ้น โดยสร้างความตระหนักรู้ว่าปัญหาว่ิงแวดล้อมไม่ใช่ปัญหาที่รัฐบาลของประเทศต่างๆ มีหน้าที่แก้ไขเท่านััน แต่ต้องอาศัยความร่วมมือจากประชาชนทุกคนเป้นกำลังสำคัญด้วย โดยมีการกำหนดเขตคพื้นที่ป้องกันและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมขึ้นมาอย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของอุทยานแห่งชาติหรืเครือข่ายอนุรักษ์ธรรมชาติ นอกจากนั้นยังมีการวางแผนงานลดมลภาวะในด้านต่างๆ ทั้งมลภาวะ อากาศ น้ำ หรือ ทะเล อย่างครอบคลุมอีกด้วย
          การสร้างความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมของอาเวียนในช่วงต่อมาเน้นการสร้างคยามเข้มแข็งและความเป้นระบบให้กับกลไกต่างๆ มากขึ้น โดยได้มีการวางแผนยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมของอาเว๊ยนนั้น และมีการบูรณาการสถาบันต่างๆ ภายใต้กลไกอาเซียน เืพ่อให้ความร่วมมือด้านส่ิงแวดล้อมประสบความสำเร็จ และยังสามารถนำไปสู่ความร่วมมือด้านอื่นๆ ในภูมิภาคได้ด้วยwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=7237&filename=index_2

           สิ่งแวดล้อมมีความสำคัญต่อชีวิตมุษย์ เพราะสิ่งแวดล้อมเอื้ออำนวยประโยชน์ให้มนุษย์ได้รับบปัจจัยสี่ในการดำรงชีวิต ดังนั้นเมื่อจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้นก็จะส่งผลให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทมและเกิดมลพิษทำใหมนุษย์ในด้านสุขภาพอนามัีย ปัญหาสังคม ปัญหาการขาดแคลนปัจจัยในการดำรงชวติด
            สถานการร์สิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน สิ่งแวดล้อมที่เป้ฯธรรมชาติ ทั้งภายในประเทศและในท้องถ่ินมีแนวโน้ม ถูกทำลายเพ่ิมมากขึ้น ใขณะเดียวกัน สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม (ที่มนุษย์สร้างขึ้น) กลับเพิ่มมาแทนมากขึ้นเป็นลำดับ ทั้งนี้เนื่องจาก ในปัจจุบันจำนวนประชากรมนุษย์เพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการปรดิษญ์และพัฒนาเทคโนโลยี มาใช้อำนวยประโยชน์ต่อมนุษย์ เพ่ิมมากขึ้น ผลจาการทำลายส่ิงแวดล้อม ทงธรรมชาติ ส่งผลกระทบต่อ มนุษย์หลายประการ เช่น ปัญหาการแปรปรวนของภูมิอากาศโลกการร่อยหรอ ของทรัพยากรธรรม ชาติภัยพิบัติมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น มลพิษส่ิงแวดล้อมขยายขอบเขต กว้างขวางมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรง ต่อการดำรงอยู่และการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของมนุษย์ สาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดปัญหาดังกล่าวเกิดจา การเพิ่มขึ้นของประชากร, การขยายตัวทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี, ภัยธรรมชาติ
       
 สภานการณ์ส่ิงแวดล้อมของประเทศไทย
           การเจริญเติบโตทงเศราฐกิจอย่างรวดเ็วในช่วง 3 ทศวรรษที่ผ่านมา ได้ส่งผลเสียต่อสถานกาณ์สิ่งแวดล้ดมของประเทศไทย และก่อให้เกิดปัญหารการใช้ทรัพยากรอย่างไม่ยั่งยืน ได้แก่ ปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรป่าไม้ ที่ดิน น้ำ และทรัพยการชายฝั่ง รวมทั้งปัญหามลพิษที่ทวีความรุนแรงมาขึ้น ทั้งด้านมลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพแก่ประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมือง ทั้งหมดนี้ล้วนแสดงให้เห็นถึงความรุนแรงของปัญหาส่ิงแวดล้อมและผลกระทบที่มีต่อชีวิตความเป้นอยู่ของประชาชน สรุปสถานการณ์สิ่งแวดของประเทศไทยมีดังนี้
           - สถานการณ์ของทรพัยากรดิน เป้นทรัพยากกรธรรมชาติที่สำคัญในการดำรงชีพของมนุษย์ ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมที่ต้องใช้ที่ดินเป็นปัจจยหลักการเพ่ิมขึ้นของประชากร ประกอบดับความต้องการใช้ที่ดิน เพื่อใช้ในกิจกรรมทางเศราฐกิจสาขาอื ่นก็มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น เช่น การพัฒนาเมือง เขตอุตสาหกรรม เป้นต้น ดังนั้น ปัญหาที่เกิดขึ้นในการใช้ประโยชน์ที่ดิน คือ การนำพื้นที่เหมาะสมทางการเกษตรมาใช้ในการขยายเมือง การนำพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมต่อการเกษตรมาใช้ในการเกษตร การใช้ประดชน์จากดินที่ไม่ถุกต้องตามหลักวิชาการ ทำให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของดิน ซึ่งส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อเกษตรกร ชุมชนและประเทศชาติสำหรับปัญหาทรัพยากรดินของประเทศไทยคือ การพังทลายของดิน, การเสื่อมโทรมของดิน, การขาดความอุดมสมบูรณ์ของดินเนื่องจากการปลูกพืชไม่ถูกวิธี, ดินเป็นพิษจากสารเคมีปราบศัตรูพืชและปุ๋ยเคมี,
            - สถานการของทรัพยากรน้ำ น้ำเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญอย่งยิ่ง สิ่งมีชีวิตทุกชนิดสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ต้องอาศัยน้ำ นอกจากนี้ น้ำยังเป้นปัจจัยการผลิตที่สำคัญไม่วาจะเป้นการผลิตตในภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม หรือภาคบริการ โดยเฉพาะการผลิตในภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรมเกษตร  ซึงเป็นภาคการผลิตที่ต้องใช้น้ำเป็น ปริมาณมาก แต่ทรัพยากรน้ำเป้นทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด ในโลกมีน้ำอยุ่ประมาณ 1,234 ล้านลูกบาศก์กิโลเมตร เป็นน้ำจืดเพียงร้อยละ 5 และประมาณ 4 ใน 5 ของน้ำจืดที่มีอยู่ เป็นน้ำแข็งในเขตขั่วโลก นอกจากนี้ยังเป้นน้ำใต้ดินถึงร้อยละ 99 ของน้ำจือดที่เป็นของเหลว สถานการ์ของทรัพยการน้ำในปัจจุบัน สรุปดังนี้  การขาดแคลนน้ำ, น้ำสเียและสารพิษในน้ำ, น้ำท่วม, น้ำทะลหนุน, นำ้บาดาลลดระดับ, แหล่วน้ำตื้นเขิ, สถานกาณณืคุณภาพอากาศ
              ปัจจัยที่ส่งผลต่อปัญหาคุณภาพอากาศภายในอาคารสำนักงาน อาคาราชการทั่วไป พบว่มักได้รับการออกแบบเป้นแบบปิดทึบจัดมีระบบปรับอากาศ และโดยส่วนใหยพบว่มีการนำอากาศจากด้านนอกเข้ามาในอาคารเล็กน้อยเพื่อลดค่าใช้จ่ายเรืองระบบปรับอากาศ ทำให้อากาศที่หมุนเวียนอยู่ในอาคารเป้นอากาศเดิม จะทำให้สถานที่ทำงานกลายเป้นแหล่งสะสมของสารเคมี ฝุ่นกลิ่นเชื้อโรคทำให้รู้สึกไม่สบาย และเป้ฯสาเหตุของโรคติดต่อซึ่งเป็ถัยเงียบยั่นทอนประสิทธิภาถการทำงาน และสุขภาพอนามัยของคนทำงานได้
              - สถานการของทรัพยากรป่าไม้ การใช้ประโยชน์จากพื้นที่ป่าอย่างต่อเนื่องในช่วงสีทศวรรษที่ผ่านมทำให้ประเทศไทยสูญเสียพื้นที่ป่าไปแล้วประมาณ 67 ล้านไร่ หรือเฉลี่ยประมาณ 1.6 ล้านไร่ต่อปี รัฐบาลในอดีตได้พยายามจะรักษาพื้นที่ป่าโดยประกาศยกเลิกสัมปทานการทำไม้ในป่าบกทั้งหมด ในปี พ.ศ. 2532 แต่หลังจากยกลิกสัมปทานป่าไม้ สถานการณ์ดีขึ้นในระยะแรดเท่านั้น ต่อมาการทำลายก็ยังควเกิดขึ้นไม่แตกต่างจากสถานการ์ก่อนยกเลิกสัมปทานป่าไม้เท่าใดนัก โดยพื้นที่ป่าที่ถุกบุกรุกก่อนการยกเลิกสัมปทาน เฉลี่ยต่อปี เท่ากับ 1.2 ล้านไร่ และพื้นที่ป่าที่ถุกบุกรุกหลังการยกเลิกสัมปรทาน เฉลี่ย 1.1 ล้านไร่ต่อปี สรุปสถานการณ์ในปัจจุบันดังนี้  การสูญเสียพื้นที่ป่า, การอนุรักษ์พื้อนที่ป่าไม้เป็นไปตามเป้าหมาย, ปริมาณการปลูกป่า,
         
   - สถานการณ์ของทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงาน, แร่ธาตุแลพลังงานเป็ทรัพยากรที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษบกิจของประเทศสถานการณ์แร่ธาตุและพฃลีังงานในปัจจุบัน สรุปดังนี้ ปัญหาความขาดแคลน, ปัญหาทางเศรษฐกิจ, ปัญหาต่อสุขภาพอนามัย, ปัญหาสิ่งแวดล้อม, ปัญหาต่อสังคม,
             - สถานการขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอยเป็นเหตุสำคัญประการหนึ่งที่ก่อให้เกิปัญหาสิ่งแวดล้อม และมีผลต่อสขภาพอนามัย มูลฝอยหรือของเสียกำลังมีปริมาณเพ่ิมมากขึ้นทุกปี เพราะสาเหตุจากการเพ่ิมของประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจและทางอุตสาหกรรม นับเป็นปัญหาที่สำคัญของชุมชนซึ่งต้องจัดการและแก้ไย ปริมาณกากของเสียและสารอันตราย ได้แก่ ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และสารพิษที่ปนเปื้อนอยุ่ในแหล่งน้ำ ดิน และอากาศ ตลอดจนบางส่วนตกค้าอยุ่ในอาหารทำให้ประชาชนทั่วไปเสี่ยงต่ออันตรายจากการเป็นโรคต่างๆ เช่น มะเร็ง และโรคผิดปกติทางพันธุกรรม เป็นต้น...wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_lifeenvironmentandtechnology/wiki/8191c/_7_.html
           
       

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)