Narcotic suppression

          นโยบายการปราบปรามยาเสพติดในอาเซียน
           ปัญหารยาเสพติดเป็นปัญหาวึ่งอาเว๊ยนได้ให้ความสำคัญอย่างยิ่งในการทำหใ้หมดไปจากภูมิภาคความพยายามของอาเซียนแสดงให้เห้ได้จากผุนำอาเซียนได้ลงนามในแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยการทำหใ้อาเวียนเป้ฯภูมิภาคที่ปลอดจากยาเสพติด ในแถลงการณ์ร่วมได้ระบุว่าภูมิภาคอาเซียนจะปลอดจากยาเสพติดภาในปี พ.ศ. 2563 ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ดำเนินนโยบายที่แข็งกร้าวเช่น ลงฌทษอย่างรุนแรง่อผุ้ขาย ปราบปรามเส้นทางขนยาสเพติด แต่หลังจากดำเนินนโยบายที่แข้งกร้าวเป็นเวลานานปัญหายาเสพติดก็มิได้หมดไปแต่อย่างใดทำให้ประเทศทยเริ่มทีจะหานธยบายทางเลือก เช่น การเปิดให้รัฐสามารถเป็นผุ้ขายยาเสพติดได้ หรือการใช้ยาเสพติดรักษาผู้ป่าย ในขณะที่เดียวกันประเทศสมาชิก
อาเซียนอย่างประเทศฟิลิปปินส์กลับใช้มาตรการที่แข็งกร้าวมากขึ้ตตอยาเสพติด ทิศทางดังกล่วแสดงให้เห็นถึงประวัติศาสตร์ควาเป้ฯมาและทิศทางต่อไปของอาเว๊ยนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
           สงครามยาเสพติด ปัญหายาเสพิตดเป็นปัญหาที่พบได้ทุกประเทศซึ่งแต่ละประเทศมีแนวทางที่แตกต่างกันออกไปในการรับมือกับปัฐหา แต่การใช้นโยบายที่แข็งกร้าวต่อยาเสพติดในยุคสมัยใหม่เกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกาในสมัย ประธานาธิบดี ริชาร์ด นิกสัน สหรั,อเมิการประสบกับปัญหาบาเสพติดอย่งมากมีการใช้ยาเสพติดกันอย่างแพร่หลายในหมู่วัยรุน รัฐสภาผ่านกฎหมายแยกประเภทยาเสพติดและกำหนดโทษ
         ปัญหายาเสพติดในอาเซียนมีคามแตกต่างจากในสหรัฐอเมริการโดยที่ภุมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้เป็นแหล่งผลิตยาเสพติดสำคัญ เช่น ภาคเหนือของปประเทศไทยปลูกฝิ่น และบริเวณสามเหลี่ยมทงคำก็เป็นแหล่งส่งออกเฮโรอีนไปทั่วโลก
         ประเทศไทยเคยประกาศสงครามกับบยาเสพติดในช่วงปี 2544 ซึ่งสงครามดังกล่วใช้การปราบ
ปรามอย่างรุนแรงเช่นการวิสามัญทีันที่ในที่เกิดเหตุ สงผลให้มีผุ้เสียชีวิตในหลักพันคน นอกจากผูถูกกล่าวรุแรงถึงขั้นที่องค์กรระหว่างประเศต้องออกแถลงการณ์ให้ประเทศหยุดการใช้มาติการดังกล่าว
          ฟิลิปปินส์ตามรอยประเทศไทย จากการเข้ารับตำแหน่งของประธานาธิบดี โรดิโอ ดูเตเต้ เมื่อปี 2559 ฟิลิปปินส์ได้ประกาศสงครามกับบาเสพติดทั่วประเทศมาตรการ ที่นำมาใช้คล้ายกับประเทศไทยเช่นการวิสามัญผุ้ค้ายาในที่เกิดเหตุโดยมไ่มีการสอบสวน ซึ่งการใช้มาตรการดังกล่าวทำให้มีประชาชนถุกวิสามัญแล้วกว่า 3 พันคน จะเห้นได้ว่าความรุนแรงดัลกว่วเทียบได้กับสมัยที่ประเทศไทยดำเนินมาตรการปราบปรามยาเสพติด
           อาเซียนยังคงใช้วิธีปราบปรามกับปัญหาเสพติด ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศดำเนินนโยบายทางยาเสพติดคล้ายกันคือบังคับใช้โทษประหารชีวิต ยาเสพติดถูกห้ามใช้เป้นยานักาาทางการแพทย์ ซึ่งนโยบายดังกลาวเป็นนโยบายที่แตกต่างอย่างสิ้เชิงกับประเทในยุโรปที่ใช้แนวทางการป้องกัน ตัวอย่างเช่นประเทศโปรตุเกสในช่วงในอดีตเคยเป็นประเทศที่มีปัญหายาเสพติดอย่างมาก และโปรตุเกสใช้นโยบายปราบปรามอย่างรุนแรงหากพบว่าคตรอบครองยาเสพติดจะถือว่าเป็นผุ้จำหน่ายทันที่ แต่การใช้แนวทางดังกล่าวก็ไม่ได้ทำให้ปัญหารุนแรงน้อยลง โปรตุเกสจึงตัดสินใจที่จะเปิดเสรีให้ประชาชนสามารถครอบครองเพื่อใช้ในการส่วนตัวได้ การเปิดเสรีดังกล่าวเปิดโอกาสให้โปรตุเกสสามารถนำเงนิงบประมาณไปลงทุนในส่วนการบำบัดผุ้ติดยาเสพติดและการตามจับผุ้ผลิตยาเสพติด นอกจากแนวทางในยุโรปแล้วแนวทางในสหรัฐอเมริกาหลายมลรัฐเร่ิมยกเลิกกัญชาเป้นยาสเพติดส่งให้เกิดธุรกิจใหม่ ๆ เช่น การนำกัญชามาใส่กับอาหาร
       
 จะเห็นได้ว่ากระแสของนโยบายยาเสพติดทั่วโลกเร่ิมไปในแนวทางการยกเลิกโทษยาเสพติดและบำบัดผุ้ติดยาไม่มีการใช้มาตรการรุนแรง แต่ประเทศสมาชิกอาเซียนนั้นนอกจากฟิลิปปินส์แล้วอินโดนีเซียเร่ิมมีการพูดถึงการใช้มาตรการรุนแรงในการจัดการกับยาเสพติดเช่นกัน
            ประเทศไทยเร่ิมปรับเปลี่ยนแนวทาง ปัจจุบันถึงแม้ว่าประเทศไทยจุยังคงโทษประหารชีวิตสำหรับผุ้ค้ายาเสพติดอต่ในทางข้อเท็จจริงแล้วประเทศไทยไม่มีการประหารชีวิตแล้วนอกจานี้ประเทศไทยมีนโยบายที่จะคัดแยกผุ้เสพออกจากผุ้ขาย การแยกดังกล่าวส่งผปลให้สามารถนำกระบวนการบำบัดผุ้ติดยาเสพติดมาใช้เพื่อแก้ปัญหาได้ เพราะการนำผุ้ติดยาเสพติดเข้าไปอยู่ในเรือนจำแต่ไม่ได้มีการบำบัดก็เสมือนกับการนำปัญหาไปเก็บไว้รอกลับออกสู่สังคม นอกจากแนวทางการปฏิบัติต่อผุ้ติดยาเสพติดแล้วประเทศไทยก็เร่ิมมีการพูดถึงการยกเลิกให้ยาเสพติดบางชนิดสามารถจำหนายเพื่อเป็นยารักษาได้ ดังเช่นที่เกิดขึ้นในหลายประเทศฯในทวีปยุโรป
           กล่าวโดยสรุปคือ แนวทางการจัดการปัฐหายาเสพติดของประทศสมาชิกอาเซียนที่ผ่ารมาเน้นการใช้ความรุนแรงให้เกิดความหวาดกลัวแต่ถึงที่สุดแล้วแนวทางดังกล่าวในระยะยาวก็ไม่ได้ทำให้ปัญหาหมดไป จะเห็นได้ว่า ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซียน เลือกแนวทางที่สวนทางกับทั่วดลกแต่ประเทศไทยเลือกที่จะเินทางสายกลางที่ค่อยไปการยกเลิกยาเสพติดเป็นสิ่งผิดกฎหมาย
            lawforasean.com/blog/2016/11/ASEAN_Member_counties_drug_policies
           ... ประกาศสงครามยาเสพติด..สำเร็จหรือล้มเหลว ย้อนกับไปในอดีต ปฏิเสธไม่ได้ว่า "ยาเสพติด" ถูกมองว่าเป็นภัยร้ายหมายเลขหนึ่งของสังคมตั้งแต่ข่าวการจับกุมแก็งค้ายาเสพติดพร้อมของกลางกองมหึมา คนคลุ้มคลั่งใช้มีดจ่อคอตัวประกัน สิบล้อตีนผีฉี่ม่วงคร่าชีวิตผุ้บริสุทธิ์บนท้องถนน ...ทำให้รัฐบาลแต่ละชุดต่างใช้นโยบายต่อสู้ยาเสพติด ภายใต้แนวคิด "ความไม่สามารถอดทนได้ต่อปัญหาญาเสพติด"
และ "ลงโทษอย่างรุนแรง" กระทั่งปี 2546 ถึงจุดพีคสุด เมื่อรัฐบาล ทักษิน ชินวัตร ประกาศครามกับยาเสพติดเป็นครั้งแรก ด้วยมาตรการปราบปรามอันเด็ดขาดรุนแรง ส่งผลทำให้ภายในปีน้นปีเดียวมีผุ้เสียชีวิตถึง 2,873 ราย จำนวนคดีเกี่ยวกับยาพุ่งสูงขึ้นนับแสนคดี ผ่านไป 13 ปี สถานากรณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดยังคงทวีความรุนแรง ปัจจุบันมีผุ้ติดยาเสพติดถึง 2 ล้านคน มีคดีเข้าสุ่กระบวนการชั้นศาลถึง 1.8 แสนคดี มีนักโทษยาเสพติดทั่วประเทศกว่า สามแสนคน รัฐบาลต้องใช้งบประมาณเกี่ยวกับยาเสพติดสูงกว่าหมืนสี่แสนล้านบาท/ปี ทั้งหมดสะท้อนให้เห็นว่า นโยบายปราบปรามอย่างรุนแรงไม่ได้ผล
         "ที่ผ่านมามีการสร้างภาพให้ยาเสพติดดูน่ากลัวเกินจริง วาทกรรมที่ว่า "ยาเสพติดเป้นภัยต่อชีวิต เป็นพิษต่อสังคม" ทำให้ใครก็ตามที่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดถูกมองว่าเป้ฯคนเลวชั่วช้า เป็นอาชญากร  สมควรต้องใช้กฎหมายรุนแรงลงโทษ ประหารชีวิต ไม่ก็ให้ติดคุกนานๆ ปัญหาคือแทนที่จะเป็นปลาใหญ่อย่างผุ้ผลิตและผู้ค้ารายใหญ่ กว่า 90% กฎหมายถูกบังคัยใช้กับพวกปลาซิวปลาสร้อย เช่น ผุ้เสพธรรมดาๆ คนกลุ่มนี้ควรได้รับการบพบัดรักษามากกว่าส่งเข้าเรือนจำ เจตนารมณืของ พรบ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 มองว่าผุ้เสพยาเสพติดคือผุ้ป่วยไม่ใช้อาชญากร ดังนั้นควรต้องให้การดูแลรักาา แต่ในทางปกิบัตเมือกฎหมายยังเขียนไว้ว่าการเสพยาเสพติดมีความผิดทางอาญา มีโทษจำคุก นั่นก็ไม่ต่างกับต้องจับเขาเข้าคุกก่อนแล้วค่อยส่งตัวไปบำบัด...
          วีรพัน งามมี เลขานุการมูลนิธิโอโซนองค์กรที่ทำงานด้านการลดอันตรายาจากการใช้สารเสพติด ูเกาะติดนดยบายปราบปรามยาเสพติดของเมืองไทยมานานนับสิบปี กล่าวต่อไปว่า ขณะนี้กำลังจะมีการจัดทำร่างประมวลอาญา พรบ.ยาเสพติด พ.ศ. 2522 ใหม่ โดยจะมีการจำแนกแยกแยะผู้ที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดออกเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วย 1. กลุ่มผุ้มีบทบาทนำ (ผู้ผลิต ผู้ค้า หรือคนที่ได้ประโยชน์จากธุรกิจยาเสพติด) 2. กลุ่มที่มีบทบาทรอง เช่น ผุ้ขนลำเลียงยาเสพติด 3. กลุ่มที่ได้รับผลกระทบ นั่นคือ ผุ้เสพ ซึ่งเป็นกลุ่มที่ใหย๋ที่สุดในวงจรนี้
     
"กลุ่มที่ควรให้ความสำคัญที่สุดคือกลุ่มที่ 3 นั้นคือผุ้เสพ ซึ่งมีจำนวนเยอะสุด คนเหล่านี้เปรียบเสมือนผุ้ได้รับผลกระทบ หรือเหยือ เราต้องมองคนกลุ่มนี้ใหม่ ทำยังไงให้เขากลับมาอยู่ข้างเรา อย่าไปมองว่าการเสพยาเป็นอาชญากรรม แต่ถาเสพยาบ้าแล้วไปก่ออาชญากรรมอยา่งอื่น จึงมีความผิดทางกฎหมาย เรื่องใหญ่ที่สำคัญที่สุดคือ การทำความเข้าใจต่อสาธารณะ เปลี่ยนมุมมองต่อผุ้เสพหรือผุ้ที่ได้รับผลกระทบเหล่านี้ เพื่อให้เขามีพื้นที่ยืน และกลับมาใช้ชีวิตปกติคือนสู่สังคม ดดยไม่ต้องรอให้เขาเลิกยา ทุกคนอย่างเห็นเขาปลอดจากยาเสพติดด้วยกันทั้งนั้น แต่มนมีกระบวนการซึ่งต้องใช้ระยะยเวลากว่าจะไปถึงจุดนั้นถ้าในประมวลกฎหมายยังกำหนดให้เขาเป้นอาชญากร มีความผิดทางอาญา ก็จะเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาระบบบำบัดรักษาและฟื้นฟูคนเหล่านี้"
        และกล่าวต่อว่า "ณวันนี้ กระแสโลกให้ความสำคัยกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยคำนึงถึงเรื่องความมั่นคงของมนุษย์ คำนึงถึงเรื่องของสุขภาพ คำนึงถึงเรื่องสิทธิมนุษยชน ผมคิดว่าเรื่องใหญ่ที่สุดคือ การปลอล็อคผุ้เสพหรือผุ้ได้รับผลกระทบออกจากคำว่า "อาชญากร" ัฐมีมาตรการอื่นๆ ที่ดีหว่า สร้างสรรค์กว่า และเป็นมิตรก่ามาใช้ควบคุม การปลดล็อคครงนี้จะช่วยสร้างสภพแวดล้อมที่ดีในการทำให้คนเหล่านี้เข้าสู่กระบวนการดูแลบำบัดรักษา และเปิดโอกาสนำมาตการใหม่ๆ ที่มีประสทิภาพนำมาใช้ ซึ่งที่ผ่านมา พอรู้ว่าคนในคตรอบครัวติดยาก็ตื่นตระหนก ทำเหมือนมีอาชญากรอยู่ในบ้าน อาย บอกใครไม่ได้ ชุมชนก็ไม่กล้าพุดว่ามีคนใช้ยา เพราะมัวแต่ห่วเรื่องการเป็นชุมชนสีขาว ทั้งหมดนี้ทำให้เกิดการเขี่ย ผลักไสออกไป การเปลี่ยนทัศนคติของสังคมให้มองผุ้เสพยาเสียใหม๋ มองว่าเขาเป็นเหยือ เป็นผุ้ป่วย เป็นลูกหลานที่เราต้องดูแลรักษา ไม่ใช่มองว่าเขาเป็นคนเลว เป็นอาชญากรน่ารังเกียจ รัฐบาลต้องใช้ข่องทางของรัญ ใช้อำนาจให้เต็มที่ในการทำคามเข้าใจกับสังคม แม้จะเป้นเรืองที่ยาก แต่ไม่ใช่วาจะเป้นไปไม่ได้"....www.posttoday.com/analysis/interview/439755

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)