โครงการติดตามประเมินผล การดำเนินงานตามแผนการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2558 (ระยะสิ้นสุดแผน)
จากการรวบรวมข้อมูลจากรายงานประจำปีการดำเนินงานตาม ASCC Blueprint ในระดับประเทศข้อมูลจากการประชุมระดับความคิดเห็นกลุ่มย่อยกับหน่วยงานที่ไ้รับมอบหมายให้ดำเะนินการตาม ASCC Blueprint ข้อมูลจากการทำแบบสำรวจความคิดเห็น และข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิและผุ้เชียวชาญในสาขาทุกสาขาที่เกี่ยวข้องกับ ASCC สามารถสรุปผลดำเนินการตามแผนงานการจัดตั้งปะชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พ.ศ.2552-2558 ของประเทศไทย ระยะสิ้นสุดแผนได้ดังนี้
สรุปผลการดำเนินการตาม ASCC ฺBlueprite 2009-2015 ของประเทศไทย
ภาพรวมผลการอำเนินการตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พงศ. 2552-2558 ของประเทศไทย ระยะสิ้นสุดแผน พบว่า จำนวนทั้งหมด 339 มาตรการ มีจำนวน 262 มาตรการ หรือร้อยละ 77 ที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จตามเป้าหมายที่กำหนดและได้เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินการอย่างถาวรของหน่วยงานต่างๆ ต่อไป และมีจำนวน 33 มาตรการหรือร้อยละ 10 กำลังอยู่ในระหว่างการดำเนินการและอีกจำนวน 44 มาตรการหรือร้อยละ 13 อยู่ระหว่างการพิจารณาหรือไม่มีข้อมูลในการประเมิน หรือเป็นมาตรการที่ต้องมีการปฏิบัติในระดับนานาชาติ
หมวด A การพัฒนามนุษย์ 61 มาตรการ ดำเนินงานข้ามหน่วยงาน 1 มาตรการ เสร็จสมบูรณ์/เสร็สมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 55 มาตรการ(90%) อยู่ระหว่างการดำเนินงาน 6 มาตรการ (10%)
หมวด B การคุ้มครองสวัสดิการสังคม จำนวน 94 มาตการ ตำเนินการข้ามหน่วยงาน 13 มาตรการ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 79 มาตรการ (84%) อยู่ในระหว่างการดำเนินการ 7 มาตรการ (7%) อยู่ระหว่างการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล แบ่งเป็นระดับภูมิภาค 3 มาตรการ ระหว่างการพิจารณา 1 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 4 มาตรการ (รวมเป็น 9%)
หมวด C ความยุติธรรมและสิทธิ 28 มาตรการ ดำเนินงานข้ามหน่วยงาน 7 มาตรการ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนือง 27 มาตรการ (96%) อยุ่ระหว่างดำเนินการ 1 มาตรการ (4%)
หมวด D ส่งเสริมความยั่งยือนด้านสิ่งแวดล้อม 98 มาตรการ ดำเนินงานข้ามหน่วยงาน 9 มาตรการ สถานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป้นกระบสนการต่อเนื่อง 57 มาตรการ (58%) อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน 16 มาตรการ (16%) อยู่ระหว่างการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล แบ่งออกเป็น ระดับภูมิภาค 2 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 2 มาตรการ ระหว่างการพิจารณา 2 มาตการ (26%)
หมวด E การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน 50 มาตรการ ดำเนินการข้ามหน่วยงาน 3 มาตรการ สถานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 40 มาตรการ (80%) อยู่ระหว่างพิจารณา/ไม่มีข้อมูล ระดับภูมิภาค 3 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 3 มาตรการ ระหว่างการพิจารณา 1 มาตรการ (14%)
หมวด F กาลดช่องว่างทางการพัฒนา 8 มาตรการ ไม่มีการดำเนินงานข้ามหน่วยงาน สถานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 4 มาตรการ (50%) อยู่ระหว่างการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล แบ่งออกเป็นระดับภูมิภาค 3 มาตรการ ไม่มีข้อมูล 1 มาตรการ (50%)
รวม มาตรการทั้งสิ้น 339 มาตรการ เป็นมาตรการที่ดำเนินการข้ามหน่วยงาน 33 มาตรการ สภานะ เสร็จสมบูรณ์/เสร็จสมบูรณ์และเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 262 มาตรการ คิดเป็น 77 % อยุ่ในระหว่างดำเนินการ 33 มาตรการ คิดเป็น 10% รอการพิจารณา/ไม่มีข้อมูล 44 มาตรการ คิดเป็น 13%
และเมื่อเปรียบเทียบกับการประเมินผลในระยะครึ่งแผน พบว่า ในรอบการประเมินผลครึ่งแผนมีจำนวนมาตรการที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามเป้าหมาย 218 มาตรการหรือร้อยละ 64 จากจำนวนมาตรการทั้งหมด 339 มาตการ และอีก 54 มาตรการหรือร้อยละ 16 กำลังอยุ่ในระหว่างการดำเนินการ และอีก 67 มาตรการหรือร้อยละ 20 ที่อยุ่ระหว่างการพิจารณาหรือไม่มีข้อมูลในการประเมิน หรือ เป็นมาตรการที่ต้องมีการปฏิบัติในระดับนานาชาติ และจากทั้งหมด 6 เป้าหมาย เป้าหมาย C ความยุติธรรมและสิทธิ ยังคงมีสัดส่วนในการดำเนินแล้วเสร็จสูงสุดทั้งในระดับการประเมินผลในระยะครึ่งแผนและสิ้นสุดแผน
การประเมินระบบ กลไก และทรัพยากรในการดำนินการตาม ASCC BLUEPRINT ของประเทศไทย
ภาพรวมการประเมิน
- ความเชื่อมโยง พบว่า เป้าหมายและมาตรการตาม ASCC Blueprint มีความเชื่อมโยงกับแนวนโยบาย ภารกิจ และแนวการดำเนินการของหน่วยงาานีี่เกี่ยว้องอยุ่ในระดับสุง
- ประสิทธิผล พบว่า การดำเนินงานของหน่วยงานที่เกียว้องนับว่ามีประสิทธิผลอยู่ในระดับปานกลางดดยมีประเด็นร่วมที่สำคัญได้แก่ การจัดสรรวลบประมาณ และกระบวนการติดตามประเมินผลที่ยังขาดความชัดเจน
- ประสิทธิภาพ พบว่า การดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องม่ประสทิะภาพอยุ่นระดับปานกลาง โดยมีประเด็นร่วมที่สำคัญได้แก่ ข้อจำกัดของบุคลากรทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ ทั้งนี เมื่อขอบเขตงานมากขึ้น แต่จำนวนบุคลากรยังคงเดิมจึงก่อให้เกิดปัญหางานล้มมือ และที่สำคัญข้องจำกัดด้านขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งขีดความสามารถในสื่อสารภาษาต่างประเทศ
- ความยั่งยืน พบว่า แนวการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความยั่งยืนอยู่ในระดับปานนกลางโดยทั่วไปพบข้อจำกัดด้านการประสานงานข้ามหน่วยงาน
- ผลกระทบ พบว่า การดำเนินการตาม ASCC Blueprint ก่อให้เกิดผลกระทบเชิงบวกในวงกว้งอยุ่ในระดับกลาง ทั้งในระดับประเทศ ระดับชุมชน และระดับบุคคล
- โครงการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2558 (ระยะสิ้นสุดแผน)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น