Wildfire

            ASCC : D2 การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้อมแดน
            เป้าหมายเชิงกลยุทธศาสตร์ ดำเนินมาตการและส่งเสริมความร่วมมือระดับภุมิภาคและรกว่างประเทศเพื่อต่อต้านปัญหามลพิษจากสิ่งแวดล้อม ซึ่งรวมถึงปัญหามลพิษหมอกควันข้ามแดน การเคลื่อนย้ายปฏิกูลอันตรายข้ามแดน โดยการเสริมสร้างขีดความสามารถ ส่งเสริมการตระหนักรับรู้ต่อสาธณชน เพ่ิมอำนาจการบังคับใช้กฎหมาย และสนับสนุนปฏิบติการด้านสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน และำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษหมอกควันข้ามแดน
           มลพิษหมอกควันข้ามแดน มาตรการ
           - ดำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษหมอกควันข้ามแดน โดยดำเนินกมาตรการป้องกันให้เป็ฯรูปธรรในการติดตามและลดผลกระทบ และริเริ่มกระบวนการจัดทำพิธีสารสำหรับการดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามความตกลง
          - จัดทำความร่วมมือที่อำนวยประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนที่ยอมรับกฎหมาย กฎ ระเบียบ และนโยบาย ระับชาติของกันและกัน ไม่ว่าจะเป้นควมร่วมมือระดับพหุภาคีหรือทวิภาคีโดยเน้นกิจกรรมในการป้องกัน
       
- ให้ศูนย์ประสานงานการควบคุมมลพิษจากหมอกควันข้ามพรมแดน โดยการบริจาคอย่างสมัครใจจากประเทศสมาลิกและด้วยความร่วมมือจากประเทศคุ่เจรจาเพื่อให้มีเงินทุนสำรองสำหรับการดำเนินการที่เป็นประสทิะภาพในการปฏิบัตความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควนข้ามพรมแดน
           -ควบคุมและสอดส่องดูแลพื้ที่และากรเกิดไฟป่าในภูมิภาคและส่งเสริมการจัดการอย่างยั่งยือนและการจัดการกับพื้นที่พรุในภูมิภาคอาเซียนเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดไฟป่าและมลพิษจากหมอกควันโดยการดำเนินการข้อริเริ่มในการจัดการพื้นที่พรุในอาเซียน (APMI) ภายในปี 2558
           D 2.2 มลพิษจากของเสียที่มีพิษข้ามแดน มาตรการ
           - ส่งเสริมการประสานงานในระดับภูมิภาคและการแลกเปลี่ยนข้อมูล ประสบการณ์ และความสามารถในการจัดการของเสียอันตราย
           - ใช้ประโยชน์จากศูนย์ภูมิภาคอนุสัญญาบาเซลในการฝึกอบรมและถายทอดเทคโนโลยีในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
           - จัดตั้งกลไกระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพและพ้อมที่จะปฏิบัติการในการจัดการของเสียอันตรายข้ามแดน รวมทั้งการขนย้ายของเสียที่ผิดกฎหมายโดยให้สอดคล้องกับอนุสัญญาบาเซลmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d2/

           ไฟป่าในประเทศอินโดนีเซีย
            ประเทศอินโดนีเซียมีป่าไม้ในแถร้อนชื่นเป็นจำนวนมาก ซึ่งมีลักษณะของป่าไม้นี้จะมีความชื้นสูง อุณหภูมิสูง ปริมาณน้ำฝนมีมาก มีความหนาแน่นและหลากหลายของพันธุ์พืชมาก โดยปกติแล้ว การเกิดไฟป่าในป่าไม้ชนิดนี้ เกิดขึ้นไดค่อนข้างยาก แต่จากลักษณะของป่าไม้เป็นป่าทึบมใบไม้ทับถมกันสูงและหนาแน่น สภาพพื้นดินในส่วนที่เป้นป่ารกน้น ชั้นใต้ติดจะเป็นชันของถ่านหินซึงไฟป่าในปะเทอินโดนีเซียจะเป็นไฟป่าที่เกิดในชั้นใต้ดิน หากเป้ฯไฟใต้ตินสมบูรณืแบบ ซึ่งบยากในการตรวจสอบ บางรั้งไฟใหม้มาเกือบสองปีแล้วกว่าจะตรวจพบจนกระทั่งต้นไม่ที่่ถูกไฟไหม้ใน
ส่วนรากเร่ิมยืนแห้งตายพร้มอกันทั้งป่า และในบางแห่งจะเป็นไฟป่าแบบไฟกึ่งผิดินกึ่งใต้ดิน ว฿่งจะบพมาในเกาะสุมาตรา อีทั้งปรากฎการณ์ เอล นินโย ทำให้ป่าร้อนขชื้นกลายเป็นป่าที่แห้งแล้วประกอบกับพฤติการณ์ทั่วไปของมนุษย์ในการใช้ไฟ ไม่ว่าการต้งถ่ินฐานที่ดำเนินมานับพันๆ ปี และใช้ในการเพาะปลูกเพื่อช่วยในการปรับสภาพพื้นที่ อีกทั้งความหนาแน่นของจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นจึงเป็นที่จะต้องใช้เพนื่อที่ป่าเพื่อการเพาะปลูก
            การเกิดไฟป่าตามที่ศึกษามานั้ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1982 มีการเกิดไฟป่าครั้งใหญ่ถึง 5 ครัง้ง ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ครั้งที่ใหญ่ที่สุดคือในประเทศอินโดนีเซีย ปี ค.ศ. 1997 ที่ทำลายพื้นที่ป่ามากกว่าเก้าล้านเฮกเตอร์ และปัจจัยที่ทำให้เกิดไฟป่าในครั้งนั้น มี 3 อย่าง คือ ความแห้งแล้งของวัสดุที่เป็นเชื้อเพลิง มีไฟเกิดขึ้นไม่ว่าด้วยเหตุใด และปัจจัยสุดท้ายคือลมที่เกิดการเผาไห้ได้อย่างสมบูรณ์ เมื่อเกิดปรากฎการ เอล นินโย ขึ้นจึงส่งผลให้ประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกิดภัยแล้งเป็นบริเาวณกว้างอากาศร้อยอบอ้าวและกินระยะเวลายาวนานประมาณ 2-3 เอืน ก่อให้เกิดเชื้อเพลิงที่ง่ายต่อการติดไฟและมีความรุนแรงกว่าปกติทั่วไปบริเวณที่เกิดไฟป่านั้นเกิดในเกาะสุมาตราและเากกะลิมันตันของประเทศอินโดนีเซีย ที่มีลักษณะเป็นเกาะขนาดใหญ่และยังมีพื้ที่ป่าเป็นบริเวณกว้าง จุดที่เกิดไฟป่ามีจำนวนากกว่า 200-300 จุด
ทำให้ยากต่อการเ้ควบคุมไฟผ่าประกอบดกับการขาดเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการตรวจสสอบและควบคุม ความไม่เพียงพอของจำนวนเจ้าหน้าที่ที่เข้ควบคุมสไฟป่า ความแตกต่า
ของภพภูมิประเทศในพื้นทีแต่ละแห่งในกาเข้าไปด้บไฟ ผลของการเกิดไฟป่าครั้งนั้นก่อใหเิกกลุ่มหมอกควันขนาดใหญ่ โดยกลุ่มควันดังกล่วไใช้เวลาเดินทางไปยังน่านฟ้าประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่บรเิวณใกล้เคียงและเริ่มส่งผลกระทบ โดยเฉลี่ยใช้ระยะเวลาประมาณ 24 ชั่วโมง หลังจากเกิดเกตุไฟป่า อย่างใน
ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย ประเทศบรูไน ดารุซาลาม เกาะมินดาเปนาของประเทศฟิลิปปินส์ และหลายจังหวัดภาคใต้ของประเทศไทย คือ จังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดสงขลา จังหวัดสตูล และจังหวัดตรัง การที่ประเทศไทยได้รับผลกระทบนอ้ยกว่าประเทศอื่นๆ เนื่องจากระยะควาห่างไกลจากพื้นที่เกิดเหตุ แต่ก็ส่งผลกระทบต่อ
ภาพรวมของการท่องเทียว เศราฐกิจ สิ่งแวดล้อม โดยหมกควันสีขาวเข้ามาบังทัศนะวิสัยในการมอง เห็นได้ไม่เกิดระยะ 100 เมตร และกลุ่มควันดังกล่าวครอบคลุมพื้นที่าภคใต้ของประเทศไทยเป็นระยะเวลาประมาณ 1 อาทิตย กลุ่มคควันถึงเร่ิมจางหายไป เนื่องจากมีฝนตกลงมาสถาณการณ์ในประเทศไทยจึงจะเข้าสู่ภาวะปกติ..
            ผลกระทบและความเสียหายที่เกิดจากมลพิษของหมอกควันจากไฟป่าข้ามแดน
            เมื่อเกิดไฟป่าและมีกลุ่มหมอกควันเกิดขึ้น ย่อมส่งผลกระทบที่ร้ายแรงในหลายๆ ด้าน ความเสียหายที่เกิดจากลุ่มหมอกควันนั้นไม่อาจคำนวนความเสียหายได้ชัดเจน ไม่ว่าความเสียหายด้านเศรษฐกิ ด้านสิ่งแวดลอ้มไ่ว่าทางอากาศ ดิน น้ำ หรือสัตว์ป่า ด้านสังคม และทั้งเป็นผลที่เกิดโดยตรงหรือโดยอ้อม ขอบเขตของผลกระทบนี้ก็ขึ้นอยู่กับควมถ่และควมรุนแรงของการเกิดไฟป่าและกลุ่มหมอกควัน โดยมีความเสียหารหลายด้าน อาทิ
            - ความเสียหายด้านเศรษกิจ จากกรณีไฟป่าประเทศอินโดนีเซีย พ.ศ. 2540 ประมาณการว่าประเทศอินโดนีเซียได้รับความเสียหายด้านเศราฐกิจถึง 6 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ รวมทั้งมีกาแารประเทิน
ค่าความเสียหายของประเทศต่างๆ ที่กลุ่มหมอกควันได้ครอบคลุมถึง คือ
           ประเทศสิงคโปร์มูลค่าความเสียหายเป็นเงินโดยประมาณ 4 พันล้าเหรียญสหรัฐฯ รวมถึงค่ารักษาพยาบาลและการขนส่งที่เกิดขัดข้อง
       
   ประเทศมาเลเซียก็ได้มีการคาดกาณ์ว่าเกิดความเสียหาย 9.3 พันล้านเหรียญสหรัฐรวมถึงค่ารักษาสุขภาพของประชาชนด้วย
           ประเทศไทย ได้มีการคาดการณ์มูลค่าความเสียหาย 1 พันล้านบาท รวมถึงค่ารักษาสุขภาพของประชาชน
           - ความเสียหายด้านสุขภาพ กลุ่มหมอกควัยขนาดใหญ่หนาทึบและสูงจาพื้นอินประมาณ 100-200 เมตรนั้น พัดพาไปครอบคลุมหลายประเทศส่งผลให้ประชาชน เกิดอันตรยต่อสุขภาพเป็นจำนวน 10 ล้านคน ส่งผลให้เกิดการระคายเคือยต่อระบบทางเดินหายใจและมีออาการแสบตา และผลกรทบต่อสุภาพที่เกิดมากหรือน้อยก็ขึ้นกับขนาออนุภาคของฝุ่นละอองที่สูดมเข้าไป...
            - ความเสียหายด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดกับพืช ก่อให้เกิดการสูญพันธ์ของพืชชนิดที่ไม่ทนไฟ ไฟป่าจะส่งผลต่อระบบนิเวศน์ของป่าไม้ สิ่งแวดล้อมที่อยุรอบตัวเราจะเสื่อลงเกิดการขยายตัวของทุ่งหญ้าเขตร้อน การเสือลงของความหลากหลายสายพันธุ์ในพืชและสัตว์กับป่าไม้ การสูญพันธุ์ของสัตว์ในป่าไ้ การเสียที่อยุ่อาศัยของสัตว์ป่า การสร้างมลพิษในปม่น้ำและปากแม่น้ำ, ดิน ผลกระทบของไฟป่าต่ออินจะมากหรือน้อยขึ้นอยุ่กับความุนแรงของไฟ ความยาวนานของการเกิดไฟและความชื้นของเชื้อเพลิง รวมทั้งความชื้นและชนิดของดินด้วย, น้ำ ผลจากการเกิดไฟป่าทำให้น้ำบ่าหน้าดินเพ่ิมขึ้นประมาณ 3 เท่าการพังทลายของดินเพิ่มขึ้น ธาตุอาหารพืชในดินถูกน้ำฝนชะล้างละลายไปกับน้ำ โดยเฉพาะถ้าเกิดไฟไหม้
อย่างรุนแรงและบ่อยครั้ง แหล่งน้ำตื้นเขิน ผิวน้ำเป็นกรมมากขึ้นและระบบนิเวศน์เปลี่ยนแปลง สัตว์น้ำบางชนิดที่ไม่อาจปรับตัวได้ต้องตายลง, อากาศ เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์เพิ่มขึ้นในบรรยากาศเป็นจำนวนมาก ทั้งนี้ เพราะว่าในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาจนทุกวันนี้วิวัฒนธากรของมนุษย์เจริญขึ้นอยา่งรวดเร็ว ย่ิงป่าไม้ถูกทำลายก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ยิ่งเพ่ิมขึ้นเนื่่องจากใบไม้จะเป็นผุ้ใช้ก๊าซในการปรุงอาหาร และไฟป่าก่อให้เกิดหมอกควันที่ทำให้สภาพอากาศของโลกเปลี่ยนแปลง เมื่อเกิดกลุ่มควันจาก๊าซคารบอนไดออกไซน์ที่มีความเข้มข้นสูงในชั้นบรรยากาศก๊าซสามารถดึงดูดความร้อนจากพื้นผิวโลกเข้าในตัวเอง ส่งผลให้อุณหภูมิในชั้นบรรยากาศของโลกสูงขึ้น, สัตว์ป่า ได้รับผลกระทบอย่างมากและรุนแรง digi.library.tu.ac.th/thesis/la/0813/07CHAPTER_2.pdf

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)