วันเสาร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2560

ASEAN : Airline Bussiness

          อนาคตและความท้าทายของธุรกิจการบินในน่านฟ้าอาเซียน
          ภายใต้การบูรณาการของประชาคมอาเซียน หนึ่งในข้อตกลงที่ร้างความเปลี่ยนแปลง     ทางเศราฐกิจอย่างรวดเร็วให้กับภุมิภาค ก่อนการเกิดขึ้นของประชาคมเศราฐกิจอาเซียน นั้นก็คือ "นโยบายนานฟ้าเสรี" ซึ่งทำหใ้สายการบินต่างๆ ในภูมภาคตื่นตัวกับผลประโยชน์ที่จะได้รับ หากความร่งมมือดังกล่าวทำให้น่านฟ้าที่ถูกแบ่งกั้นด้วยกฎเกณฑ์ตามเขตอธิปไตยของแต่ละประเทสสามารถรวมกันเป็นตลาดการบินร่วมได้จริง
          พัฒนาการที่เด่นชัดที่สุด คือ การขยายตัวเชิงปริมาณและคุณภาพของสายการบินใหม่ๆ ในอาเซียนโดยเฉพาะสายการบินต้นทุนต่ำที่เติบโตอย่างรวดเร็วในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็น สายการบินนกแอร์ของไทย ไทเกอร์ แอร์เวย์ของสิงคโปร์ เซบู แปซิฟิกของฟิลิปปินส์ ไลอ้อนแอร์ของอินโดนีเซียเวียดเจ็ทแอร์ของเวียดนาม ลาวเซ็นทรับแอร์ไลน์ สายการบินที่เอกขชนถือหุ้นทั้งหมดแห่งแรกของลาวรวมไปถึง โกลเด้น เมียนมาร์ แอร์ไลน์ สายการบินต้นทุนตำน้องใหม่ที่เพ่ิงก่อตั้งเมื่อปี 2555
           การเติบโตของสายการบินต้นทุนต่ำ สอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงสำคัญในภูมิภาค ศูนย์การบินนานาชาติ CAPA รายงานว่า ตลาดสายการบินต้นทุนต่ำในอาเซียนเติบโตอย่างก้าวกระโด ครองส่วนแบ่งที่นั่งกว่าร้อยละ 50 ของเที่ยบินทั้งหมดในปีที่ผ่านมา คิดเป็นส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 30 และมี่ผุ้ใช้บริการกว่า 24 ล้านคน
           ปรากฎการณ์นี้สะท้อนการเติบโตของคนกลุ่มหม่ที่ต้องการการเดินทงที่รวดเร็วและมีรายได้เพียงพอจะเข้าถึงบริการขนส่งที่สะดวกสบายมากขึ้น ทั้งยังสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตและชำระค่าบริการร้อยละ 30 และมีผุ้ใช้บิการกว่า 24 ล้านคน
           ปรากฎการณ์นี้สะท้อนการเติบโตของคนกลุ่มใหม่ที่ต้องการการเดินทางที่รวดเร็วและมีรายไ้พียงพอจะเข้ถงบริการขนส่งที่สะดวกสบายมากขึ้น ทั้งยังสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตและชำระค่าบริการผ่านบัตรเครดิตและบัติเดบิต
            ขณะที่ศูนย์วิจัยกสิกรไทยเป็นเผยว่าจำนวนเครื่องบินของสายการบินในอาเวียนเพ่ิมขึ้นร้อยละ 20-30 ขณะที่ จำนวนเที่ยวบินเพ่ิมขึ้นร้อยละ 15 จากปีก่อน ตัวเลขนี้ชี้ว่า สายการบินต่างๆ ได้เร่งปรับกลยุทธ์ทางการตลาดด้วยการขยายเส้นทางการบินและเพ่ิมความถี่ของเที่ยวบินไปยังปลายทงที่ค่อนข้างคุ้มทุน เพื่อรองรับการเติบโตของตลาดการบิน ที่เปิดกวางต่อการเคลื่อนที่ของผุ้คนและการขนส่งสินค้าทางอากาศ
            ไทย มีข้อได้เปรียบด้านทำเลที่ต้งและอุตสาหกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน มีแผนจะพัฒนาประเทศให้เป็นศูนย์กลางการบินขงอาเวียนในอนาคต อันเห้นได้จากความเปลี่ยนแปลงต่างๆ เช่น การยกเลิกการสงวนสิทธิ์การบิน การเพ่ิมเส้นทางการบินระหว่างประเทศ และมที่สำคัญ ได้ก่อตั้งสายการบินไทยสมายล์ ที่เน้นเส้นทางในภูมิภาค ASEAN Plus และมุ่งเป้ากลุ่มลูกค้าที่เชื่อมต่อเที่ยวบินจากการบินไทย และกลุ่มลูกค้ารายได้ปานกลางที่ต้องการความหรูหราคล้ายคลึงกับสายการบินระดับพรีเมี่ยมในราคาที่ต่ำกว่า
            การเติบโตเหล่านี้จำต้องได้รับการสนับสนุนอย่างมากจากภาครัฐ ทั้งด้วยการแก้ไขกฎเกณฑ์การถือครองกรรมสิทธิ์สายการบิน การอนุมัติสิทธิการบินให้กับสายการบินต่างชาติ การจัดเตรียมสนามบินทางเลือก การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนสงระหว่งสนามบินภยในประเทศ ฯลฯ อย่างไรก็ดี ภาพความสำเร็จและโอกาศย่อมมาพร้อมกับความท้าทายอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
           การเปิดเสรีการบินยังมีข้อจำกัดอยู่มาก เมื่อแต่ละชาติเห็นผลประโยชน์ของตนในประเด็นที่แตกต่างกันไป ตัวอย่างดช่น อินโดนีเซีย ตลาดการบินที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน มีออกมาประกาศว่ายังไม่พร้อมเปิดเสรีการบิน ด้วยปัญหาการจัดการสนามบินและโครงกสร้างขนส่งมลวชนที่ยุ่งยาก ทั้งต้องเผชิญแรงกดดันจากธุรกิจการบินในประเทศที่พยายามให้รัฐบาลปกป้องตลาดให้ยาวนานที่สุด เพราะมาอง่า การเปิดเสรีการบินอาจทำให้พวกเขาสูญเสียส่วนแบ่งการตลาดให้กับสายการบินต่างประเทศ
         
นอกจากนี้ ระดับการให้สิทธิการบินในข้อตกลงทวิภาคี ระดับการพัฒนาทางเสณาฐกิจ ความสามารถทางการตลาดและกลุ่มะุรกิจ และโครงร้างพื้ฐานของอุตสาหกรรมการบินที่แตกต่างกันอย่างมากสะท้อนว่า หลายประเทศยังไม่พ้ร้อมจะเปิดเสรีการบินอย่างเต็มที่ และสร้างความกังวลว่าการเปิดเสรีจะสร้างประดยชน์แก่กลุ่มทุนการบินขยาดใหญ่บางกลุ่ม ซึ่งทำให้การเจรจาเรื่องดังกล่าวไม่มีความคืบหน้าเท่าที่ควร
            อย่างไรก็ดี กลุ่มทุนการบินขนาดใหญ่เหล่านี้มีบทบาทสำคัญต่อการเปิดเสรีการบิน เพราะหากพวกเขามั่นใจว่ากรเปิดเสรีจะสร้างประโยชน์มากกว่าทคาดไว้ ก็มีแนวโน้มจะเกิดแรงผลักดับไปยังการกำหนดนโยบายของภาครัฐ นอกจากนี้ การเติบโตของธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำยังช่วยเร่งการเปิดตลาดบินร่วมให้เป้นจริงได้มากขึ้น โดยเฉพาะเมื่อกลุ่มทุนการบินขยาดใหญ่เร่ิมเห็นทิศของตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป และหันมตั้งสรายการบินทางเลือที่มีค้นทุนต่ำกว่า หรือเข้าถือหุ้นในสายการบินต้นทุนต่ำสัญชาติตนเสียเอง
              การเปิดเสรีของน่านฟ้าอาเซียนกำลังเกิดขึ้นพร้อมๆ กับความท้าทายทางเศราฐกจิ และความขัดแย้งระหว่าผลประโยชน์ของชาติกับพผลประดยชน์ของภูมิภาค ฉะนั้น อักหนทางหนึ่งในการก้าวข้ามขีดจำกัดที่มีอยู่ก็คือ การเน้นย้ำให้แต่ละประเทศตระหนักถึงความสอดคล้องระหว่างผลประโยชน์ของชาติและผลประโยชน์ของภูมิภาค ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในเร้วัน เมื่อพิจารณาถึงข้อเท็จจริงที่ว่าข้อจำกัดด้านการบินระหว่างชาติอาเวียนเอง จะก่อให้เกิดควาเมสียเปรียบ เมื่อทำข้อตกลงด้านการบินระหว่างอาเซียนกับประเทศนอกภูมิภาค อย่างเช่นที่เกิดขึ้นกับข้อตกลงการขนส่งทางอากาศระหว่างอาเวียนกับจีนที่ทำให้สายการบินจีนได้รับสิทธิการบินไปยังประเทศอาเซียนต่างๆ ในขณะที่สายการบินประเทศอาเซียนยังประสบปัญหาเรื่องสิทธิการบินไปยังประเทศของกันและกัน เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางไปยังจีน www.bangkokbiznews.com/blog/detail/553708
          ไทยกับการเป็นศุนย์กลางธุรกิจการบินอาเซียน มีการศึกษาภาพรวมธุรกิจการบินไทยในปี 2556-2558 ว่ามีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากปัจจัยที่กำลังจะก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมเศราฐกิจอาเวียน และจากการขยายตัวของธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ ทั้งในประเทศและในภูมิภาคเอเชียแผซิฟิก โดย ศูย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่าในปี 2556 จะมีจำนวนเที่ยวบินมาทำการบินผ่านท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอกาศยานดอนเมือง ซึ่งเป็นท่าอากาศยานหลักและร่องของประเทศ รวมทั้งสิ้น 440,178 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 16 เมื่อเที่ยบกับยปีที่ผท่านมา
          นอกจากนี้ยังมีตัวเลขจากการพยากรณืทางการ ตลาอโลก หรือโกลบอ มาร์เก็ต ผอร์คาสต์ ของบริษัทผลิตอากาศยานค่ายยุโรประบุว่า ในอีก 20 ปีข้างหน้า ( พ.ศ. 2556-2575) อัตราการเดินทางทางกาอากาศจะเติบโตขึ้นถึงร้อยละ 4.7 ต่อปี โดยอากาศยานที่มีในปัจจุบันประมาณ 17.740 ลำ ทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นเป็นเกือบ 36,560 ลำ ภายในปี 2575 ซึ่งภายในปีดังกล่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกจะมีอัตราการเดินทางทางอากศเพ่ิม สูงขึ้นแซงหน้าภูมิภาคยุโรปและอเมิรกาเหนือ
           โดยที่ปัจจุบันการเดินทางทางอากาศเฉบี่ยทั่วโลกที่เพ่ิมสูงขึ้นร้อยละ 5.5 ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกมีความต้องการอากาศยานโดยสารใหม่สุงถึงร้อยละ 36 ตามมาด้วยยุดรป ร้อยละ 20 และอเมริการเหนือ ร้อยละ 19
            สำหรับ ภูมิภาคอาเซียนนั้นกระแสการตื่นตัวรับการก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ก่อให้เกิดกิจกรรมต่างๆ มากมาย ทั้งการต้าการลงทุน และการท่องเที่ยว ส่งผลให้เกิดความเติบโตทางเศรษฐฏิจ รวมทั้งอำนาจซื้อที่เพ่ิมสงขึ้นของประชากรในภูมิภาค ก่อให้เกิดควาเมป็นเมืองตามมา ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่งภูมิภาค สงผลให้เกิดการเดินทางระหว่งประเทศอาเซียนมากย่ิงขึ้น และเกิดการขยายตัวของตลาดการท่องเทียวในประเทศอาเซียนอีกด้วย
          อย่างไรก็ตามกระแสการรวมเป็น  AEC ก็ได้ส่งผลให้เกิดความคึกคักต่อธุรกิจการเป็นในภุมิภาคเป้นอย่างมาก ใโดยทำให้เกิดการเพ่ิมเที่ยวบนและขยายเส้นทางการบินมายังประเทศอาเว๊ยน และเส้นทางการบินระหว่งประเทศสมาชิกอาเวียนมากยิ่งขึ้น
          โดยเฉพาะ อยางยิ่งการเติบโตของธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ ซึ่งมีแรงดึงดูดทางด้านราคา ทั้งนี้ในระหว่างปี 2554-2556 มีการเปิดตัวสายการบินต้นทุนต่ำในภูมิภาคอาเซียนกว่า 7 สายการบิน ใน 6 ประเทศอาเวีนน ได้แก่ เวียนดนาม สปป.ลาว เมีนยมร์ สิงคด)ร์ อินโดนีเซียน และฟิลิปปินส์
           นอกเหนือจากนี้ยังมีการขยายเส้นทางการบินไปยังจุด หมายปลายทางระหวางเมืองต่างๆ ในอาเวียนมากยิ่งขึ้น เช่น การขยายเส้นทางการบินของสายการบินต่างๆ ที่มีฐานการบินในไทย ไปยังเมืองต่าง ๆ ของเมียนมาร อาทิ ย่างกุ้ง- มัฒฑะเลย์-เนย์ปิดอว์ และการขยายเส้ทากงการบินไปยัง สปป.ลาว การเพิ่มขึ้นของจำนวนสายการบินซึ่งทำการบินเส้นทางกรุงเทพฯ-เสียมเรียบ ประเทศกัมพูชาเนื่องจากได้มีการยกเลิกการสวงนเส้นทางไว้ให้เฉพาะบางสายการบิน การขยายเส้นทางบินของสายการบินแห่งชาติกัมพุชามายังไทยและไปยังเวียดนาม เป็นต้น
         
สำหรับประเทศไทยแล้วนับว่ามีความได้เปรียบด้านทำเลที่ตั้ง ที่มีพรมแดนติดกับประเทศอาเวียนถึง ประเทศ4  ประเทศ และมีจุดแข็งจากการเติบโตของะุรกิจกาบินอย่างโดดเด่นในภุมิภาค พิจารณาจากจำนวนผู้โดยสารที่เดินทางมาท่าอากสญานสุวรรณภุมิในปี 2555 คับคั่งเป้นอันดับ 2 ของภุมิภาค รองจากท่าอากาศยานซูการ์โน่ฮัตตา ของอินโนีเซีย อักทั้งไทยยังมีอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนเครื่องบินที่แขงแกร่ง โดยที่ผ่านมามีบริษัทต่างชาติให้ความสำคัญในการเข้ามาลวทุนตั้งฐานการผลิต ชิ้นส่วนเครื่องยินและชิ้นส่วนเครื่องบิน มูลค่ากล่า 142,241 ล้านบาท และในปี 2556 ระหว่างเดิืน ม.ค.-ส.ค. มีมุลค่าการนำเข้า-ส่งออกเครื่องบินและขิ้นสวนเครื่องยินกว่า 137,224 ล้านบาท เติบโตกว่าวร้อยละ 93 เมื่อเที่ยบกัยช่วงเดียวกันของปีก่อน
            ดังนั้นเพื่อเป็นการรองรับธุรกิจการบินที่จะขยายตัวเพ่ิมขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้อกจากประเทศไทยมีความมุ่งหวังที่จะเป้นศูนบ์กลางทางการบินของภุมิภาคแล้วยัง มีเป้าหมายที่จะเป็น "ศูนย์กลางซ่อมบำรุงอากาศยานของภุมิภาค" เืพ่อรองรับปริมาณเครื่องบินที่จะเพ่ิมขึ้นนภุมิภาคอาเซียนอีกด้วย
             ส่ิงที่ไทยต้องลงมือทำอย่งจริงจัง ก็คือควรเร่งพัฒนาศักยภาพเืพ่ดึงดูดปริมาณเครื่องบินต่างๆ โดยเฉพาะเครืองบินจากกลุ่มประเทศ CLMV ที่มีการเติบโตทางด้านฑุรกิจการบิน แต่ยังขาดความพร้อมทางด้านวิศวกรรมการบิน ควรวางแผนด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ ซึ่งปัญหาดังกล่วต้องได้รับการพิจารณาและเร่งดำเนินการแห้ไข เนื่องจากการเติบโตอย่างมากของธุรกิจของการบินอาเวียนได้ทำให้รัฐบาลของประเทศ ต่างๆ เล็งเห็นถึงโอกาศเช่นกัน เช่น สิงคโปร์ และมาเลเซีย ซึงเป้นสมาชิกอาเวียนก้มีเป้าหมายที่จะเป็นศูนย์กลางซ่อมบำรุงอากาศยานของ ภุมิภาคด้วยเช่นกั เหนืออื่นไใดคือควรสร้างความสัมพันะ์ที่ดีกับสายการบินต่างสัญชาติที่มีฐาน การบินในไทยให้มาใช้บริากรศูนฐืซ่อมอากาศยานของไทย ทั้งนี้มีการคาดกาณณ์ว่ามูลค่าการซ่อมบำรุงอากาศยานทั่วโลก ในปี 2562 จะมีมุลค่าถึง 63,000 ล้านเหรียญสหรัฐ www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1384493044
             
         

วันศุกร์ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Single Sky

             "นโยบายน่านห้าเสรีอาเซียนไ เป้นนโยบายหนึ่งซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจอย่าง รวดเร็ว โดยพมนาการที่เด่นชัดทีุ่สดของการคมนาคมทางอากาศคือ การขยายตัวเชิงปริมาณและคุณภาพของสายการบินใหม่ๆ ในอาเซียน โดยเฉพาะสายการบินต้นทุนต่ำ  Low Cost  Airline ที่เติบโตอย่างรวดเร็ว สังเกตได้จาการที่เวียดเจ็ทแอร์ ของเวียดนามที่ได้เปิดให้บริการโดยมีฐานปฏิบัติการอยู่ที่เชียงใหม่ ซึ่งเป้ฯการให้บิรการภายในประเทศไทย ซึ่งเป็นการสะท้อนถึงการเจริญเติบโรทางเศราฐกิจ คนกลุ่มใหม่ที่ต้องการการเดินทาง ีทรวดเร้ซและมีรายได้เพียงพอที่จะเข้าถึงบริากรขนส่งที่สะดวกสบายมากขึนนอกจากนี้ ยังมีการอำนวนความสะดวกนการเข้าถึงการให้บริการสายการบินผ่านระบบอินเทอร์เน็ตและการชำระค่าบริการผ่านบัตริเครดิตและบัติเดบิต ดังนั้นสายการบินต่างๆ จึงเร่งปรบกลยุทธ์ทางการตลาดด้วยการขยายเส้นทางการบินและเพ่ิมเที่ยวบินไปยังจุดหมายปลายทางมากขึ้นเพื่อรองรับการเติลโตของตลาดการบิน
            การเปิดน่านฟ้าเสรีนั้นก่อให้เกิดประโยชน์หลายประการ ประการแรกคือการที่ผุ้บริโภคสามรรถเลือกรับการให้บริการจากสายการบินทีหลากหลายและมีคุณภาพในราคคาที่ถูกลง ในด้านผู้ปะกอบการนั้นก็ยังมีโอกาสเข้าถึงผุ้บริโภคและตลาดการบินมกขึ้นแม้จะต้องลด่าธรรมเนียต่างๆ ลงก็ตาม นอกจากนี ประเทศที่มีศักยภาพในการแข่งขันสูงก็จะสามารถดึงดูดชาวต่างชาติให้เข้ามาท่องเที่ยว ลงทุนและประกอบกิจการต่างๆ ในประเทศเหล่านั้นได้
         
อย่างไรก็ตาม การเปิดน่านฟ้า เสีนรนั้ก็มีอุปสรรคบางประการ กล่าวคือ น่านฟ้าดังกล่าวถูกแบ่งกั้นด้วยกฎเกณฑ์ตามเขตอธปไตยของแต่ละประเทศซึ่งไม่สามารถรวมกันเป้นตลาดการบินร่วมได้จริง ปัญหาเหล่านี้จำต้องได้รับการสนับสนนุและความร่วมมือจากภาครัฐ อาทิ การแก้ไขกฎเกณฑ์การถือครองกรรมสิทธิ์สายการบิน การอนุมัติสิทธิการบินให้กับสายการบินต่างชาติ การจัดเตียมสนามบินทางเลือก และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งระหว่งสนามบินภายในประเทศ เป็นต้น
           สำหรับประเทศไทยทีที่ตั้งเป็นจุดศูนย์กลา
ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งถือเป็นข้อได้เหรียบด้านการคมนาคมและอุตสาหกรรมการบิน นอกจากนี ยังมีการสนับสนุนแผนที่จะพัฒนาประเทศให้เป็นศูนย์กลางการบินกลของอาเซียนในอนาคต ดังจะเห็นได้จากความเปลี่ยนแผลงต่างๆ เช่น การยกเลิกการสงวนสิทธิ์การบิน การเพ่ิมเส้นทางการบินระหว่างปะเทศโดยเน้นเส้นทางในภุมิภาคึ อาเซียน พลัส (อาเซียน จีน อินเดีย) และที่สำคัญยังมีการอนุญาตให้สายกาบินจากต่างประเทศเข้ามาให้บริการโดยตรงในประเทศ เป็นต้น
          ส่วนประเทศสิงคโปร์นั้น ก็มีการผลักดันนโยบายการเปิดน่านฟ้าเสรีในระดับทวิภาคีและภูมิภาค โดยเฉพาะในกรอบอาเซียน เช่นเดียวกับประเทศไทย เนื่องจากรัฐบาลสิงคโปร์ได้ตั้งเป้าหมายได้ตั้งเป้าหมายในกาเป็นสูนย์กลางการขนส่งทางอากาศระหว่งประเทศเพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจใหม่ให้แก่สายการบินทั่วโลก ทั้งนี้ ระยะทางของที่ตั้งสนามบินกับศูนย์กลางธุรกิจก็ยังมีผลต่อการตัดสินใจการลงทุนของต่างชาติในประเทศนั้นๆ ด้วย นอกจากนี้เพื่อเป็นการสนองตอบความต้องการในการใช้สนามบนิของายการบินต่างๆ โดยเฉาพะอย่างอยิ่งในปัจจุบันการเปิดให้บริการด้วยกสายการบินต้นทุนต่ำของสายการบินต่างๆ ทำให้สนามบินต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันการเปิดให้บริการด้วยสายการบินต้นทุนต่ำอีกดวย นอกจากนี้เนื่องจากสนามบินซางฮีเป็นสนามบินแห่งเดียวในสิงคโปร์ จึงทำให้ประเทศสิงคโปร์ไม่ประสบปัญหาเรื่องสายการบินต่างประเทศจะเข้ามาแข่งขันกับสายการบินภายในประเทศ และส่งผลให้สิงคดปร์ไม่จำเป็นต้องกสร้างมาตรการคุ้มครองและส่งเสริมการแข่งขัน รวมทั้งไม่ต้องป้องกันหรือสงวนสิทธิการทำธุรกิจสายการบินภายในประเทสให้แ่ผู้ประกอบการสายการบินภายในประเทศ
          แต่อย่างไรก็ตา แต่ละประเทศต่างเห็นผลประดยชน์ของตนในประเด็นที่แตกต่งกันไป ตัวอย่าเช่น อินโดนีเซีย ซึ่งเป็นตลาดการบินที่ใหญ่ทีีุ่สดในอาเวียนได้ออกมาประกาศว่ายังไม่พร้อมเปิดเสรีการบินเนื่องจากปัญหาการจัดการสนามบินและโครงสร้างขนส่งมวลชนที่ยุ่งยากอีกทั้งต้องเผชิญแรงกดดันจาธุรกิจการบินภายในประเทศที่รัฐบาลพยายามปกป้องตลาดให้ยาวนานที่สุ เพราะ กาเปิดเสรีการบินอาจทำให้พวกเขาสูญเสีย่วนแบ่งการตลาดให้กับสายการบินต่างประเทศ
          ในทางตรงกันข้าม ผุ้ที่สนับสนุนให้มีการเร่งเปิดตลาดการบินนั้นได้ให้เตุผลว่าสายการบินอินเดียและจีนได้เปรียบสายการบินของประเทศสมาชิกอาเวียนเนื่องจากสายาการบินอินเดียและจีนได้รับสิทธิในการลงจอดในประเทศอาเซียนได้อย่างเสรีในขณะที่สายการบินของแต่ลประเทศในอาเซียนต้องบินจากบ้านตัวเองตรงไปประเทศจีน ไม่สามารถแวะประเทศอื่นก่อนบินไปจีนได้ ซึ่งบตรงข้ามกับประเทศสมาชิกอาเซียนที่ไม่ให้สิทธิเสรีภาพที่ 7 แก่ประเทศสมาชิกด้วยกัน
         ทั้งนี้ เสรีภาพที่ 7 คือสิทธิที่ให้โดยรัฐหนึ่งแก่อีกรัฐหนึ่งในการคมนาคมขนส่งระหว่างอาณาเขตของรัฐที่ให้สิทธิกับรัฐที่สามใดๆ โดยไม่มีเงือนไขว่าบริการดังกล่าวจะต้องรวมจุดในอาณาเขตรัฐผู้ได้รับสิทะิ กล่าวคื อบริการไม่จำเป็นต้องเชื่อกับจุดในรัฐเจ้าของสายการบินอันจะทำให้สายการบินในประทศหนึงสามารถเปิดเที่ยวบินระหว่างประเทศของประเทศอื่นในอาเซียนได้โดยไม่ต้องบินจากประทศตังเองเท่านั้น ดยยกตัวอย่างสายการบินสิงคโปร์สามารถเปิดเที่ยวบินระหว่างมาเลเซียนและอินโดนีเซียได้ ดังนั้น หากประเทศต่าง ยังชักช้าไม่ร่วมกันดำเนินการเพ่ิมสิทธิการบิน "Seventh Freedom" เพื่อป้องกันการเสียเปรียบ ประเทศสมาชิกอาเซียนก็คควรตระหนักถึงการผลัดกันนโยบาย อาเซียนน่านฟ้าเดียวกัน ให้สมบูรณ์
          แต่การจะเปิดตลาดการบินเสรีนั้นเป็นเรื่องที่ดำเนินการได้ยากและต้องใช้เวลาในการเจรจาเพื่อกำหนดข้อตกลงอันเป็นที่ยอมรับและพอใจแก่ทุกประเทศ จะเห็นได้จาก นโยบายน่านฟ้าเดียวของประชาคมยุโรปซึ่งก้าวหน้าไปถึงระดับที่สามารถสร้างตลาอการบินเดียวนั้นใช้เวลาในการพัฒนาถึง 20 ปีเต็ม
          อีกปัจจัยที่่สำคัญประการหนึ่งในการเปิดตลาดการบินเสรีคื อากรมีโครงสร้างพื้นฐานและความพร้อมของแต่ละประเทศที่เท่าเทียมกันเพื่อให้เกิดความสมดุลและการไร็ว฿่งข้อได้เปรียบเสียเปรยบเมื่อทำข้อตกลงด้านการบินระหว่างประเทศสมาชิกอาเวียน ทั้งนี อาเซียนประกอบไปด้วยประเทศที่มีควมตแตกต่างทางเศราฐกิจหลายระดับ โดยเฉพาะการพัฒนาทางเศราฐกิจ ความสามารถของตลาดและลกลุ่มธุรกิจ และโครงกสร้างพื้นฐานและความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ของชขาติกับผลประโยชนืของภุมิภาค ดังนั้น  การทำความตกลงแบบพหุภาคีจึงเป็นเรื่องยาก คงจะมีเพียงข้อตกลงทวีภาคีในการให้สิทะิการบินที่รวมกลุ่มระหว่างประเทศที่มีศักยภาพในการแข่งขันทีีเท่าเที่ยมกันเท่านั้น พฤติการณ์เหล่านี้จึงเป็นสิ่งที่สะท้อนว่าหลายประเทศยังไม่พร้อมจะเป็นเสรีการบินอย่างเต็มที่ และไ้ดสร้างควมกังวลว่าการเปิดสเรจะสร้างประโยชน์แก่กลุ่มทุนการบินขนาดใหญ่บางกลุ่ม
       
  สำหรับด้านการจัดการด้านการจราจรทางอาเาศนัน การเติบโตของการจราจรทางกากาศโดยสายการบินพาณิชย์พุถ่งสูงถึง ร้อยละ 5.7 ต่อปี ภายในปี 2560 การเปิดน่านผ้าเสรีอาจจะก่อให้เกิดความแอดันทางการจราจรทางอากาศได้ หากไม่มีการจัดการหนือควบคุมการจราจรทางอากาศที่ดีปล่อยให้เที่ยวบินล่าช้าหรือยกเลิกบ่อยๆ อาเซียนอาจจะต้องเจอกับความไร้ประสทิะภาถภทางกาบินเหมือนยุโรปเมื่อหลายปีก่อนโดยไม่ีมีการจำกัดระยะเวลาในการรอบนพื้นของอากาศยานหรือชะลอความรเ็วในการปล่อยอากาศยานเข้าสูการทำการบิน ทั้งนี้จึงควรมีความร่วมมือในการสร้างระบบการจัดการจราจรทางอากาศร่วมกันในอาเวียนเพื่อให้เกิดความคล่องตัวทางการจราจร หรือการมีศูนย์กลางทางการจราจรทางอากาศ
         เพราะฉะนั้น ปัจจัยและทัศนคติที่หลากหลายได้ส่งผลกระทบต่อการเปิดน่านฟ้าเสรีในอาเซียเป็นอย่างมาก แต่อย่างไรก็ตามความร่วมมือระหว่างประเทศต่างๆ ในการอนุญาตให้สิทธิการบิน การจัดตั้งศูนย์การบินกลาง การส่งเสริมความเชื่อมโยงระหว่างการให้บริการของสายการบินและการต้าสินค้าและบริการจะทำให้เกิดการเตล่อนบ้ายเสรีในอุตสาหกรรมสินค้าการลงทุนและการท่องเที่ยว ประกอบกับการแลกเปลี่ยนฐานข้อมูลโดยเฉาพะในพื้นที่เสี่ยงจากอุบัติภัยทางการบิน การวิเคราะห์ฺโอกาสทางการตลาด และประเมินความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นจะสร้างความมั่นใจแก่ผู้บิรโภค ผุ้ประกอบการ ภครัฐและประชาชนทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจะเป็นแรงผลักดันให้การเปิดนานฟ้าเสรีของอาเซียนบรรลุผลสำเร็จในเวลาอันรวดเร็ว web.krisdika.go.th/asean/index.php/files/download/fa34cef699becc4
         

วันพฤหัสบดีที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Low Cost Airline

           สายการบินราคาประหยัด หรือสายการบินต้นทุนต่ำ เป็นกลยุทธการดำเนินธุรกิจด้านการบิน ด้วยการลดค่าใช้จ่ายของการบิน เช่น เครื่องแบบพนักงาน อาหารบริการบนเครื่องบิน ทำให้สามารถขายตั๋วโดยสารในราคาประหยัดได้ อีกทั้งมีการขายตั๋วล่วงหน้าผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถวางแผนจัดการเที่ยวบินได้ง่าย ลดความเสี่ยงด้านการโดยสารไม่เต็มลำ
          สายการบินราคาประหยัดนั้นมาจากประเทศสหรัฐอเมริกา และรูปแบบการดำเนินธุรกิจก็ได้รับการถ่ายทอดไปยังยุโรปโดยในปี 2543 แลเปลี่ยนลักษรการบริการของสายการบินสัญชาติไอรอชให้เป้นสายการบินราคาประหยัด จากนั้นแนวคิดได้ถูกนำไปปรับใช้อย่างแพร่หลายจนกระทั่งปัจจุบัน ยุโรปมีสายการบินราคาประหยัด รายใหญ่หลายสาย สายการบินราคาประหยัดในสหภาพยุโรปมจะมีลักษณะพิเศษเพราะอยู่ในระบบตลาดเดียวของสหภาพ กล่าวคือสามารถไปตั้งศุนย์กลางการบินในประเทศสมาชิกสหภาพยุโปรได้เลย โดยไม่ต้องร่วมหุ้นตั้งสายการบินกับประเทศที่ไปตั้งศูนย์กลางการบิน
         รูปแบบการให้บริการของสายการบินราคาประหยัด
         - ราคาบัตรโดยสารเครื่องบินของสายการบินประเภทนี้ต่ำหว่างยัตรโดยสารชั้นประหยัดของสายการบินหญ่ๆ ประมาณ 40-50 %
         - ให้บริการแบบ เซิงเกิล อีโคโนมี่ คลาส คือมีบริการที่นัีงเฉพาะชั้นประหยัด (ชั้นธุรกิจจะให้บริการให้เส้นทางบินระยะไกล)
         - ให้บริการเส้นทางบินไม่ไกลนัก ส่วนใหญ่มักใช้เวลาบินไม่เหิน 3-4 ชั่วโมง หรือเส้นทางบินไกล 5-12 ชั่วโมงจะใช้เครื่องยิน ลำใหญ่ท่ประหยัดเชื้อเพลิง
         - ส่วนใหญ่จะไม่มีบริการอาหารและเครื่องดื่มให้แก่ผู้โดยสารบนเครื่องบิน หากผุ้โดยสารต้องการ ก็สามารถซื้อได้จาพนักงานในราคาพิเศษ ซึ่งวิธีนี้จะช่วยลดภาระงานและจำนวนพนักงานต้อนรับบนเครืองบินได้
        - เน้นบริการขึ้นและลงจอด ณ สนามบินระดับรอง ไม่ใช่สนามบินที่เป้ฯศุนย์กลางการบินหลักๆ ระหว่างประเทศ ทำให้ต้นทุนค่าใช้สนามบินต่ำกว่า ไม่ว่าจะเป้ฯค่าธรรมเนียมขึ้น-ลงจอด ปละการใช้พื้นที่จอดเครืองบิน หรือ บินให้เยอะที่สุดเืพ่อเพิ่มรายได้ให้สายการบินได้มากขึ้นจอดเครืองให้น้อยที่สุ 45 นาที่ถึง 1 ชั่วโมงเพื่อค่าธรรมเนียมในการจอด ณ สนามบินระดับรอง ไม่ใช่สนาบ้นิที่เป้ฯศูนย์กลางการบินหลักๆ ระหว่งประเทศ (Hub) ทำใหต้นทุนค่าใช้สามบินต่ำหว่า ไม่ว่าจะเป็นค่าธรรมเนียมขึ้น-ลงจอด และการใช้พื้นที่จอดเครืองบิน หรือ บินให้เยอะที่สุดเพื่อเพิ่มรายได้ให้สายการบินได้มากขึ้นจอดเครื่องให้น้อยที่สุ 45 นาที่ถึง 1 ชั่วโมง เพื่อค่าธรรมเนียมในการจอดสนามบินในเส้นทางนั้นๆ มีราะคาถูก
     
- มักช้เครื่องบินโดยสารเพรียงรุ่นเดียวหรือแบบเดียวในการให้บริการเพื่อประหยัดค่าบำุงรักษาและเครื่องบินเป็นรุ่นที่ประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง ตลอดจนค่าใช้จ่ายฝึกอบรมนักบัน เพราะการใช้เรื่องบินนน้อยรุ่นทำให้ประหยัดค่าอะไหล่/อุปกรณ์ และว่ายต่อการดูแลรักษา นอกจากนี้ ยังอาจได้รับส่วนลดในการสั่งซื้อจากบริษัทผุ้ผลิตเครื่องบินเมือเหมาซื้อเครื่องบินแบบและรุ่นเดียวกันทั้งฝูงบิน
        - มีการพัฒนาระบบการจองและาการขายบัติโยสารของสายการบินเอเงโดยไม่ผ่านตัวกลาวหรือตัวแทนจำหน่าย เพื่อลอค่าใช้จ่ายต่างๆ เช่น ค่าคอมมิสชั่น เป็นต้น ส่วนใหญ่เป็นการขายบัติโดยสารผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือทางโทรศัพท์ นอกจากนี้ เืพ่อประหยัดค่าช้จ่ายในการพิมพ์และค่ากระดาษ สายการบินมีการออกบัตรโดยสายแบบ ทิกเก็ตเลส คือ ไม่มีการออกบัตรโดยสารเป็นประดาษให้ แต่จะบอกรหัสบัตรประจำตัวประชาชนให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเท่านั้น
        - ไม่มีการบริการภาคพื้นดิน เช่น ไม่มีห้องรับรองพิเศษ ไม่มีบริการจัดส่งหรือถ่ายโอนสัมภาระ แต่อาจมีบริการตามความต้องกาของผุ้โดยสาร เ่น ห้องรับรอง รถรับส่ง จากสนามบินไปยังเมืองปลายทาง ดดยผุ้โดยสารต้องเสียค่าใช้จ่ายเพ่ิมเติม  th.wikipedia.org/wiki/สายการบินราคาประหยัด
            ธุรกิจการบินสยายปีกประชาคมอาเซียน...
            Center for Aviation หรือ CAPA เปิดเผยว่าปัจจุบันายการบินต้นทุนต่ำครองส่วนแบ่งที่นั่งราว 50% ของเที่ยวบินทั้งหมดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดย 3 ใน 5 สายการบินน้องใหม่ที่เพ่ิงเปิดตัวเมื่อปีที่ผ่านมา ยังเป้ฯสายการบินต้นทุนต่ำ ได้แก่ แอร์เอเชีย ฟิลิปปินส์, สกู้ต ของสิงคโปร์ และแมนดาล่า จากอินโดนีเซีย ซึ่งแปลงโฉมตัวเองจากที่เคยให้บริการเต็มรูปแบบขณะที่การบินไทยส่ง "ไทยสไมล์" รุกตลาดภูมิภาคนี้ รวมทั้ง สปป.ลาวก็เปิดตัว "ลาว เซ็นทรัล แอร์ไลน์" เช่นกัน อย่างไรก้ตามคาดว่าตลาดโลว์คอสต์ แอร์ไลน์ในอาเวียนังมีโอกาสเติบโตอีกมาก โดยเฉพาะการเข้าไปแสวงหาโอกาสชิงสวนแบงการตลาดในประเทศพม่าและเวียดนาม ซึ่งขณะนี้อัตราการเข้าถึงของสายการบินประเภทนี้ยังต่ำกว่าอัตราเฉพลี่ยของทั่วโลกอยู่ที่ 26%
             - ธุรกิจการบินในประเทศไทย สายการบินไทยแอร์เอเชีย และ นกแอร์ ซึ่งได้รับประโยชน์จากนโยบายการย้ายฐานการบินมาที่สนามบินดอนเมืองตั้งแต่แดือน ต.ค. ที่ผ่านมา ได้วางแผ่นเพิ่มฝูงบินราว 33% ในปี 2556 โดยไทยแอร์เอเชีย จะรับมอบเครื่องบินแอร์บัส เอ 320 เพ่ิมอีก 9 ลำ ทำให้รวมทั้งสิ้นมี 36 ลำ ขณะที่นกแอร์ คาดว่าจะเพ่ิม 6 ลำ รวมเป็น 24 ลำ
             นอกจากนี้นแอร์ ซึ่งปัจจุบันให้บริากรเฉพาะเที่ยวบินประจำภายในประเทศเท่านั้น ได้มีแผนจจะใช้เครื่องบินโบอิ้ง 737-800s ให้บริการเส้นทางต่างประเทศเป้นครั้งแรกด้วย ขณะที่แอร์เอเชีย ซึ่งมีสัดส่วนที่นั่งกว่า 40% ให้บริากรเส้นทางต่างประเทศอยู่แล้ว ก็จะสยายปีกสู่ตลาดในและต่างประเทศมากขึ้น โดยใช้ข้อได้เปรียบจากการเข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประทเศไทยในปีก่อน มาสนับสนุนการเติบโตต่อเนื่องในปีนี้
            - สิงคโปร์ ซึ่งเปิดสนามบินชางยีต้อนรับผุ้โดยสารเกิน 50 ล้านคนในปีที่ผ่านมา ในปีนี้การจราจรทางอากาศของสิงคโปร์อาจชะลอตัวลง คาดการเติบโตไม่เกิน 10% ในช่วง 11 เดิืนแรกของปี 2555 เนื่องจากได้อานิสงส์ของตลาดสายการบินต้นทุนต่ำที่ขยายตัวรวดเร็ว ครองสัดส่งนการให้บริการ 30% ของสรามบินชางยีนปัจจุบัน โดยคาดว่าในปีหน้าการเปิดตัวของ สกู้ตสายการบินน้องใหม่ที่ให้บริการโลว์คอสต์ในเส้นทางระยะไกล จะเติบโตคได้เร้ซที่สุด เพราะถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งของบิรษัทแม่อย่างสิงคโปร์ แอร์ไลน์ ที่ต้องการหันมาปั้นรายได้จากสายการบินในเครือข่ายทอแทนรายได้ของธุรกิจหลักที่ชะบลอ ไม่ว่าจะเป้ฯ สกู้ต หรือกรทั่ง ซิลค์แอร์ เจ็ตสตาร์ ที่กำลังมีแผนขยายเส้นทางบินที่มีศักยภาพ
         
นอกจากนี้ สามาบินชางยี จะเริ่มลงมือ่ก่อสร้างอาคารที่ 4 เพ่ิมเติม ซึ่งอยู่ภายใต้แนวคิดอาคารลุกผสมที่จะมาแทนบันเจ็ต เทอร์มินัล ที่จะถูกรื้อทิ้งในเร็วๆ นี้และคาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปี 2560 เพื่อรองรับผุ้โดยสารเพิ่มราว 16 ล้าคนต่อปี
            ขณะที่ประเทศอินโดนีเซียน ซึ่งเป็นตลาดใหญ่ที่สุดของธุรกิจายการบินในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในด้านประชกรจำนวนไมากได้ผงาดขึ้นเป็นหนึ่งในตลาดที่การเิตบโตร้อนแรงปห่งหนึ่งของโลก เฉพาะตลาอการบินในประเทสมีผุ้โดยสารถึง 70 ล้านคน แลฃะข้นแทร่นกลายเป้น "ตลาดในประทศ" ใหญ่ที่สุดอันดับ 5 ของโลกรองจาก สหรัฐฯ จีน บราซิบล และญี่ปุ่น นับตั้งแต่ปี 2551 เป้นต้นมา มีการเติบโตเกินกว่า 10% ต่อปี และคาดว่าจะยังรักษาอัตรานี้ต่อเนื่องอีกหลายปี เพราะสายการบินรายใหญ่ยังมีแผนที่จะขยายเส้นทางในประทเสต่อเนื่อง
          ไลอ้อน แอร์ ผุ้นำในตลาดการบินในอินโดนีเซีย นังขยายฝูงบินใหม่ โบอิ้ง 737-900ERs อย่างต่อเนื่องเฉลี่ย 2 ลำต่อเรือนทำให้สายการบินนี้ครองส่วนแบ่งการตลาดในประเทศถึง 40% เพราะมีเครื่องยินใหม่เข้ามาเสริมทัพ รองรับการเติบโตอย่าง รวดเร็ว และตลาดยังเพียงพอ สำหรับรองรับสายการบินในเครือข่ายสายใหม่อย่าง บิติคแอร์ ซึ่งให้บริการเต็มรุปแบบ และมีกำหนดเปิดตัวในปีนี้
           ขณะที่ ซิตี้ลิงค์ สายการบินราคาประหยัด ซึ่งเป็นเครือข่ายของการูด้า คาดเติบโตถึง 150% ด้านจำนวนผุ้โดยสารที่คาดว่าจะแต่ 10 ล้านคนเมื่อมีการขยายฝูงบิน แอร์บัส เอ 320 และเริ่มทยอยรับมอบเครื่องเอทีอาร์ 72 เข้าประจำการลำแรก ซึ่งเป็นกลยุทธ์ทีหวังนำมาปะทะโดยตรงกับ วิงส์แอร์ สายการบินลูกของไลอ้อน แอร์ ที่เน้นเส้นทางยินระยะสั้นwww.thai-aec.com/650
            ตลาดการบินอาเซียน -เอเชียสุดแข็งแกร่ง โบอิ้งเล็งคุยบินไทยร่วมมือด้านซ่อมบำรุง
            โบอิ้ง มุ่งอาเซียน/เอเชีย ชีธุรกิจการบินปี 60 สุดแข็งแกร่ง ตลอเติบโตสูง โดยเฉพาะ "โลว์คอสต์แอร์ไลน์" มีความต้องการเครื่องบินใหม่ ทั้งเพ่ิมขีดการให้บริการและทอแทนเครื่องเก่า เล็งคุยการบินไทยขยายความร่วมมือเพ่ิมทักษะด้านซ่อมบำรุง ฝ่ายช่าง
            นายแรดดี้ ทินเซ๊ธ รองประธานฝ่ายการตลาด โบอิ้ง คอมเมอร์เชียล แอร์เพลน เปิดเผยถึงทิสทางตลาดเครื่องบินพาณิชย์วา ในระยะ 20 ปีต่อจากนี้ตลาดเอเชียจะเป็ฯภุมิภาคที่ีการเติบโตของธุรกิจการบินสูงที่สุด โดยจะมีการสงมอบเครื่องบินถึง 15,130 ลำ ขณะที่ตลาดอเมริกาเหนือสงมอบ 8,330 ลำ และยุโรป 7,570 ลำ โดยจีนจะเป้ฯลูกค้ารายใหย่ของเอชียในสัดส่วน 40% ส่วนเอเชียตะวันออกเแียงใต้นั้นมีสัดส่วนประมาณ 25% โดยลูกค้าส่วนใหย่ คือ สายการบินในประเทศไทย, มาเลเซีย, เวียดนาม, อินโดนีเซีย ขณะที่เครื่องบินแบบทางเดินเดียว มีความต้องการสูงสุดถึง 71% ของเครื่องบินทั้งหมด รองลงมาเป็นเครื่องบินขนาดเล็แบบลำตัวกว่างคิดเป็น 13%  และเครื่องบินขนาดกลางแบลบำลตัวกว้างคิดเป็น 9%
             ซึ่ง ไลอ้อนแอร์ มีคำสั่งซื้อเครื่องบินแบบทางเดินเดียวมากที่สุด ขณะที่การบินไทยได้จัดซื้อเครื่องบินในอดีตจากโบอ้องมากว่า 75 ลำ ทั้งนี้ การเติบโตของตลาดการบินเป็นผลมาจากความต้องการเครื่องบินใหม่เพื่อรองรับปริมาณผู้โดยสรที่เพ่ิมขึ้น การเปิดบริการในตลาดใหม๋ๆ โดยเฉพาะตลาดโลว์คอสต์ และการเปลี่ยนเครื่องบินรุ่นใหม่เพื่อทอแทนเคร่องบินรุ่นเก่า ซึ่งคาดว่าจะมีถึง 40% ที่ซื้อเครื่องใหม่เพื่อแทนเครื่องเก่า โดยในปี 60 ธุรกิจการบินจะมีควาแข.แรก่งมากขึ้นจากปัจจัยราคาน้ำมันที่จะทำให้มีกำไรในการให้บริการเพิ่มโดยผู้โดยสรจะเติบโต 5.1% ด้านขนส่งสินค้าโต 3,3% และประเมินว่าในอี 20 ปีการเติบโตของเศรษฐกิจโดยเฉพลี่ยทั่วโลกจะอยุ่ที่ 2.9% ขณะที่ปริมาณผุ้โดยสรเครื่องบินจะเพ่ิมขึ้นปีละประมาณ 4% ความต้องการเครื่องบินทั่วดลกจากปัจุบัน 20,000 ลำ จะเพิ่มเป็น 45,000 ลำในปี 2478
              ทั้งนี้ การเติบโตของตลาดการบินเป็นผลมาจากความต้องการเครื่องบินใหม่เพื่รองรับปริมาณผุ้โดยสารที่เพ่ิมขึ้น การเปิดบริการในตลาดใหม่ๆ โดยเฉพาะตลาดโลว์คอสต์ และการเปลี่ยนเครื่องยินรุ่นใหม่เพื่อทดแทรเครื่องบินรุ่นเก่า ซึ่งคาดว่าจะมีถึง 40% ที่ซื้อเครื่องใหมเ่พื่อแทนเครื่องเกาดยในปี 69 ธุรกิจการบินจะมีความแข็งแกร่งาขึ้นสจาปัจจัยราคน้ำมันที่จะทำให้มีกำไรในการให้บริกรเพ่ิม โดยผุ้ดยสารจะเติบโต 5.1 % ด้านขนส่งสินค้าโต 3.3% และประเมนว่าในอีก 20 ปี การเติบโตของเศราฐกิจโดยเฉลี่ยทั่วโลกจะอยู่ที่ 2.9% ขณะที่ปริมาณผุ้โดยสารเครื่องบินจะเพ่ิมขึ้นปีละประมาณ 4% ความต้องการเครื่องบินทัวโลกจากปัจจุบัน 20,000 ลำ จะเพิ่มเป็น 45,000 ในปี 2578
           
 อย่างไรก็ตาม เมื่อตลาดเครื่องบินขยาัว บริการหลังการขายครอบคลุมบริการด้านการขนส่วสินค้าและบิรการภาคพื้นดิน การซ่อมบำรุงและวิศวกรรม การบริหารด้านการบิน การตลาดและการวางแผน และอื่นๆ คาดจะเติบโตที่ 4% ต่อปี  หรือมีมุลค่าประมาณ 8 ล้านล้านเหรียญสหรัฐใน 20 ปีข้างหน้า ซึ่งโบอิ้งคาดว่าจะมีส่วนแบ่งที่ 30-35%  และเห้นว่าธุรกิจต่อเน่องดังกล่าวจะเป้นโอกาศ ซึ่งได้หารือกับการบินไทยในการขยายความร่วมมือในด้านการซอมบำรุง ฝึกอบรม สร้างทักษระทางวิศวกรรม เป้นต้น
              นายแรนดี้หล่าวว่า เพื่อรองรับแนวโน้มการพัฒนาและการเติบโตของตลาด โบอ้ิ้งได้ดำเนินโครงการพัฒนาเครื่องบินอย่างต่อเนื่อง โดยมีเครื่องบินหลากหลายรุ่นที่สองความต้องกาที่หลากหลายของตลาด เช่น เครื่องบินในตระกูล 737 ซงเป็นเครื่องบินขนาดเล็ก ตระกูล 787 ซึ่งเป็นขนดากลาง และ 777 ซึ่งเป็นเครื่องบินขนาดใหญ่ โดยในขณะนี้บริษัทฯ ได้รับคำสั่งซื้อจรากสายการบินทั่วโลกรวมทุกประเภทเป็นจำนวน 5,715 ลำ มูลค่าประมาณ 416 พันล้านเหรียญสหรัฐ
              โดยในตลาดเครื่องบนขนาดเล็ก โบอิ้ง 737 MAX ซึ่งเป็นรุ่นล่าสุดที่มีความโดดเด่นเรื่องความประหยัด และคล่องตัวมีการพัฒนาก้าวหน้าตามกำหนด โดย 737 MAX 9 ได้ทำการบินครั้งแรกเื่อวันที่ 13 เมษายน 2560 ที่ผ่านมา และคาดวาจะส่งมอบลำแรกได้ในปี 2561 และคาดว่าในปี 2562 เครื่องยินในตระกุลนี จะมีการขยายตัวมาก ส่วนโบอิ้ง 737 MAX 10 ซึ่งเป็นเครื่องบินแบบทางเดินเดียวที่สามารถช่วยเพ่ิมผลกำไรจากการประหยัดต้นทุนของสายการบิน ก็กำลังอยุ่ในช่วงการพัฒนาช่วงสุดท้ายเช่นกัน
              โบอิ้ง 787 นับเป็นเครื่องบินขนาดกลางที่ได้รับความสนใจเป็นอย่งากจากสายกาบินทั่วดลก และช่วยให้สายการบินต่างๆ เปิดเส้นทางบินใหม่ได้อกีกว่า 140 แห่ง รวมเป็นจำนวนเส้นทงที่ให้บริการในปัจจุบัน 1,290 เส้นทาง ปัจจุบนโบอิ้งได้รับคำสั่งซื้อแล้ว 1,211 ลำ จาก 64 สายการบินทั่วโลก โดยรุ่น 787-9 จะสามารถบรรทุกุ้โดยสารเพ่ิมขึ้น 20% ขนสินค้าเพ่ิมขึ้น 23%  และบินได้ไกลขึ้น 520 กิโลเมตร ซึ่งจะส่งมอบให้การบินไทยในปลายปี 2560 นี้
             ส่วนโบอิ้ง 777 ยังคงเป็นเครื่องยินแบบ 2 ทางเดินที่ได้รับความยิยมสูงสุ  เนื่องจากมีความแ่นยำวางใจได้ มีการออกแบบตกแต่งภายในที่ให้ความสะดวก และมีพิสัยบินไกล และมียอดสั่งซื้อมากว่าเครื่องบินแอร์บัส 35-1,000 ถึง 4 เท่า www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9600000042002

วันพุธที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2560

National Airlines (ASEAN) II

     - สายการบินเมี่ยนมาร์เนชันแนลแอร์ไลน์ เป็นสายการบินแห่งชาติของพม่า บริหารงานโดยกระทรวงคมนาคมพม่า มีประวัติยาวนาน ก่อตั้งเมื่อปี 2491 ส่วนากให้บริการเส้นทางการบินในประเทศ เพิ่งเปิดเส้นทางการบินมายังสิงคโปร์ ฮ่องกง และประเทศไทยเมื่อเร็วๆ นี้
              ชื่อเดิมว่า ยูเนียนออฟเมียนมาร์แอร์เวย์ หรือเบอร์มาแอร์เวย์ หรือเมียนมาร์แอร์เวย์ เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศพม่ามีสำนักงานใหญ่ในเมืองย่างกุ้ง ส่วนใหญ่ใไห้บริการเที่ยวบินภายในประเทศ และเที่ยวบินระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ฐานการบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง โดยสายการบินนี้ต่อกตั้งในปี ค.ศ. 1948 นับเป็นสายการบินที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของทวีปเอเชีย
              ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง เป็นท่าอากาศยานที่ตั้งอยุ่ในตำบลมีนกะลาโตน ทางตอนเหนือ 15 กิโลเมตรจากตัวเมืองย่างกุ้งดำเนิงานโดยรัฐบาล เป้นท่าอากาศยานนานาชาติแห่งหลักของพม่าและเป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจาท่าอากาศยานนานาชาติมัฒฑะเลย์ และท่าอากาศยานนานาชาติเนปยีดอ
           
 อาคารผุ้โดยสารหลังเก่าปัจจุบันถูกใช้งานสำหรับเที่ยวบินภายในประเทศในขณะที่อากคารผุ้โดยสารหลังใหม่ที่เร่ิมเปิดใช้งานเมือ เมื่อ พ.ศ. 2550 ถูกใช้งานเพื่อเที่ยวบินระหว่างประเทศสนามบินแห่งนี้สามารถรองนรับผุ้โดยสารได้ 2.7 ล้านคนต่อไป อย่างไรก็ตามในปัจจุบันจำนวนผู้โดยสารกลับเกินขีดความสสามารถ ปัจจุบันกำลังมีการก่อสร้างอาคารผุ้โดยสารหลังใหม่ ซึ่งจะช่วงเพิ่มขีดความสามารถ โดยในปี พ.ศ. 2555 มีปริมาณผุ้โดยสารถึง 3.1 ล้านคน ทั้งนี้ ในปัจจุบัน กำลังมีการก่อสร้างอาคารผุ้โดยสารหลังใหม่ ซึ่งจะช่วยเพ่ิมขีดความสามารถของสนามบินให้รองรับผุ้ดดยสารได้ 6 ล้านคนต่อปี จะแล้วเสร็จในปี 2558

             - การบินไทย บินตรงสู่จุดหมายปลายทางทั้งในประเทศและประเทศอื่นๆ กว่า 30 ประเทศทัวโลก มีการะทรวงการคลังถือหุ้นใหญ่ เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ทำหน้าที่ดำเนินธุรกิจการ
บินพาณิชย์ ในฐานะสายการบินแห่งชาติของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 โดยปฎิบัติการบินจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นหลัก ทั้งนี้การบินไทยยังได้ร่วมก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรการบิน สตาร์อัลไลแอนซ์ เป็นผุ้ถือหุ้นใหญ่ในสายการบินนกแอร์ และเปิดตัวสายการบินลูก ไทยสมาย์อีกด้วย
              ปัจจุบัน (ธันวาคม พ.ศ. 2559) การบินไทยบิน 58 สนามบินในต่างประเทศ ทั้งหมด 3 ทวีป 33 ประเทศทั่วโลก ไม่นับประเทศไทย จากท่าอากาศยานสุวรรณภุมิ ด้วยฝูงบินกว่า 78 ลำ การบินไทยเป็นสายการบินลำดับต้นในเอเชีย ที่ทำการบินในเส้นท างกรุงเทพ -ลอนดอน นอกจากนี้ การบินไทยได้รับรางวัลยอดเยียมจากองค์การอนามัยโบกว่าด้วยสุขอนามยบนเครื่องบินอีกด้วย
             ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นสนามบิน ตึ้งอยุ่ที่ถนนเพทรัตน และทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหอนงปรือและตำบลราชาเทวะ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตรเปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมืองวัยที่ 28 กันยายน พ.ศ.2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ
ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุรภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการที่ดีที่สุดในโลกในปี 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก และอาคารผุ้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก ปัจจุบันเป็นหนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผุ้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผุ้โดยสารมากเป็นอนดับที่ 20 ของโลกและในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 103 สายการบินซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมง (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) และศุนย์กลางการขนส่งทางอากาศ (สามารถรองรับสินค้าได้ 3 ล้านตันต่อปี) นอกจากนี้ ยังมี ทางหลวงพิเศษ ที่ทันสมัยซึ่งเชื่อมต่อระหว่างท่าอากาศยาน (สามารถรองรับสินค้าได้ 3 ล้านตันต่อปี) นอกจากนี้ ยังมี ทางหลวงพิเศษ ที่ทัีนสมัยซึ่งเชื่อมต่อระหว่างท่าอากาศยานกรุงเพทมหานครและ นิคมอุตสาหกรรมอิสเทิร์น ซีบอร์ด สายการบินหลายแห่ง ได้แก่ การบินไทย การบินไทยสมายล์ บางกอกแอร์เวย์ และเอเชียแอตแลนติกแอร์ไลน์ ได้เลือกท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นศุนย์กลางการบิน

             - เวียดนามแอร์ไลน์ เป็นสายการบินประจำชาติ มีเส้นทางการบินทั้งในทวีปเอเชียและยุโรป
             เห็นได้ชัดว่าภุมิภาคอาเซียนเป็นอีกหนึ่งภูมิภาคที่มีสายการบินทีได้มาตรฐานและได้รับการยอมรับ ท้งยังมีประวัติการเดินทางทางอากาศยาวนาน สะท้อนภาพในปัจจุบันที่อาเซียนเป็นจุดหมายปลายทางยอดนิยมของผุ้คนทั่วโลก
             เวียดนามแอร์ไลน์ เป็นสายการบินแห่งชาติซึ่งเดิมเป็นหน่วยงานของรัฐ ก่อนที่จะแปรรูปกิจการมาเป้นเวียดนามแอร์ไลน์ คอร์ปอเรชั่น ในปี พ.ศ. 2538 จากการจัดอันดับของสกายแทร็กให้อยุ่ในระดับ 3 ดาว  ในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2553 เข้าร่วมเป็นสมาชิกพันธมิตรสายการบินสกายทีม นับเป็นสายการบินเดียวจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่เข้าเป็นสมาชิก
           
ท่าอากาศยานเตินเซินเญิ้ต เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนาม คั้งอยุ่ในโฮจิมินห์ซิตี้
             ท่าอากาศยานนานาชาติเดตินเซินเญิ้ตถือกำเนินเมื่อต้นทศวรรษที่ 1950 (พ.ศ. 2473-2482) โดยรัฐบาลภายใต้อาณัติฝรั่งเศสได้สร้างสนามบินขนาดเล็กขึ้นในหมุ่บ้านเตินเซินเญิ้ตจึงเป้นที่รุ้จักกันในชื่อว่า สนามบินเตินเซินเญิ้ต และเมื่อกล่างปี พ.ศ. 2499 ทางสหรัฐอเมริกาได้สร้างทางวิ่งความยาว 2,160 เมตรและอาคารสนามบิน ซึ่งได้กลายเป็นท่าอากาศยานนานาชาติสำหรับเวียดนามใต้ ในช่วงสงครามเวียดนาม ฐานทัพอากาศเตินเซินเญิ้ต ได้เป็นฐานทัพสำคัญทั้งของสหรัฐอเมริกาและกองทัพากาศเวียดนามใต้ และก่อนปี พงศ. 2518 ท่าอากาศยานนานาชาติเดินเซินเญิ้ตยังเป้นท่าอากาศยานที่มีผุ้มาใช้บริการมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก

           -สิงคโปรแอร์ไลน์ เป็นสายการบินประจำชาติของปรเทศสิงคดปร์ โดยบริการเส้นทางการบินไปกว่า 90 ปลายทาง 40 ประเทศทั่วโลก และได้รับการบันทึกว่เป็นหนึ่งในสายการบินที่มีการบริการท่ีดีที่สุดในโลก ฮับของสายการบินตั้งอยุ่ที่สนามบินนานาชาติชางจี ประเทศสิงคโปร์
            สิงคโปร์แอร์ไลน์ เป็นบริษัทสายการบินในสิงคโปร์ มีท่าอากาศยานสิงค์โปร์ชางงี เป้ฯอากาศยานหลัก จัดว่ามีความแข้.แกร่งในตลาดเอเชียตะวันออกเแียงใต้ เอเชีย ตะวันออก เอเชียใต้ และเส้นทางจิงโจ้" (เส้นทางบินระหว่างประเทศในทวีปออสเตรเลียกับสหรัชอาณาจักรโดยผ่านซีกโลกตะวันออก) นอกจากนี้ยังมีเที่ยวบินข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งรวม ถึงเที่ยวบินตรงเชิงพาณิชย์ที่ใช้เวลาบินนานที่สุดในโลกสองเส้นทาง คือ จากสิงคโปร์ไปนูอาร์ก และอลอสแอนเจลิสด้วยเครืองยินแอร์บัส เอ 340-500
         
สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นสายการบินแรกที่สั่งซื้อเครื่องบินแอร์บัส เอ 380 และนอกจากกิจการสายการบินแล้ว ยังขยายกิจการไปยังธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสายการบิน เช่น การจัดการและวิศวกรรมอากาศยาน มีสายการบินซิลค์แอร์เป็นบริษัทสาขาที่สิงคโปร์แอร์ไลน์เป้นเจ้าของทั้งหมด ให้บริการเที่ยวบินภายในภูมิภาคไปยังเมืองที่มีความสำคัญระดับรองและมีผุ้ดดยสารน้อยกว่า และยังมีสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก เป้นบริษัทสาขาที่ดำเนินการบินฝูงบินขนส่งสินค้าและจัดการขนส่งและจัดเก็บสัมภาระบนเครื่องบินโดยสารสิงคโปร์แอร์ไลน์ถือหุ้นในสายการบินเวอร์จินแอตแลนติก อยู่ 49% และลงทุนในสายการบินไทเกอร์แอร์ไลน์ เป้นส่วนปันผล 49% เพื่อรับมือการแข่งขันจากสายการบินต้นทุนต่ำ สิงคโปร์แอร์ไลน์จัดว่าเป็นสายการบินที่มีจำนวนผุ้ดดยสารากเป็นอันดับที่ 11 ในเอเชียและมีผุ้โดยสารระหว่งประเทศมาเป็นอันดับ 6 ของโลก
            สิงคโปร์แอร์ไลน์ได้รับการจัดอันดับจากนิตรสารผอร์จูนให้อยู่ในอันดับที่ 27 ในหมาวดปมู่บริษัทที่เป็นที่ยกย่องชมเชยมากที่สุดในโลกประจำ พ.ศ. 2553 และได้สร้างตราบริษัทที่แข็งแกร่ง ในฐานะผุ้สร้างปรากฎการณ์ ในอุตสาหกรรมการบิน โดยเฉพาะความเป็นเลิศในด้านนวัตกรรม ความปลอดภัย และบริการ ที่เชื่อมโยงเข้ากับความได้เปรียบทางธุรกิจอย่างมั่นคง นอกจากนี้ยังได้รับรางวัลมากมาย และเป้ผุ้นำทางอุตสาหกรรมในด้านการจัดซื้ออากาศยาน มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่  แอร์พอร์ต เฮ้าส์ ใกล้กับทาอากาศยานชางงีในย่านชางงี สิงคโปร์
           ท่าอากาศยานชางงี ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชาววี หรือโดยทั่วไปเรียกว่าสนามบินชางงี ตั้งอยู่ในเขตชางงี เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ สิงคด)ร์แอร์ไลน์คาร์โก, ซิค์แอร์, ไทเกอร์แอร์เวย์, เจ็ตสตาร์เอเชียแอร์เวย์ และแวลูแอร์
           ในปี พ.ศ.2549 ท่าอากาศยานแห่งนี้รองรับผุ้โดยสารจำวนถึง 35 ล้านคน เพ่ิมมากขึ้น 8% จากปีวบประมาณ 2548  พ.ศ.2552 ท่าอากาศยานนานาชาติชาฮีได้รับการลงวคุแนนให้เป็นท่าอากาศยานที่ดีที่สุดในโลก อันดับที่สาม รองจาก ท่าอากาศยานนานาชาติอินชอน และท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง

           -ฟิลิปปินส์แอร์ไลน์ เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศฟิลิปปินส์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พงศ. 2484 นับว่าเป็นสายการนแรกของเอเชีย โดยมีฮับใหญ่อยู่ที่สนามบินนานาชาติ นิยอนอากีโร ณ กรุงมะนิลาและสนามบินนานาชาติแมคตันเซบูใกล้กับเมืองเซบู
            ฟิลิปปินส์แอร์ไลน์ เป้นายการบินแห่งชาติของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นสายการบินพาณิชย์ที่เก่ารแ่ที่สุดในทวีปเอเชียที่ยังใช้ชื่อเดิม ก่อตั้งในปี พ.ศ. 1941 มีท่าอากาศยานหลักที่ท่าอากาศยานนานาชาตินินิยยอควิโน กรุงมะนิลา และท่าอากาศยานแมคแทนเซบูร เมืองเซู่มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ศุนย์ธุรกิจการเงินธนาคารแก่งชาติฟิลิปปินส์ ที่เมืองปาเซ ให้บริการใน 19 จุกมายภายในประเทศ และ 24 จุดหมายระหว่างประเทศ ใน 5 ทวีป
           
 ท่าอากศยานนานาชาตินิ นินอยอากีโน หรือท่าอากาศยานนนาชาติมะนิลา เป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศฟิลิปปินส์ มีพื้นที่บริการในมะนิลาเเละเขตปริมณฑลท่าอากาศยานตั้งอยุ่ระหว่างเขตติดต่อระหว่างสองเมืองคือปาไซกับปาราแนกประมาณ 7 กิโลเมตรทางใต้ของมะนิลาและทางตะวันตกของมากาตี ท่าอากาศยานแห่งนี้ได้ถูกจัดอันดับเป็นท่าอากาศยานยอดแย่ที่สุดของโลกติดกันสามปีซ้อมระหว่าง พ.ศ. 2554-2556
           ท่าอากาศยานแห่งนี้ ปัจจุบันประกอบไปด้วยอาคารผู้โยสาร 4 หลัง ซึ่งมีศักยภาพในการรองรับผุ้โดยสารรวม 31 ล้านค/ปี อย่างไรก็ตาม ปริมาณผุ้ดยสารก็ได้เพ่ิมขึ้นจนเกินศักยภาพนการรองรับ โดยในปี พ.ศ 2557 มีปริมาณผุ้โดยสารกว่า 34 ล้านคน ทั้งนี้ รัฐบาลฟิลิปปินส์ได้วางแผนขยายศักยภาพของสนามบินห้สามารถรองรับผุ้โดยสาตใต้ 51.4 ล้านคน/ปีภายในปี พ.ศ. 2580
                             
                             - th.wikipedia.org/wiki/ สายการบิน เมียนมาเนชั่นแนลแอร์ไลน์-การบินไทย-เวียดนามแอร์ไลน์-สิงคโปร์แอร์ไลน์-ฟิลิปปินส์แอร์ไลน์
                             - th.wikipedia.org/wiki/ท่าอากาศยานนานาชาติ ย่างกุ้ง-สุวรรณภูมิ-เดตินเซินเญิ้ต-ชางงี-นินอย อากีโน

วันอังคารที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2560

National Airlines (ASEAN)

            ในภูมิภาคอาเวียนเอง การเดินทางไปมาหาสุ่ระหว่างกันในภูมิภาคทำได้อย่างง่ายดาย ด้วยสายการบินที่มีหลากหลาย และท่าอากาศยานที่มีมาตรฐานทั่วภูมิภาค
            สายการบินประจำชาติของสมาชิกอาเซียนมีข้อมูบที่น่่าสนใจ ดังนี้
            - บรูไนแอร์ไลน์ เปิดเส้นทางการบินไปหลายที่ในภูมิภาค เป็นสายการบินรประจำชาติของประเทศบรูไน ดารุสซาลาม ก่อตั้งเมือ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 โดยมีสัญลักษณ์เป็นตราประจำชาติบรูไน โดยสำนักงานใหญ่และฮับของสายการบินตั้งอยู่ที่สนามบินนานาชาติบรูไน กรุงบันดาร์ เสรี เบกาวัน
         
ท่าอากาศยานนานาชาติบรูไน เป็นสนามบินนานาชาติที่มีขนาดเล็ก แต่ก็สะดวกสบายทุกอย่าง ขั้นตอนการเข้า-ออก ประเทศรวดเร็วไม่ยุ่งยาก มีรถแท็กซี่บริการรับ-ส่ง ผุ้โดยสารไปยังจุดต่างๆ ของเมือง ตั้งอยู่ห่างจากมเืงอที่ใกล้ที่สุดเพียง 20 นาที ซึ่งเต็มไปด้วยร้านค้า โรงเเรม และร้านอาหารมากมายและเป็นที่ตั้งอากาศยานหลักของประเทศบรูไน เป็นฐานที่ตั้งของสายการบินรอยัลบรูไนแอร์ไลน์ กองทัพอากาศบรูไนยังใช้เป็นที่ตั้งของฐานทัพอากาศริมบาซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ของท่าอากาศยาน ท่าอากาศยานให้บริการปลายทางทั่วภูมิภาคเอเชียและโอเชียเนีย

            - กัมพูชา หรือ กัมโบเดียอังกอร์แอร์ ที่รัฐบาลมีหุ้นส่วนร้อยละ 51 เปิดให้บริการเชื่อมระหว่งกรุง
พนมเปญและมืองสำคัญในประเทศ รวมถึงประศต่างๆ ในอาเซียนและหลายเมืองของประเทศจีน ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2543 มีสำนักงานใหญ่และฮับอยู่ที่สนามบินนานาชาติพนมเปญและเมืองเสียมราฐ
            คอมโบเดียแอร์ไลน์ ก่อตั้งขึ้นโดยรัฐบาลกัมพูชาและเวียนนามแอร์ไลน์ พร้อมเงินทุนหนึ่งร้อยล้านด้อลลาร์ ให้บริการชั้นประหยัดและชั้นธุรกจ แอร์บัส เอ 321 ส่วนเอที่อาร์ 72 ให้บริการเฉพาะชั้นประหยัด โดยสายการบินนี้มาแทนที่รอยับแอร์แคมโบดจ์ ซึ่งให้บริการมาต้้งแต่ปี ค.ศ. 2001 ปัจจุบัน แคมโบเรียอังกอร์แอร์ให้บริการเที่ยวบินไปยังจุดหมายจ่างในทวีปเอเชีย และมีส่วนช่วยในการพานักท่องเที่ยวมาเยียมชมนครวัด จังหวัดเสียมราฐ
         
นับตั้งแต่เปิดให้บริการ แคมโบเดียอังกอร์แอร์ ได้กลายเป็นผุ้ผูกขาดรายใหญ่ของตลาดการบินในประเทศ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน สายการบินต้องแข่งขันเที่ยวบินในประเทศกับสามสายการบินเอกชน ได้แก่ แคมโบเดียบายแอร์ไลน์, บัสซากาแอร์ และสกายอังกอร์แอร์ไลน์
           ท่านอากาศยานนานาชาติ พนมเปญ เป็นท่าอากาศยานหลักของกัมพูชา ตั้งอยุ่ห่างจากใจกลางอรุงพนมเปญไปทางตะวันตก 7 กิโลเมตร มีชื่อเดิมว่า "ท่าอากาศยานนานาชาติโปเชนตง"
           เมื่อปี พ.ศ. 2538 รัฐบาลกัมพุชาได้อนุมัติสัญญาสัมปทานกับกลุ่ม SCA ซึ่งเป็นกิจการร่วมทุนระหว่างฝรั่งเศสและมาเลเซีย (ถือหุ้นร้อยละ 70-30) ให้ดำเนินการงานท่าอากาศยานนานาชาติโปเชนตงได้เป็นเวลา 20 ปี โดยที่กลุ่ม SCA ได้ดำเนินแผนการปรับปรุงท่าอากาศยานมูลค่า 110 ล้านเหรียญ ทั้งการก่อสร้างทางวิงใหม่ อาคารผุ้โดยสาร อาคารคลังสินค้า ดรงเก็บเครื่องบิน การติดตั้งระบบการบินลงสนามระดับ CAT III และไฟนำร่อง

            - อินโดนีเซีย มี การูดาอินโดนีเซีย เป็นสายการบินหลักที่ได้รับการจัดอันดับจากสกายแทร็กซ์เป็นสายการบินอันดับ 8 ของโลกในปี 2558 และอันดัง 1 ในฐานะสายการบินที่มีลูกเรือยอดเยียมที่สุดป ปัจจุบันมีจุดหมายปลายทางทั้งในประเทศ ในอาเซียน และอีกหลายประเทศในทวีปอื่นๆ
             เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศอินโดนีเซียน ตั้งชื่อตมคำในภาษาอังกฤษที่แปลว่า "ครุฑ" ซึ่งเป็นตราแผ่นดินของอินโดนีเซีย สายการบินมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยุ่ภายในทางอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตา ใน จังหวัดบันเติน ใกล้กับกรุงจาการ์ตา
             ในคริสต์ศวรรษ 1980 ถึงกลาง 1990 เป็น
ยุคที่สายการบินการูดามีความรุ่งเรื่องมากที่สุด ดดยมีเที่ยวบินไปทุกภูมิภาคของโลก รวมถึงลอสแอลเจลิสในสหรัฐอเมริกา แต่เนื่องจากรประสบปัญหาทางการเงิน ตลอดจนเหตุที่ลูกเรือฆาตกรรมนักสิทธิมนุษยชนบนเครืองบนิ ได้นำไปสู่การตัดลบงบประมาณของสายการบินในที่สุด
             ท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตา เป็นท่าอากาศยานหลักของกรุงจากการ์ตาและปริมณฑล ตั้งอยู่ในจังหวัดบันเติน บนเกาะชวา ในขณะที่สนามบินอีกแห่งหน่งของจากาตาร์คือ อท่าอากาศยานฮาลิมเปอร์ดานะกุสุมา ท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งชื่อตามประธานาธิบดีคนแรก ซูการ์โน และรองประธานาธิบดีคนแรก โมฮัมหมัด ฮัตตา บางครั้งชาวอินโดนีเซียก็เรียกสนามบินแห่งนี้ว่า สนามบินเช็งกาเร็ง
             - สปป.ลาว มีสายการบินประจำชาติ คือ ลาวเเอร์ไลน์ อยู่ภายใต้กาบริหารของกระทรวงโยธาธิการและขนส่งลาว มีเส้นทางการบินทั้งในประเทศ และนอกประเทศในอาเซียน รวมถึงเส้นทางระยะไกลอย่างกรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้
             โดยใช้ท่าอากาศยานนานาชาติวัตไต นครหลวงเวียงจันทน์ เป็นฐานการบินหลัก และใช้ท่าอากาศยานนานาชาติหลวงพระบาง แขวงหลวงพระบางเป็นฐานการบินรอง
              สายการบินก่อตั้งให้บริการตั้งแต่เดือนกันยายน พงศ. 2519 ภายใต้ชื่อ "ลาว อเวียชั่น" ครั้งปี พ.ศ. 2546 จึงเปลี่ยนชื่อเป็น "ลาว แอร์ไลน์" และได้เป็นสายการบินของรัฐบาลโดยสมบูรณ์
           
การบินลาวมีเส้นทางบินไปยังจุหมายปลายทางภายในประเทศ 8 แห่งใน 8 แขวง และให้บริการเที่ยวบินระหว่างประทเศไปยัง 15 มเืองใน 8 ประเทศ
              ท่าอากาศยานนานาชาติวัตไต เป็นหนึ่งในสี่ท่าอากาศยานนานาชาติของสาธารรรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตั้งอยุ่ที่เมืองศรีโคตรบอง นครงหลวงเวยงจันทน์ เป็นท่าอากาศยานหลักของการบินลาว และลาวเซ็นทรัลแอร์ไลน์ ท่าอากาศยานมีอาคาร 2 หลัประกอบด้วย อาคารผุ้โดยสารในประทเศ และอาคารผุ้โดยสารระหว่างประเทศ โดยสนามบินวัดไต สามารถจอดเครืองบินขนาด โบอิ้ง 747 ได้ 25 ลำและยังมีดรงซ่อมเครื่องบนิ ขนาด เอ 320 ที่เก็บได้ 2 ลำ ของสายการบินลาวด้วย

            - มาเลเซียแอร์ไลน์ แม้ระยะหลังจะประสบวิกฤต แต่มาเลเซียแอร์ไลน์ยังติดอันดับที่ 23 จาก 100 อันดับของสายการบินยอดเยี่ยมของโลกโดยสกายแทร็กซ์ มาเลเซียแอร์ไลน์เป็นสายาการบินประจำชาติของมาเลเซีย ให้บริการเดินทางทั้งในและนอกทวีป เคยเป็น 1 ใน 5 สายการบินที่ได้รับการจัดอันดับให้อยู่ในอันดับ 5 ดาว เป็นสายการบินหนึ่งที่ผุ้คนยอมรับมากที่สุดในโลกตะวันออก จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์เครืองบินของเที่ยวบินที่ 370 สูญหายระหว่างทำการบินในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2557
            สายการบินเปิดให้บริการเมื่อปี พ.ศ. 2490 ในชื่อว่า มาลายันแอร์เวย์ แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นอาเลเซียแอร์เวย์ หลงจากมาเลเซียประกาศเอกราช และเมือสิงคโปร์ประกาศแยกตัวเป็นเอกราชจากมาเลเซีย สายการบินมาเลเซียแอร์เวย์ก้ได้เปลี่ยน
ชื่อเป็นมาเลเซีย-สิงคโปร์แอร์ไลน์ ต่อมาเกิดปัญหาทางการเมืองระหว่างรัฐบาลของทั้งสองประเทศ ทำให้ทางสายการบินแยกัวออกเป็น 2 บริษัท คือ มาเลเซียแอร์ไลน์ซิสเต็ม และสิงคโปร์แอร์ไลน์ และในปี พงศ. 2530 มาเลซียแอร์ไลน์ซิสเต้ฒ ก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็นมาเลเซียแอร์ไลน์
           ท่าอากาศยานนานาชาติ กัวลาลัมเปอร์ ตั้งอยู่ที่เขต เซปัง รัฐเซอลาโงร์ ประเทศมาเลเซีย ห่างจากตัวเมืองกัวลาลัมเปอร์ ประมาณ 50 กิโลเมตรเปิดดำเนินการเมืองวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2541 เพื่อใช้เป็นท่าอากาศยานหลัก แทนท่าอากาศยานสุลต่านอับดุล อาซส ซาห์ (ซูบัง) ซึ่งตั้งอยุ่ทางทิศเหนือ (ปัจจุบันเปิดทำการในสายการบินภายในประเทศ และเครื่องบินขนดเล็ก) และเป็นท่าอากาศยานหลักของมาเลเซียแอร์ไลน, มาเลเซียแอร์ไลน์คาร์โก และแอร์เอเชีย
          ได้รับรางวัลท่าอากาศยานที่ดีที่สุ จาก AETRA awards ในป 2005 และ ACI-ASQ awards  ในปี 2006

               - potcha12345.wordpress.com/2015/01/20/2/
               - http://www.asiatravel.com/thailand/travel-guide/asean-airport.html
               - th.wikipedia.org/wiki/สายการบินประจำชาติ
               -  th.wikipedia.org/wiki/ท่าอากาศยานนานาชาติพนมเปญ
               - th.wikipedia.org/wiki/ท่าอากาศยานนานาชาติบรูไน
               - th.wikipedia.org/wiki/ท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตา
               - th.wikipedia.org/wiki/ท่าอากาศยานนานาชาติวัตไต
               - th.wikipedia.org/wiki/ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์

         

วันจันทร์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Connect Update

            "อเมซอน" รุกชิงเค้กอาเซียน
             ยักษ์ใหญ่อี-คอมเมิร์ซสหรัฐท้าชิงจีน ประเดิมบุกสิงคโปร์เป็นสรามทดสอบอาเซียน หวังปูทางปะทะเดือดอาลีบาบา-ลาซาด้า
              อเมซอน ยักษ์ อี-คอมเมิร์ซจากสหรัฐ เปิดบริการไพรม์นาว เป็นครั้งแรกในสิงคโปร์นับเป็นก้าวแรกในการชิงส่วนแบ่งตลาดผุ้บริโภคอาเซียน และเปิดฉากแข่งขันกับอาลีบาบา บริษัทอี-คอมเมิร์ซรายใหญ่จากจีนที่กำลังเร่งขยายธุรกิจในภุมิภาคผ่านลาซาด้าแพทตฟอร์มค้าปลีกออนไลน์ในเครืออาลีบาบาในอาเซียน
             ทั้งนี้ บริการไพรม์ นาว จะจัดส่งสินค้าทุกประเภทที่วางขายในอเมซอนอย่างรวดเร็ว โดยส่งสินค้าฟรีภายในเวลา 2 ชั่วโมง หากซื้อสินค้ามากว่า 40 ดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 981 บาท) และส่งด่วนภายใน 1 ชั่วโมง หากเสียค่าส่ง 9.99 ดอลลาร์ (ราว 245 บาท)
             นอกจากนี้ เฮรีโหลว ผุ้อำนวยการฝ่ายบริการอเมซอน ไพรม์นาว ในเอเชียแปซิฟิก เปิดเผยว่า อเมซอนยังจะเปิดให้ชาวสิงคโปร์ที่มไ่ได้เป็นสมาชิกไพรม์ ทดลองใช้บริการส่งเสนค้าดังกล่าวฟรีในช่วงเวลาจำกัดด้วยเช่นกัน
            แม้การเปิบริการไพรม์ในสิงคโปร์จะยังถือเป็นตลาดเล็ก ทวาประชากรส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลักและนิยมซื้อสินค้าออนไลน์จากต่างประเทศ ซึ่งจะช่วยอเมซอนในการดำเนินการดังกลาว หลังจากท่เริ่มรุกเข้าสู่เอเชียอย่างจริงจังในปีที่แลวด้วยการบุกตลาดอินเดีย
            "สิงคโปร์จะเป็นนามทดสอบ ผมจะให้เวลาอเมซอนอีก 2 ไตรมาส ในการเปิดบริการต่าๆ ในอาเวียนเร็วๆ นี้ อย่างน้อยก็ในเมืองใหญ่ของภุมิภาค" อเจย์ ซันเดอร์ รองประธานฝายกลยุทธ์ดิจิทัลของบริษัทที่รปึกษาธุรกิจฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน กล่าวพร้อมเสริมว่า ยอดขายสินค้าออนไลน์ใอาเซียน คาดว่าจะขยายตัวแตะ 7.1 หมือนล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว 2.36 ล้านล้านบาท) ภายในปี 2021 จาก 1.6 หมื่นล้านดอลลาร์ (ราว 5.32 แสนล้านบาท) ในปี 2016
             ด้านบลูมเบิร์กรายงานวา การรุกตลาดครั้งนี้จะทำให้การแข่งขันของธุรกิจค้าปลีกออนไลน์ในอาเซียนรุนแรงยิ่งขึ้น หลังอาลีบาบาลงทุนเพ่ิมในลาซาด้าถง 1,000 ล้านดอลลาร์ (ราว 3.3 หมื่นล้านบาท) เมื่อเดือน มิ.ย. และกำลังพิจารณาซื้อหุ้นในโทโกพีเดีย แพลตฟอร์มค้าปลีกออนไลน์ในอินโดนีเซีย
             เสี่ยวเฟิงหวัง นักวิเคราะห์จากบริษัทวิจัยฟอร์เรสเตอร์ เปิดเผยว่า อาลีบาบาและลาซาด้าจะยังมีความได้เปรียบเหมือน อเมซอน เหนื่องจากทำธุรกิจในภูมิภาคมา ยาวนานกว่า ใน 6 ประเทศอาเซียน ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย และเวียยดนาม ทำให้มีฐานลูกค้าและผุ้ขายของในพื้นที่ รวมถึงมีความพร้อมเรื่องระบบโลจิสติกส์
             แม้บรรดาธุรกิจอี-คอมเมิร์ซหวังชิงตลาดผุ้บริโภคอาเวียนที่มีประชากรกว่า 600 ล้านราย แต่จนถึงปัจจุบันก็ยังเผชิญอุปสรรคบางประการ เช่น ระเบียบการกำกับดูแลที่แตกต่างกันและซับซ้อน ภาษาท้องถ่ิน และความไม่พร้อมเรื่องโลจิสติกส์..www.posttoday.com/biz/aec/news/505690
            จับกระแส "อาเซียนคอนเน็กต์" ความหวังใหม่อุตสหกรรมรถยนต์โลก
            ก้าวเข้าสุ่ปีใหม่ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ แต่สิ่งที่บรรดาผุ้ผลิตรถยนต์ยังต้องประเมินสภานการณ์อย่างต่อเนื่องคือสภาพเศรษบกิจและตลาดรถยนต์ในยุโรป ที่เป็นตลาดสำคัญของโลก ซึ่งหลังจากประธานธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) ได้ประกาศความชัดเจนในการป้องกันสหภาพการเงินยุโปรแตก พร้อมทั้งรักษาระบบเงินตราสกุลเดียว และจะเพิ่มความเข้มงวดใด้านวินัยทางการเงินแก่ธนาคารต่างๆ เพื่อการสร้างสหภาพการเงินที่แท้จริง และการสร้างสหภาพเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งขึ้น เป็นสัญญาณที่ดีต่อสหภาพยุโรปในเวลานี้ว่ายงคงเดินหน้าต่อไปได้ ซึ่งมีผลโดยตรงต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ในยุโรปและของโลกด้วย
           
ส่วนประเทศจีนที่มีเศรษฐกิจใหญ่เป็ฯอันดับสองของโลก และเป็นตลาดยักษ์ใหญ่ที่สุดสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ก็ได้รับผลกระทบจากวิกฤตยุโรปเนื่องจากประเทศจีนมีการผลิตรถยนต์เพื่อส่งออกไปยุโรปจำนวนมาก จนตลาดยุโรปกลายเป็นตลาดส่งออกขนาดใหญ่ที่สุดของจีน ธนาคารเพื่อการพัฒนาเชียได้คาดการณ์แนวโน้มทางเศรษฐกิจของจีนที่อ่นแอลงจากผลกระทบของสหรัฐและยุโรป ทไำให้จากที่นักวิเคราะห์คาดว่าเศราฐฏิจจีนจะขยายตัว 8.1% ก็จะลดลงเหลือ 7.5%
             ตลาดเกิดใหม่ที่สำคัญของโลกั้งจีน อินเดีย ซึ่งผุ้ผลิตหลายค่ายต่างกระโจนเข้าไปลงทุน แต่ในช่วงปีนี้ตลาดดังกล่าวก็เกิดการชะลอตัวลงเล็กน้อย และจะชะลอตัวไปแบบนี้อีกระยะสั้นๆ ส่วนบราซิลหนึ่งในดาวรุ่งของกลุ่ม BRICs อุตสาหกรรมก็ประสบปัญหาการชะลอตัว ครดว่ายอดขายรถยนต์จะเติบดตที่ 1.6% ต่อปี ซึ่งถือว่าต่ำกว่าที่เคยคาดกันไว้่าจะเติบโต 2.0% ถือว่าตำ่เมื่อเที่ยวกับในช่วยปี 2553 ที่ตลาดบราซิลเป็นช่วงที่รุ่งเรืองมีการเติบโตถึง 7.5%
            การเติบโตด้านยอดขายรถยนต์ของตลาดโลกจึงพุ่งเป้าไปที่ทวีปเอเชียกลายเป็นตลาดรถยนต์ที่น่าจับตามอง เนื่องจากการเข้าสู่ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน และมีการเชื่อมโยงกันอย่างเต็มรูปแบบที่หลายฝ่ายยกนิ้วให้เป็น "อาเซียนคอนเน็กต์"...
              ผุ้ผลิตรถยนต์ในหลายประเทศก็มีแนวโน้มจะนำเข้าชิ้นสวนรถนยต์จากอาเซียนเพิ่มขึ้น เนื่องจากข้อตกลง FTAT ทำให้อัตราภาษีลดลงจาก 10% เหลือเพียง 5% และจะลดลงเรื่อยๆ จนอัตราภาษีจะกลายเป็น 0% ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ล่าสุด ผู้ผลิตรถยนต์อินเดียได้เพิ่มการนำเข้าชิ้นส่วนจากอาเซียนเพื่อผลประโยชน์ทางธุรกิจ ด้วยราคาชิ้นส่วนรถยนต์ที่ต่ำกว่าทำให้ชิ้นส่วนรถยนต์ที่นำเข้าจากอาเวียนมีสัดส่วนที่ 30% และมีแนวโน้มที่จะนำเข้าชิ้นสวนจากอาเซียนมากขึ้น
              อย่างำรก็ตาม เว็บไซต์ WardsAuto ประเมินว่า แม้จะมีวิกฤตเกิดขึ้นต่อุตสาหกรรมยายนต์ขึ้นในหลายพื้นที่ ทั่วดลก แต่ยอดขายรถยนต์ทั่วโลกในปี 2555 เพ่ิมขึ้น 6.8% หรือจำนวน 83.1 ล้านคัน และในปี 2556 จะเพิ่มขึ้นอีก 4.7% เป็น 87.0 ล้านคัน
             กระแสความหวังใหม่ของุอตสาหกรรมรถนยต์ดลกที่ทุ่มน้ำหนักไปที่ "อาเซียน" จึงน่าจับตามองอย่างยิ่ง...www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1357183782
            โซเซียลมมีเดีย เปิดหว้างแฟชั่นอาเซียน
            แฟชั่นมีส่นสำคัญที่ช่วยขับเคลื่อนเศราฐกิจของประเทศ ปีที่ผ่านมาไทยส่งออกในอุตสาหกรรมแฟชั่นประมาณ 6 แสนล้านบาท และมีเป้าหมายจะยกระดับการส่งออกไปถึง 1 ล้านล้านบาท ในปี 2564 พร้อมก้าวสุ่การเป็นศูนย์กลางแฟชี่นอันดับ 1 อาเซึยน ซึ่งดจทย์นี้ถือเป้นความท้าทายที่รัฐบาลและผุ้ประกอบการต้องร่วมมือกันพัฒนาในบรรลุเป้าหมายเพื่อยกระดับวงการแฟชั่นไทยให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
             ปัจจุบันอุตสาหกรรมแฟชี่นนอกจากจะสร้างรายได้ให้ประเทศแล้ว ยังกลายเป็นจุดเชื่อมด้านความร่วมมือและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับต่งประเทศด้ายเชนกัน สายการบินแอร์เอเชียได้จัดโครงการ AirAsia Runway Ready Designer Search 2017 ในงาน KL Fashion week 2018ที่ประเทศมาเลเซีย เพื่อเป็นเวทีให้เยาวชนและดไซเนอร์หน้าใหม่ในภุมิภาคอาเวียนได้มีโอกาสแสดงฝีมือ ความคิดสร้างสรรค์ฺในเวทีระดับโลก ซึ่งเฟ้นหาดีไซเหนือร์จาก 10 ประเทศอาเวียนเข้าร่วมประกอด โดยมีโจทญืให้ออกแบบผลงาน Ready to Wear หรือเสื้อผ้าสำหรับพ้อมสวมใส่ได้จริงในปชีวิตประจำวัน
            ไอรีน ดอมาร์ ประธารเจ้าหน้าที่บริหาร สายการบินแอร์เอเชีย มาเลเซียน กล่าวว่า ยอมรับว่าผลงานของนักออกแบบรุ่นใหม่มีความสวยงาม เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์ การที่นักออกแบบมีโอากสเข้าร่วมในเวทีระดับนานาชาติจะยิ่งทำให้เกิดการเรียนรู้ จะสามารถนำมาปรับใช้และเป็นแรงบันดาลใจในการผลิตผลงานในวงการแฟชั่นไ้ และในอนาคตจะเชิญชวยดีไซเนอร์จากทุกประเทศที่เป็นจุดหมายปลายทางของแอร์เอเชีย เช่น อินเดีย จีน เกาหลีไใต้ และออสเตรเลีย เข้าร่วมการแข่งขันด้วย
           รัชชานท์ วงศาสนธ์ ดีไซเนอร์อิสระ ตัวแทนจากประเทศไทย เจ้าของผลงานการออกแบบธีม "วัดโพธิ์" กล่วว่ ปัจจุบันโลกโซเชียลมีเดียวมีขยายตัว ทำให้การรับรู้แฟชั่นและการประยุกต์ใช้มีมากขึ้นสอดคล้องกันความต้องการแสดงตัวตนก็มีมาขึ้นตามไปด้วย ทำให้การแข่งขันในอุตสาหกรรมแฟชั่นอาเซียนมีความหลาหลายและแข่งกันด้วยคุณภาพมากกว่าการผลิตจำนวนมาก ดังนั้นในการออกแบบนอกจากจะต้องดูเทรนด์แล้ว ยังต้องสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มคนยุใหม่ได้ด้วย
          อีกส่วนที่ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมแฟชี่นให้แข่งขันได้ คือ การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ เพราะส่วนตัวเชื่อว่าเมื่อรัฐบาลมีเป้าหมายและผลักดันอย่างเต็มที่จะช่วยให้การแข่งขันของอุตสาหกรรมแฟชั่นไทยอยู่ในอันดับต้นๆ ของเวทีระดับอาเวยนและนานาชาติ ทั้งในเรื่องของมุบค่าตลาดและคุณภาพ
          ขณะที่ คัมภีร์ ลักษโณศุรางค์ อีกหนึ่งตัวแทนจากประเทศไทย เจ้าของผลงาน Southern Batik Thailand บอกว่า ปัจจุบันคนทั่วไปเข้าถึงแฟชั่นได้ง่ายขึ้นผ่านโซเชียลมีเดีย ซึ่งถือเป็นเรื่องดี ทำให้ผลงานของนักออกแบบมีหลากหลายช่องทางในการนำเสนอ ส่งผลให้เกิดการแข่งขันที่ดุเดือดขึ้นดังนั้นการจะอยู่รอดในวงการแฟชี่นนอกจากจะต้องยึดความเป็นตัวของตัวเองแล้วก็จำเป็นต้องเากะกระแสโลกให้ทัน รู้ความเคลื่อนไหวและความเปลี่ยนแปลงของเทรนด์โลก
          ด้าน แอนดรู ทัน ผู้ก่อตั้ง KL Fashion Week Ready to Wear กล่าวว่า ปีนี้การแข่งขันมีความท้าทายมากขึ้น แต่ก็ส่งผลดีต่อารพัฒนาววงการแฟชีนของภูมิภาคอาเซียน ขณะเดียวกันยังเป้นการเปิดโอกาสให้ดีไซเนอร์รุ่นใหม่ได้แสดงศักยภาพในเวทีนานาชาติ และได้ทำงานร่วมกับผุ้เชียวชาญในวงการแฟชั่นwww.posttoday.com/biz/aec/news/512510
           "สโตนเฮด" ยึดฐานผลิตกัมพุชา เขย่าตลาดเบียร์ไทย สองแสนล้าน.
            อีกหนึ่งฑุรกิจคนไทยรุ่นแใหม่ ที่ข้องใจในตลาอเครืองดืมแอลกอฮอร์ผลิตภัฒฑ์เบียร์ที่จำกัดแค่ผุ้เล่นรายเดิมมาเนิ่นนาน พร้อมแปรความสงสัยมาสุ่การศึกษาเ พื่อลุยตลาดเก่าที่แตกเช็กเมนต์ใหม่ คือ กลุ่มคาฟต์เพบียร์ พร้อมใช้สิทธิประดยชนืการลงทุนในประเทศเพื่อบ้านมาเป็นฐาานการผลิต
            ปฎิธาน ตงศิริ กรรมการผุ้จัดการ บริษัท บ้านนอเข้ากรุง ผุ้แทนจำหน่ายผลิตภัฒฑดราฟต์เพบียร์แบรนด์สโตนเฮด และรำซิ่ง กล่าวว่ เร่ิมต้นฑุรกิจดราฟต์เพบียร์เมื่อ 2 ปีก่อน หลังจากเก็บเกี่ยวประสบการณ์ในแวดวงธุรกิจทั้งส่วนตัว และบทบาทผุ้บริหารธุรกิจอาหารว่า (สแน็ก) มาระยะหนึ่งกระทั่งเกิดความสนใจตลาดผลติภัณฑ์เบียร์ในบ้านเราทีพบว่าถุกจำกัดอการขยายผุ้ประกอบการธุรกิจจากกฎหมายเดิมที่มีอยู่
           
จากนั้นจึงหันมาศึกาาธุรกิจดังกล่าวอย่งจริงจัง ใช้งบลงทุนเร่ิมต้นราว 1 แสนบาท ทดลองผลิตภัฒฑ์ให้เข้าใจกระบวนการผลติขั้นตอนต่างๆ ไปจนถึงการนำสินค้าเข้าตลาดในร้านช่องทางเฉพาะกลุ่มที่สนใจบริโภคเบีย์ดราฟต์ ที่จุดประกายให้กับตัวเขาเองว่ หากจะทำให้ตลาดผลิตภัฒฑ์เบียร์คารฟต์เป็นที่รู้จักก็ต้องทำให้ถุกกฎหมาย และเื่อกฎหมายไม่เอื้ออำนวยให้ผุ้ประกอบการฑุรกิจเบีร์รายใหม่เกิดได้ ก็ต้องย้ายฐานการผลิตไปยังต่างปะเทศ เพื่อนำสินค้าเข้ามาทำตลาดในไทย
            โดยในปี 2558  จึงได้นำธุรกิจไปสร้างฐานการผลติดเบีนร์คารฟต์ ในเกาะกง ประเทศกัมพุชา ใช้ระยะเวลาราว 6 เดือนเซตอัพธุรกิจ ด้วยงบลงทุนกว่า 20 ล้านบาท พร้อมพัฒนาและสร้างแบรนด์ผลิตภัฒฑ์ฺคราฟต์เบียร์ไทยขึ้นมา ภายใต้ ชื่อ สโตนเฮด เร่ิมต้นทำตลาอดตัง่งแต่ในวันแรกผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์่..
            "คราฟต์เบียร์ คือ ผูผลติเบียร์รายเล็กที่ผลติดสินค้าออกมาทำตลาดไม่เกิดน 6 ล้านบาห์เาล/ปี ความพิเศษ คือ วัตถุดิบ ส่วนผสมที่ใช้เพื่อพัฒนารสชาติเดบียร์ให้แตกต่างไปจากที่มีอยุ่เดิมในตลาด ไม่ใช่เป็นการทำเบียร์ให้ถูกลง ปัจจุบันคาดว่มีเบียร์คราฟต์ในไทยไม่ต่ำหว่าง 30 ยี่ป้อ และยังมีการรวบรวมผุ้ทำเบียร์คราฟต์ขึ้นในไทยเป็นกลุ่มขบวนการเสรีเบียร์ เืพ่อให้ความรู้ตลาด สร้างให้เกิดการเปลี่ยนแปลทางสังคมด้วย" ปณิธาน กล่าว...www.posttoday.com/biz/aec/news/499213
           

วันอาทิตย์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Connect NEWS

           
 ปั้น "บางแสน"เที่ยบชั้นไมอามี่ รับนักท่องเที่ยวสูงวัย
             ประชากรทุกประเทศทั่วโลกกำลังเข้าสู่สังคมผุ้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยผลการศึกาาของสำนักสำมะโนครัว ประเทศสหรัฐอเมริกา คาดว่าอีก30 ปีข้างหน้า ประมาณปี 2590 ประชากรผู้สูงอายุของโลกที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป จะเพ่ิมขึ้นกว่าสองเท่า หรือประมาณ 600 ล้นคน จากประชากรปัจจุบั 7,400 ล้านคนทั่วโลก
             ทั้งนี้ เห็นได้ว่าปัจจุบันสินค้าและบริการด้านต่างๆ ได้ให้ความสำคัญกับผุ้บริโภคหลุ่มผุ้สูงวัยเพ่ิมมากขึ้น เนื่องจากกลุ่มนี้เป็นกลุ่มผู้สูงวัยเพ่ิมมากขึ้นเนื่องจากกลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีกำลังซ์อสูง ยิดีจ่ายหากสินค้าและบริการสามารตอบโจทย์ รวมถึงมีความต้องการประเภทสินค้าและบริการเฉพาะกลุ่ม (นิชมารร์เก็ต) ชัดเจนกว่ากลุ่มลูกค้าอื่น เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย เห้ฯถคึงช่องทางการตลาดของนักท่องเที่ยวกลุ่มผุ้สูงวัยทั่วโลกที่เดนทางมาพำนักระยะยาว (ลองสเตย์) ในประเทศไทยไ้โดยไม่จำกัดเฉพาะฤดูกาลท่องเที่ย เท่านั้น และอยู่ยาวกว่านักท่องเที่ยวกลุ่มอื่น
           ณรงค์ชัย คุณปลื้อม นายกเทศมนตรีเมืองแสนสุข จ. ชลยุรี เล่าว่า เมืองสแสนสุข หรือบางแสน มีนโยบายผลักดันให้เทศบาลเป็นจ้รแบบการดูแลกลุ่มผุ้สูงวัยในพื้นที ซึงมีประมาณ 6,000 คน จากประชากรทั้งหมด 4 หมื่นคน ให้ได้รับการดุแลผ่านโครงการแสนสุข สมาร์ทซิตี้ มุ่งการเป็นเมืองอัจฉริยะสำหรับผู้สูงวัยเพื่อดุแลคุณภาพชีวิตของผุ้สูงวัย ดดยนำเทคโนโลยีมาช่วยดูแลให้ชีวิตความเป็นอยุ่ดีขึ้น
            "เมืองแสนสุขได้จัดทำริชแบรนด์ระบบอัจฉริยะให้แก่ผุ้สูงวัย กรณีอยู่บ้านเพียงลำพังและเกิดเหตุฉุกเฉินเครื่องเตื่อนจะสามารถแจ้งรถพยาบาลให้การดุแลช่วยเหลือผุ้ป่วยได้ทันที ดดยแนวคิดดังกล่าวช่วยสร้างระบบสมาร์ท ซีเคียวริตี้ เพื่อเป็นสวนหนึ่งในการผลักดันเมืองให้ก้าวเข้าสู่สมาร์ท ซิตี้ ตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของภาครัฐ" ณรงค์ชัย กล่าว
            สำหรับแผนการผลักดันสมาร์ ซีเคียวริตี้การสร้างเมืองให้มีความปลอดภัย ดดยเฉพาะประชากรกลุ่มผุ้สูงวัยช่วยต่อยอดการเป็นเมืองรองรับนักท่องเที่ยกลุ่มนี้ ซึ่งจากการศึกษาพบว่าบางแสนมีสถานที่ตั้งภูมิศาสตร์รองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มผุ้สูงวัยมาใช้บริการได้
             ทั้งนี้ เมืองแสนสุขได้ร่วมกับอค์การความร่วมมือระหว่งประเทศของญีปุ่น ให้คำปรึกษาถึงแผนการพัฒนาเมืองรองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มผุ้สูงัยได้อย่างครบวงจร ดดยสถานทูตญี่ปุ่่นร่วมกับโรงพยาาบาลสมิติเวชจัดทำแผนอบรมบุคลากรทางการแพทย์ อาสาสมัคร อบรมทักษะความรู้การดูแลปฐมพยาบาลผุ้สูงัยขั้นพื้นฐาน รวมถึงมอบอุปกรณืทางกรแพทย์ที่ช่วยรักษาพยาบาลผุ้สูงวัยได้อย่างมประสิทธิภาพ...
             ปัจจุบันบางแสนถูกโหวตให้ติดอันดับ 7 เมืองที่น่าอยู่ที่สุดของไทย และเป็นเมืองที่นักท่อเที่ยวทั่วโลกต้องมาลองสเตย์ ซึ่งบางแสนเตรียมปรับภาพลักษณ์ใหบางแสนเป็นเมืองที่น่าอยู่ เป็นที่อยู่อาศัยของคนทั่วโลกที่คิดจะมีบ้านพักต่างอากาศ ไม่แพ้ภาพลักษณ์ที่ทั่วโลกมองเมืองไมอามี่" ณรงค์ชัย กล่าวทิ้งท้าย...www.posttoday.com/biz/aec/news/516204
            ดันหาดใหญ่สมาร์ทซิตี้..
            ประเทศไทยอยู่ระหว่างการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสิ่งแวดล้อมเมือง บุคลากรเพ่ิมศักยภาพความรู้ความสามารถช่วยนำพาให้เมืองไทยเป็นสถานที่อยู่อาเสยที่มีความสะดวกสบาย สอดคล้องกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 รวมถึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ชาวต่างชาติปักหมุดเดินทางมา
           วรรณรัช สันติอมรทัต หัวหน้าโครงการสมาร์ท อินโนเวชั่น ฮับ ภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เล่าถึงแผนพัฒนา อ.หาอใหญ่ ว่า แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาหาดใหญ่ให้เป็นเมืองสมาร์ทซิตี้ ตั้งแต่ปี 2560-2569 โดยแบ่งแผนการทำงานเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะสั้น กลาง และยาว เพื่อผลักดันให้
หาดใหญ่เป็นเมืองสมาร์ทซิตี้ครบวงจร ศูนยกลาง (ฮับ) การต้าและการท่องเที่ยวในภาคใต้เชื่อมต่อประเทศสมาชิกอาเซียน ทั้งนี้ แนวทางการพัฒนาเมืองเน้นใน 3 เรื่องหลัก คือ สิ่งแวดล้อม ด้านอากาศ การกำจัดขยะ ชีวิตความเป็นอยูของประชากรในเมืองต้องมีคุณภาพ 2. เศรษฐกิจในภาพรวม ให้ความสำคัญใน 4 เรื่องหลัก คือ การมุ่งพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวครบวงจร ภาคธุรกิจพัฒนาห่วงโซ่อุตสาหกรรมที่ถือเป็นจุดเด่นของหาดใหญ่ อย่างเช่น อุตสาหกรรมห้องเย็น การพัฒนาดิจิทัล สร้างนวัตกรรมการผลิตเทคโนโลยี พร้อมสงเสริมคนในชุมชนทำการต้ากับประเทศเพื่อบ้าน เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ และการพัฒนาอาหาร โดยเฉพาะอาหารมุสลิม เป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพและเป็นตลาดที่มีแนวโน้มการเติบโตสูง 3. การพัฒนาสังคมของบุคลากรให้มีความคิดที่สอดคล้องกับยุคใหญ่ไทยแลนด์ 4.0 โดยต้องเริ่มจากการศึกษามัธยมระดับต้น รวมถึงพัฒนาผู้ประกอบการกลุ่มสตาร์ทอัพให้มีความรู้ความเข้มแข็งทางธุรกิจ สร้างการเติบโตได้อย่างยั่งยืน รอบรับการแข่งขันในอนาคต
        " แนวทางการพัฒนาเมืองหาดใหญ่ให้เป็นเมืองกาค้าและการท่องเที่ยวอย่างครบวงจร มีระยะเวลาการพัฒนาการ 9 ปี ในการปรับทัศนคติของคนในเมืองให้ร่วมมือร่วมใจบริหารจัดการในทิศทางเดี่ยวกัน โดยหาดใหญ่ยังร่วมมือกับเมืองต่างๆ ในภาคใต้ เช่น ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี เชื่อมโยงท่องเที่ยวระดับภูมิภาคด้วย" วรรณรัช กล่าว...www.posttoday.com/biz/aec/news/517496
            ผุด "มอเตอร์เวย์" เชียงใหม่-พะเยา เชื่อมสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ 4 ประเทศ
            ห้วงเวลาของการเชื่อมโยงกาติดต่อค้าขยใช่เพียงแต่ประชาคมเศราฐกิจอาเซียนที่กำลังใกล้เข้ามา แต่หากพูดถึงอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงหรือสี่เหลี่ยมเศรษบกิจ ไทย ลาว พม่า และจีน ก็ทำให้ จ.พะเยา ซึ่งมีพรมแดนติดกับแขวงอุดมไชย ประเทศลาว กลายเป็นประตูการค้า ซึ่งนอกจากจะเข้าสู่ประเทศลาวตอนกลางแล้ว ยังสามารถเชื่อมโยงต่อไปยังจีนตอนใต้ได้อีกด้วย
           การประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) นอกสถรนที่เมืองวันที่ 15 ม.ค.2555 ที่ จ.เชียงใหม่ ที่ประชุม ครม. ได้มีมติเห็นชอบในหลักการการก่อสร้างทางด่วนพิเศษ หรือมอเตอร์เวย์ เชียงใหม่-เชียงราย-พะเยา เพราะเป็นเส้นทางที่มีความสำคัญสูง เชื่อมโยงระหว่งเมืองศุนย์กลางภาคเหนือ และประเทศเพื่อบ้านในสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ ซึ่งจะสงผลต่อการพัฒนาเศราฐกิจในภุมิภาค
          ล่าสุด ช่วงต้นเดือน เม.ย.ที่ผ่านมา การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) เปิดเวที จ.พะเยา รับฟังความคิดเห็น สรุปแนวทางเลือกและรูปแบบโครงการเบื้องต้นที่เหมาสม โดยแนวเส้นทางเร่ิมจากตัวเมืองเชียงใหม่เชื่อมโยงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่าน อ.ดอยสะเก็ต แม่ออน จ.เชียงใหม่ เข้าสู่ อ.เมืองปาน แจ้ห่ม วังเหนือ จ.ลำปาง และเข้าสู่ อ.เมือง จ.แม่ใจ จ.พะเยา และข้าสุ่ จ.เชียงราย ด้าน อ.พาน อ.เมืองเชียงราย และ อ.เวียงชัยสิ้นสุดที่ตัวเมืองเชียงายระยะทางประมาณ 185 กิโลเมตร
          รูปแบบโครงการเป็นไปตามมาตรฐานทางหลวงพิเศษ มีรั่วกั้นตลอดเส้นทางเพื่อความสะดวกรวดเร็วและปลอดภัย ยกเว้นทางเชื่อมรูปแบบทางเป็นไปตามสภาพภูมิประเทศ และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มีรูปแบบถนนพื้นราบ รูปแบบสะพาน และรูปแบบอุโมงค์
           ทั้งนี้ แนวเส้นทางที่ตัดผ่านชุมชน พื้นที่เกษตรกรรม จะมีการก่อสร้างทางบริการในลักาณะทางลอด ทางเชื่อมให้ประชาชนสามารถเดินทางเชื่อมต่อกันได้ สำหรับเส้นทางที่ผ่าน จ.พะเยา จะมีแนวอุโมงค์ลอดดอยหลวงระยะทาง 5 กิโลเมตร ลงไปเชื่อมต่อทางหลวงหมายเลข 1 ที่ อ.แม่ใจ
          บุญชู กมุทมาโนชญ์ ประธานสภาพอุตสาหกรรมพะเยา เห็นว่าเส้นทงดังกล่าวจะส่งผลดีต่อ จ.พะเยา ทั้งประหยัดเวลาในการเดินทาง จากเดิมเชียงใหม่-พะเยา 3 ชั่วโมง จะลดลงเหลือไม่ถึง 1 ชั่วโมง ผลที่ตามมาคือประหยัดค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้า-ขนส่งคน และส่งเสริมเศรษฐกิจ-ท่องเที่ยว โดยพื้นที่ช่วงใดที่ผ่านภูเขาจะมีการเจาะสร้างอุโมงค์ไม่มีการทำลายสิ่งแวดล้อม ไม่ตัดต้นไม้ดังที่หลาย่ฝ่ายกังวล...www.posttoday.com/biz/aec/news/358204
             ที่ดินเชียงรายพุ่ง หลัง รฟท.ผุดรถไฟเด่นชัย-เชียงของ
             หลังรอคอยมาหลายสิบปี ในที่สุดความหวังที่จะได้มีเส้นทางรถไฟของคนเชียงรายก็ใกล้เป็นความจริง วุฒิชาติ กัลยาณมิตร ผุ้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทยยืนยันในเวทีสัมนา "รถไฟพลิกโฉมเขตเศรรษฐกิจพิเศษเชียงราย"เมื่อต้นเดือน พ.ย. ที่ผ่านมา โดยเส้นทางรถไฟ เด่นชัย -เชียงราย จะสิ้นสุดที่ อ.เชียงของ เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ซึ่งทำให้การพัฒนาในด้านต่างๆ เข้ามาด้วย ทั้งด้านโลจิสติกส์ ด้านการท่องเที่ยวการค้าขายที่สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น นอกจากนี้สิ่งที่ต้องติดตามมาก็คือราคาของที่ดินใน อ.เชียงของ ก็อาจจะปรับตัวขึ้นไปด้วย
           
 ดรุณี เลาหะวีร์ รองกรรมการ ผู้จัดการฝ่ายบ้านจัดสรร สินธานีกรุ๊ป มองว่า ตลอดแนวเ้สนทางรภไฟกระทั้งสิ้นสุดที่ อ.เชียงของ คาดว่าที่ดินอาจจะมีราคาสูงขึ้นบ้างตามกระแส เพราะปัจจุบันที่ดินใน จ. เชียงราย ก็สูงขึ้นเนื่องจากมีการเก็งกำไรของนายทุนที่ซื้อเปลี่ยนมือต่อๆ กันหลังจากที่มีการะแสการพัฒนาเชียงราย
            ดรุณีบอกว่า การปั่นราคาที่ดินใน จ. เชียงราย เร่ิมขึ้นตั้งแต่การจัดตั้งสี่เหลี่ยรมเศรษฐกิจในปี 2553 ก็ได้มีการกว้านซื้อที่ดิน จากนั้นก็มีการขยับเป็นการเปิดประชาคมเศราฐกิจอาเวียน ทำให้ที่ดินมีราคาพุ่งสูงขึ้นจนน่าตกใจ โดยส่วนใหญราคาที่ดินที่พุ่งสูงขึ้นนั้นเกิดจากการเก็งกำไรขายต่อของนักลงทุนเอง ทำให้ที่ดินมีราคาูงเกินกว่าที่น่าจะเป็น ในส่วนของการก่อสร้างเส้นทางรภๆฟนั้น หากเข้ามาในพื้นที่จริงก็คาดว่าน่าจะมีการขยับขึ้นของราคาที่ดิน โดยเฉพะพื้นที่ซึ่งใกล้กับสถานที่หรือจุดจอด อาจจะขยับขึ้นอีกเล็กน้อย เพราะในปัจจุบันราคาที่ดินในเชียงรายถือว่าสูงพอสมควรอยู่แล้ว
           "การลงทุนซื้อที่ดินใน จ.เชียงราย ในตอนนี้ นักลงทุนยังมอง่ามีราคาสูง ประกอบกับปัจจุบันการลงทุนในเชียงรายยังไม่มากเท่าที่ควร แต่อย่งำรก็ตามหากมีอนาคตมีการพัฒนาฝังเมืองและการคมนาคมเพ่ิมข้น การลวทุนทั้งด้านอสังหาริมทรัพย์และด้านต่างๆ จะเพ่ิมขึ้นอย่างแน่นอนเมื่อถึงเวลานั้นเชียงรายจะเป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีความคึกคักทั้งด้านเศราฐฏิจและการลงทุน"
            อนุรัตน์ อินทร ประธานหอการต้าจ.เชียงราย ก็เห็นว่า เมื่อมีรภไฟเข้ามาในพื้นที่เชียงของ ก็จะทำให้ระบบโลจิสติกส์ดีขึ้นซึ่งราคาที่ดินก็จะขยับเพ่ิมขึ้นตามไปด้วย ดังนั้นราคาของที่ดินโดยเฉพาะพื้นที่ใกล้กับสภานีรถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย- ค่อนข้างที่จะแน่นอนแล้ว เพราะผ่านขั้นตอนต่างๆ มาได้ประมาณ 90%
             "หลังจากนี้่วนนี้เกี่ยวกับเรื่องผังเมือง ในพื้นที่เชยงของและเชียงรายจะต้องมีการปรับผังเมืองเพื่อรองรับการเข้ามาของรถไฟ ซึ่งจะต้องเริ่มการปรับผังเมือง เช่น การสร้างโกดังบริเวณใกล้กับสถานีรถไฟซึ่งหากไม่วางผังเมืองตั้งแต่ก่อนที่รถไฟจะเข้ามา ก็จะเกิดปัญหาตามมา เรื่องที่ 2 ที่ต้องปรับตัว คือเรื่องของการศึกษาของคนในพื้นที่ เพื่อให้สอดคล้องกับเขตเศรษบกิจพิเศษและเรื่องการต้าจะต้องเปลี่ยนแปลงใหม่เพื่อหาตลาดท่รองรับในเส้นทางของรถไฟที่ไปถึง เพื่อจะได้มีการลงทุนใหม่ๆ และเซฟค่าขนส่วลง สำหรับในส่วนของประชาชนในพื้นที่ก็คงจะต้องปรับตัวในเรื่องของวัฒนธรม เพราะในอนาคตคการเข้ามาในพ้นที่่ของนักลงทุนและนักท่องเที่ยวจะเพิ่มขึ้นคนในพื้นที่จึงต้องมีการปบตัวด้วยเพื่อให้สอดคล้องกับเศราฐกิจที่จะพัฒนาขึ้นไป" ประธานหอการค้า จ.เชียงรายมองภาพอนาคตในเวลาอันใกล้นี้...www.posttoday.com/biz/aec/news/464256
           
             
         
           
           
             

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...