ASEAN Connect Update

            "อเมซอน" รุกชิงเค้กอาเซียน
             ยักษ์ใหญ่อี-คอมเมิร์ซสหรัฐท้าชิงจีน ประเดิมบุกสิงคโปร์เป็นสรามทดสอบอาเซียน หวังปูทางปะทะเดือดอาลีบาบา-ลาซาด้า
              อเมซอน ยักษ์ อี-คอมเมิร์ซจากสหรัฐ เปิดบริการไพรม์นาว เป็นครั้งแรกในสิงคโปร์นับเป็นก้าวแรกในการชิงส่วนแบ่งตลาดผุ้บริโภคอาเซียน และเปิดฉากแข่งขันกับอาลีบาบา บริษัทอี-คอมเมิร์ซรายใหญ่จากจีนที่กำลังเร่งขยายธุรกิจในภุมิภาคผ่านลาซาด้าแพทตฟอร์มค้าปลีกออนไลน์ในเครืออาลีบาบาในอาเซียน
             ทั้งนี้ บริการไพรม์ นาว จะจัดส่งสินค้าทุกประเภทที่วางขายในอเมซอนอย่างรวดเร็ว โดยส่งสินค้าฟรีภายในเวลา 2 ชั่วโมง หากซื้อสินค้ามากว่า 40 ดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 981 บาท) และส่งด่วนภายใน 1 ชั่วโมง หากเสียค่าส่ง 9.99 ดอลลาร์ (ราว 245 บาท)
             นอกจากนี้ เฮรีโหลว ผุ้อำนวยการฝ่ายบริการอเมซอน ไพรม์นาว ในเอเชียแปซิฟิก เปิดเผยว่า อเมซอนยังจะเปิดให้ชาวสิงคโปร์ที่มไ่ได้เป็นสมาชิกไพรม์ ทดลองใช้บริการส่งเสนค้าดังกล่าวฟรีในช่วงเวลาจำกัดด้วยเช่นกัน
            แม้การเปิบริการไพรม์ในสิงคโปร์จะยังถือเป็นตลาดเล็ก ทวาประชากรส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลักและนิยมซื้อสินค้าออนไลน์จากต่างประเทศ ซึ่งจะช่วยอเมซอนในการดำเนินการดังกลาว หลังจากท่เริ่มรุกเข้าสู่เอเชียอย่างจริงจังในปีที่แลวด้วยการบุกตลาดอินเดีย
            "สิงคโปร์จะเป็นนามทดสอบ ผมจะให้เวลาอเมซอนอีก 2 ไตรมาส ในการเปิดบริการต่าๆ ในอาเวียนเร็วๆ นี้ อย่างน้อยก็ในเมืองใหญ่ของภุมิภาค" อเจย์ ซันเดอร์ รองประธานฝายกลยุทธ์ดิจิทัลของบริษัทที่รปึกษาธุรกิจฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน กล่าวพร้อมเสริมว่า ยอดขายสินค้าออนไลน์ใอาเซียน คาดว่าจะขยายตัวแตะ 7.1 หมือนล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว 2.36 ล้านล้านบาท) ภายในปี 2021 จาก 1.6 หมื่นล้านดอลลาร์ (ราว 5.32 แสนล้านบาท) ในปี 2016
             ด้านบลูมเบิร์กรายงานวา การรุกตลาดครั้งนี้จะทำให้การแข่งขันของธุรกิจค้าปลีกออนไลน์ในอาเซียนรุนแรงยิ่งขึ้น หลังอาลีบาบาลงทุนเพ่ิมในลาซาด้าถง 1,000 ล้านดอลลาร์ (ราว 3.3 หมื่นล้านบาท) เมื่อเดือน มิ.ย. และกำลังพิจารณาซื้อหุ้นในโทโกพีเดีย แพลตฟอร์มค้าปลีกออนไลน์ในอินโดนีเซีย
             เสี่ยวเฟิงหวัง นักวิเคราะห์จากบริษัทวิจัยฟอร์เรสเตอร์ เปิดเผยว่า อาลีบาบาและลาซาด้าจะยังมีความได้เปรียบเหมือน อเมซอน เหนื่องจากทำธุรกิจในภูมิภาคมา ยาวนานกว่า ใน 6 ประเทศอาเซียน ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย และเวียยดนาม ทำให้มีฐานลูกค้าและผุ้ขายของในพื้นที่ รวมถึงมีความพร้อมเรื่องระบบโลจิสติกส์
             แม้บรรดาธุรกิจอี-คอมเมิร์ซหวังชิงตลาดผุ้บริโภคอาเวียนที่มีประชากรกว่า 600 ล้านราย แต่จนถึงปัจจุบันก็ยังเผชิญอุปสรรคบางประการ เช่น ระเบียบการกำกับดูแลที่แตกต่างกันและซับซ้อน ภาษาท้องถ่ิน และความไม่พร้อมเรื่องโลจิสติกส์..www.posttoday.com/biz/aec/news/505690
            จับกระแส "อาเซียนคอนเน็กต์" ความหวังใหม่อุตสหกรรมรถยนต์โลก
            ก้าวเข้าสุ่ปีใหม่ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ แต่สิ่งที่บรรดาผุ้ผลิตรถยนต์ยังต้องประเมินสภานการณ์อย่างต่อเนื่องคือสภาพเศรษบกิจและตลาดรถยนต์ในยุโรป ที่เป็นตลาดสำคัญของโลก ซึ่งหลังจากประธานธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) ได้ประกาศความชัดเจนในการป้องกันสหภาพการเงินยุโปรแตก พร้อมทั้งรักษาระบบเงินตราสกุลเดียว และจะเพิ่มความเข้มงวดใด้านวินัยทางการเงินแก่ธนาคารต่างๆ เพื่อการสร้างสหภาพการเงินที่แท้จริง และการสร้างสหภาพเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งขึ้น เป็นสัญญาณที่ดีต่อสหภาพยุโรปในเวลานี้ว่ายงคงเดินหน้าต่อไปได้ ซึ่งมีผลโดยตรงต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ในยุโรปและของโลกด้วย
           
ส่วนประเทศจีนที่มีเศรษฐกิจใหญ่เป็ฯอันดับสองของโลก และเป็นตลาดยักษ์ใหญ่ที่สุดสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ก็ได้รับผลกระทบจากวิกฤตยุโรปเนื่องจากประเทศจีนมีการผลิตรถยนต์เพื่อส่งออกไปยุโรปจำนวนมาก จนตลาดยุโรปกลายเป็นตลาดส่งออกขนาดใหญ่ที่สุดของจีน ธนาคารเพื่อการพัฒนาเชียได้คาดการณ์แนวโน้มทางเศรษฐกิจของจีนที่อ่นแอลงจากผลกระทบของสหรัฐและยุโรป ทไำให้จากที่นักวิเคราะห์คาดว่าเศราฐฏิจจีนจะขยายตัว 8.1% ก็จะลดลงเหลือ 7.5%
             ตลาดเกิดใหม่ที่สำคัญของโลกั้งจีน อินเดีย ซึ่งผุ้ผลิตหลายค่ายต่างกระโจนเข้าไปลงทุน แต่ในช่วงปีนี้ตลาดดังกล่าวก็เกิดการชะลอตัวลงเล็กน้อย และจะชะลอตัวไปแบบนี้อีกระยะสั้นๆ ส่วนบราซิลหนึ่งในดาวรุ่งของกลุ่ม BRICs อุตสาหกรรมก็ประสบปัญหาการชะลอตัว ครดว่ายอดขายรถยนต์จะเติบดตที่ 1.6% ต่อปี ซึ่งถือว่าต่ำกว่าที่เคยคาดกันไว้่าจะเติบโต 2.0% ถือว่าตำ่เมื่อเที่ยวกับในช่วยปี 2553 ที่ตลาดบราซิลเป็นช่วงที่รุ่งเรืองมีการเติบโตถึง 7.5%
            การเติบโตด้านยอดขายรถยนต์ของตลาดโลกจึงพุ่งเป้าไปที่ทวีปเอเชียกลายเป็นตลาดรถยนต์ที่น่าจับตามอง เนื่องจากการเข้าสู่ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน และมีการเชื่อมโยงกันอย่างเต็มรูปแบบที่หลายฝ่ายยกนิ้วให้เป็น "อาเซียนคอนเน็กต์"...
              ผุ้ผลิตรถยนต์ในหลายประเทศก็มีแนวโน้มจะนำเข้าชิ้นสวนรถนยต์จากอาเซียนเพิ่มขึ้น เนื่องจากข้อตกลง FTAT ทำให้อัตราภาษีลดลงจาก 10% เหลือเพียง 5% และจะลดลงเรื่อยๆ จนอัตราภาษีจะกลายเป็น 0% ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ล่าสุด ผู้ผลิตรถยนต์อินเดียได้เพิ่มการนำเข้าชิ้นส่วนจากอาเซียนเพื่อผลประโยชน์ทางธุรกิจ ด้วยราคาชิ้นส่วนรถยนต์ที่ต่ำกว่าทำให้ชิ้นส่วนรถยนต์ที่นำเข้าจากอาเวียนมีสัดส่วนที่ 30% และมีแนวโน้มที่จะนำเข้าชิ้นสวนจากอาเซียนมากขึ้น
              อย่างำรก็ตาม เว็บไซต์ WardsAuto ประเมินว่า แม้จะมีวิกฤตเกิดขึ้นต่อุตสาหกรรมยายนต์ขึ้นในหลายพื้นที่ ทั่วดลก แต่ยอดขายรถยนต์ทั่วโลกในปี 2555 เพ่ิมขึ้น 6.8% หรือจำนวน 83.1 ล้านคัน และในปี 2556 จะเพิ่มขึ้นอีก 4.7% เป็น 87.0 ล้านคัน
             กระแสความหวังใหม่ของุอตสาหกรรมรถนยต์ดลกที่ทุ่มน้ำหนักไปที่ "อาเซียน" จึงน่าจับตามองอย่างยิ่ง...www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1357183782
            โซเซียลมมีเดีย เปิดหว้างแฟชั่นอาเซียน
            แฟชั่นมีส่นสำคัญที่ช่วยขับเคลื่อนเศราฐกิจของประเทศ ปีที่ผ่านมาไทยส่งออกในอุตสาหกรรมแฟชั่นประมาณ 6 แสนล้านบาท และมีเป้าหมายจะยกระดับการส่งออกไปถึง 1 ล้านล้านบาท ในปี 2564 พร้อมก้าวสุ่การเป็นศูนย์กลางแฟชี่นอันดับ 1 อาเซึยน ซึ่งดจทย์นี้ถือเป้นความท้าทายที่รัฐบาลและผุ้ประกอบการต้องร่วมมือกันพัฒนาในบรรลุเป้าหมายเพื่อยกระดับวงการแฟชั่นไทยให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
             ปัจจุบันอุตสาหกรรมแฟชี่นนอกจากจะสร้างรายได้ให้ประเทศแล้ว ยังกลายเป็นจุดเชื่อมด้านความร่วมมือและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับต่งประเทศด้ายเชนกัน สายการบินแอร์เอเชียได้จัดโครงการ AirAsia Runway Ready Designer Search 2017 ในงาน KL Fashion week 2018ที่ประเทศมาเลเซีย เพื่อเป็นเวทีให้เยาวชนและดไซเนอร์หน้าใหม่ในภุมิภาคอาเวียนได้มีโอกาสแสดงฝีมือ ความคิดสร้างสรรค์ฺในเวทีระดับโลก ซึ่งเฟ้นหาดีไซเหนือร์จาก 10 ประเทศอาเวียนเข้าร่วมประกอด โดยมีโจทญืให้ออกแบบผลงาน Ready to Wear หรือเสื้อผ้าสำหรับพ้อมสวมใส่ได้จริงในปชีวิตประจำวัน
            ไอรีน ดอมาร์ ประธารเจ้าหน้าที่บริหาร สายการบินแอร์เอเชีย มาเลเซียน กล่าวว่า ยอมรับว่าผลงานของนักออกแบบรุ่นใหม่มีความสวยงาม เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์ การที่นักออกแบบมีโอากสเข้าร่วมในเวทีระดับนานาชาติจะยิ่งทำให้เกิดการเรียนรู้ จะสามารถนำมาปรับใช้และเป็นแรงบันดาลใจในการผลิตผลงานในวงการแฟชั่นไ้ และในอนาคตจะเชิญชวยดีไซเนอร์จากทุกประเทศที่เป็นจุดหมายปลายทางของแอร์เอเชีย เช่น อินเดีย จีน เกาหลีไใต้ และออสเตรเลีย เข้าร่วมการแข่งขันด้วย
           รัชชานท์ วงศาสนธ์ ดีไซเนอร์อิสระ ตัวแทนจากประเทศไทย เจ้าของผลงานการออกแบบธีม "วัดโพธิ์" กล่วว่ ปัจจุบันโลกโซเชียลมีเดียวมีขยายตัว ทำให้การรับรู้แฟชั่นและการประยุกต์ใช้มีมากขึ้นสอดคล้องกันความต้องการแสดงตัวตนก็มีมาขึ้นตามไปด้วย ทำให้การแข่งขันในอุตสาหกรรมแฟชั่นอาเซียนมีความหลาหลายและแข่งกันด้วยคุณภาพมากกว่าการผลิตจำนวนมาก ดังนั้นในการออกแบบนอกจากจะต้องดูเทรนด์แล้ว ยังต้องสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มคนยุใหม่ได้ด้วย
          อีกส่วนที่ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมแฟชี่นให้แข่งขันได้ คือ การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ เพราะส่วนตัวเชื่อว่าเมื่อรัฐบาลมีเป้าหมายและผลักดันอย่างเต็มที่จะช่วยให้การแข่งขันของอุตสาหกรรมแฟชั่นไทยอยู่ในอันดับต้นๆ ของเวทีระดับอาเวยนและนานาชาติ ทั้งในเรื่องของมุบค่าตลาดและคุณภาพ
          ขณะที่ คัมภีร์ ลักษโณศุรางค์ อีกหนึ่งตัวแทนจากประเทศไทย เจ้าของผลงาน Southern Batik Thailand บอกว่า ปัจจุบันคนทั่วไปเข้าถึงแฟชั่นได้ง่ายขึ้นผ่านโซเชียลมีเดีย ซึ่งถือเป็นเรื่องดี ทำให้ผลงานของนักออกแบบมีหลากหลายช่องทางในการนำเสนอ ส่งผลให้เกิดการแข่งขันที่ดุเดือดขึ้นดังนั้นการจะอยู่รอดในวงการแฟชี่นนอกจากจะต้องยึดความเป็นตัวของตัวเองแล้วก็จำเป็นต้องเากะกระแสโลกให้ทัน รู้ความเคลื่อนไหวและความเปลี่ยนแปลงของเทรนด์โลก
          ด้าน แอนดรู ทัน ผู้ก่อตั้ง KL Fashion Week Ready to Wear กล่าวว่า ปีนี้การแข่งขันมีความท้าทายมากขึ้น แต่ก็ส่งผลดีต่อารพัฒนาววงการแฟชีนของภูมิภาคอาเซียน ขณะเดียวกันยังเป้นการเปิดโอกาสให้ดีไซเนอร์รุ่นใหม่ได้แสดงศักยภาพในเวทีนานาชาติ และได้ทำงานร่วมกับผุ้เชียวชาญในวงการแฟชั่นwww.posttoday.com/biz/aec/news/512510
           "สโตนเฮด" ยึดฐานผลิตกัมพุชา เขย่าตลาดเบียร์ไทย สองแสนล้าน.
            อีกหนึ่งฑุรกิจคนไทยรุ่นแใหม่ ที่ข้องใจในตลาอเครืองดืมแอลกอฮอร์ผลิตภัฒฑ์เบียร์ที่จำกัดแค่ผุ้เล่นรายเดิมมาเนิ่นนาน พร้อมแปรความสงสัยมาสุ่การศึกษาเ พื่อลุยตลาดเก่าที่แตกเช็กเมนต์ใหม่ คือ กลุ่มคาฟต์เพบียร์ พร้อมใช้สิทธิประดยชนืการลงทุนในประเทศเพื่อบ้านมาเป็นฐาานการผลิต
            ปฎิธาน ตงศิริ กรรมการผุ้จัดการ บริษัท บ้านนอเข้ากรุง ผุ้แทนจำหน่ายผลิตภัฒฑดราฟต์เพบียร์แบรนด์สโตนเฮด และรำซิ่ง กล่าวว่ เร่ิมต้นฑุรกิจดราฟต์เพบียร์เมื่อ 2 ปีก่อน หลังจากเก็บเกี่ยวประสบการณ์ในแวดวงธุรกิจทั้งส่วนตัว และบทบาทผุ้บริหารธุรกิจอาหารว่า (สแน็ก) มาระยะหนึ่งกระทั่งเกิดความสนใจตลาดผลติภัณฑ์เบียร์ในบ้านเราทีพบว่าถุกจำกัดอการขยายผุ้ประกอบการธุรกิจจากกฎหมายเดิมที่มีอยู่
           
จากนั้นจึงหันมาศึกาาธุรกิจดังกล่าวอย่งจริงจัง ใช้งบลงทุนเร่ิมต้นราว 1 แสนบาท ทดลองผลิตภัฒฑ์ให้เข้าใจกระบวนการผลติขั้นตอนต่างๆ ไปจนถึงการนำสินค้าเข้าตลาดในร้านช่องทางเฉพาะกลุ่มที่สนใจบริโภคเบีย์ดราฟต์ ที่จุดประกายให้กับตัวเขาเองว่ หากจะทำให้ตลาดผลิตภัฒฑ์เบียร์คารฟต์เป็นที่รู้จักก็ต้องทำให้ถุกกฎหมาย และเื่อกฎหมายไม่เอื้ออำนวยให้ผุ้ประกอบการฑุรกิจเบีร์รายใหม่เกิดได้ ก็ต้องย้ายฐานการผลิตไปยังต่างปะเทศ เพื่อนำสินค้าเข้ามาทำตลาดในไทย
            โดยในปี 2558  จึงได้นำธุรกิจไปสร้างฐานการผลติดเบีนร์คารฟต์ ในเกาะกง ประเทศกัมพุชา ใช้ระยะเวลาราว 6 เดือนเซตอัพธุรกิจ ด้วยงบลงทุนกว่า 20 ล้านบาท พร้อมพัฒนาและสร้างแบรนด์ผลิตภัฒฑ์ฺคราฟต์เบียร์ไทยขึ้นมา ภายใต้ ชื่อ สโตนเฮด เร่ิมต้นทำตลาอดตัง่งแต่ในวันแรกผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์่..
            "คราฟต์เบียร์ คือ ผูผลติเบียร์รายเล็กที่ผลติดสินค้าออกมาทำตลาดไม่เกิดน 6 ล้านบาห์เาล/ปี ความพิเศษ คือ วัตถุดิบ ส่วนผสมที่ใช้เพื่อพัฒนารสชาติเดบียร์ให้แตกต่างไปจากที่มีอยุ่เดิมในตลาด ไม่ใช่เป็นการทำเบียร์ให้ถูกลง ปัจจุบันคาดว่มีเบียร์คราฟต์ในไทยไม่ต่ำหว่าง 30 ยี่ป้อ และยังมีการรวบรวมผุ้ทำเบียร์คราฟต์ขึ้นในไทยเป็นกลุ่มขบวนการเสรีเบียร์ เืพ่อให้ความรู้ตลาด สร้างให้เกิดการเปลี่ยนแปลทางสังคมด้วย" ปณิธาน กล่าว...www.posttoday.com/biz/aec/news/499213
           

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)