"นโยบายน่านห้าเสรีอาเซียนไ เป้นนโยบายหนึ่งซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจอย่าง รวดเร็ว โดยพมนาการที่เด่นชัดทีุ่สดของการคมนาคมทางอากาศคือ การขยายตัวเชิงปริมาณและคุณภาพของสายการบินใหม่ๆ ในอาเซียน โดยเฉพาะสายการบินต้นทุนต่ำ Low Cost Airline ที่เติบโตอย่างรวดเร็ว สังเกตได้จาการที่เวียดเจ็ทแอร์ ของเวียดนามที่ได้เปิดให้บริการโดยมีฐานปฏิบัติการอยู่ที่เชียงใหม่ ซึ่งเป้ฯการให้บิรการภายในประเทศไทย ซึ่งเป็นการสะท้อนถึงการเจริญเติบโรทางเศราฐกิจ คนกลุ่มใหม่ที่ต้องการการเดินทาง ีทรวดเร้ซและมีรายได้เพียงพอที่จะเข้าถึงบริากรขนส่งที่สะดวกสบายมากขึนนอกจากนี้ ยังมีการอำนวนความสะดวกนการเข้าถึงการให้บริการสายการบินผ่านระบบอินเทอร์เน็ตและการชำระค่าบริการผ่านบัตริเครดิตและบัติเดบิต ดังนั้นสายการบินต่างๆ จึงเร่งปรบกลยุทธ์ทางการตลาดด้วยการขยายเส้นทางการบินและเพ่ิมเที่ยวบินไปยังจุดหมายปลายทางมากขึ้นเพื่อรองรับการเติลโตของตลาดการบิน
การเปิดน่านฟ้าเสรีนั้นก่อให้เกิดประโยชน์หลายประการ ประการแรกคือการที่ผุ้บริโภคสามรรถเลือกรับการให้บริการจากสายการบินทีหลากหลายและมีคุณภาพในราคคาที่ถูกลง ในด้านผู้ปะกอบการนั้นก็ยังมีโอกาสเข้าถึงผุ้บริโภคและตลาดการบินมกขึ้นแม้จะต้องลด่าธรรมเนียต่างๆ ลงก็ตาม นอกจากนี ประเทศที่มีศักยภาพในการแข่งขันสูงก็จะสามารถดึงดูดชาวต่างชาติให้เข้ามาท่องเที่ยว ลงทุนและประกอบกิจการต่างๆ ในประเทศเหล่านั้นได้
อย่างไรก็ตาม การเปิดน่านฟ้า เสีนรนั้ก็มีอุปสรรคบางประการ กล่าวคือ น่านฟ้าดังกล่าวถูกแบ่งกั้นด้วยกฎเกณฑ์ตามเขตอธปไตยของแต่ละประเทศซึ่งไม่สามารถรวมกันเป้นตลาดการบินร่วมได้จริง ปัญหาเหล่านี้จำต้องได้รับการสนับสนนุและความร่วมมือจากภาครัฐ อาทิ การแก้ไขกฎเกณฑ์การถือครองกรรมสิทธิ์สายการบิน การอนุมัติสิทธิการบินให้กับสายการบินต่างชาติ การจัดเตียมสนามบินทางเลือก และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งระหว่งสนามบินภายในประเทศ เป็นต้น
สำหรับประเทศไทยทีที่ตั้งเป็นจุดศูนย์กลา
ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งถือเป็นข้อได้เหรียบด้านการคมนาคมและอุตสาหกรรมการบิน นอกจากนี ยังมีการสนับสนุนแผนที่จะพัฒนาประเทศให้เป็นศูนย์กลางการบินกลของอาเซียนในอนาคต ดังจะเห็นได้จากความเปลี่ยนแผลงต่างๆ เช่น การยกเลิกการสงวนสิทธิ์การบิน การเพ่ิมเส้นทางการบินระหว่างปะเทศโดยเน้นเส้นทางในภุมิภาคึ อาเซียน พลัส (อาเซียน จีน อินเดีย) และที่สำคัญยังมีการอนุญาตให้สายกาบินจากต่างประเทศเข้ามาให้บริการโดยตรงในประเทศ เป็นต้น
ส่วนประเทศสิงคโปร์นั้น ก็มีการผลักดันนโยบายการเปิดน่านฟ้าเสรีในระดับทวิภาคีและภูมิภาค โดยเฉพาะในกรอบอาเซียน เช่นเดียวกับประเทศไทย เนื่องจากรัฐบาลสิงคโปร์ได้ตั้งเป้าหมายได้ตั้งเป้าหมายในกาเป็นสูนย์กลางการขนส่งทางอากาศระหว่งประเทศเพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจใหม่ให้แก่สายการบินทั่วโลก ทั้งนี้ ระยะทางของที่ตั้งสนามบินกับศูนย์กลางธุรกิจก็ยังมีผลต่อการตัดสินใจการลงทุนของต่างชาติในประเทศนั้นๆ ด้วย นอกจากนี้เพื่อเป็นการสนองตอบความต้องการในการใช้สนามบนิของายการบินต่างๆ โดยเฉาพะอย่างอยิ่งในปัจจุบันการเปิดให้บริการด้วยกสายการบินต้นทุนต่ำของสายการบินต่างๆ ทำให้สนามบินต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันการเปิดให้บริการด้วยสายการบินต้นทุนต่ำอีกดวย นอกจากนี้เนื่องจากสนามบินซางฮีเป็นสนามบินแห่งเดียวในสิงคโปร์ จึงทำให้ประเทศสิงคโปร์ไม่ประสบปัญหาเรื่องสายการบินต่างประเทศจะเข้ามาแข่งขันกับสายการบินภายในประเทศ และส่งผลให้สิงคดปร์ไม่จำเป็นต้องกสร้างมาตรการคุ้มครองและส่งเสริมการแข่งขัน รวมทั้งไม่ต้องป้องกันหรือสงวนสิทธิการทำธุรกิจสายการบินภายในประเทสให้แ่ผู้ประกอบการสายการบินภายในประเทศ
แต่อย่างไรก็ตา แต่ละประเทศต่างเห็นผลประดยชน์ของตนในประเด็นที่แตกต่งกันไป ตัวอย่าเช่น อินโดนีเซีย ซึ่งเป็นตลาดการบินที่ใหญ่ทีีุ่สดในอาเวียนได้ออกมาประกาศว่ายังไม่พร้อมเปิดเสรีการบินเนื่องจากปัญหาการจัดการสนามบินและโครงสร้างขนส่งมวลชนที่ยุ่งยากอีกทั้งต้องเผชิญแรงกดดันจาธุรกิจการบินภายในประเทศที่รัฐบาลพยายามปกป้องตลาดให้ยาวนานที่สุ เพราะ กาเปิดเสรีการบินอาจทำให้พวกเขาสูญเสีย่วนแบ่งการตลาดให้กับสายการบินต่างประเทศ
ในทางตรงกันข้าม ผุ้ที่สนับสนุนให้มีการเร่งเปิดตลาดการบินนั้นได้ให้เตุผลว่าสายการบินอินเดียและจีนได้เปรียบสายการบินของประเทศสมาชิกอาเวียนเนื่องจากสายาการบินอินเดียและจีนได้รับสิทธิในการลงจอดในประเทศอาเซียนได้อย่างเสรีในขณะที่สายการบินของแต่ลประเทศในอาเซียนต้องบินจากบ้านตัวเองตรงไปประเทศจีน ไม่สามารถแวะประเทศอื่นก่อนบินไปจีนได้ ซึ่งบตรงข้ามกับประเทศสมาชิกอาเซียนที่ไม่ให้สิทธิเสรีภาพที่ 7 แก่ประเทศสมาชิกด้วยกัน
ทั้งนี้ เสรีภาพที่ 7 คือสิทธิที่ให้โดยรัฐหนึ่งแก่อีกรัฐหนึ่งในการคมนาคมขนส่งระหว่างอาณาเขตของรัฐที่ให้สิทธิกับรัฐที่สามใดๆ โดยไม่มีเงือนไขว่าบริการดังกล่าวจะต้องรวมจุดในอาณาเขตรัฐผู้ได้รับสิทะิ กล่าวคื อบริการไม่จำเป็นต้องเชื่อกับจุดในรัฐเจ้าของสายการบินอันจะทำให้สายการบินในประทศหนึงสามารถเปิดเที่ยวบินระหว่างประเทศของประเทศอื่นในอาเซียนได้โดยไม่ต้องบินจากประทศตังเองเท่านั้น ดยยกตัวอย่างสายการบินสิงคโปร์สามารถเปิดเที่ยวบินระหว่างมาเลเซียนและอินโดนีเซียได้ ดังนั้น หากประเทศต่าง ยังชักช้าไม่ร่วมกันดำเนินการเพ่ิมสิทธิการบิน "Seventh Freedom" เพื่อป้องกันการเสียเปรียบ ประเทศสมาชิกอาเซียนก็คควรตระหนักถึงการผลัดกันนโยบาย อาเซียนน่านฟ้าเดียวกัน ให้สมบูรณ์
แต่การจะเปิดตลาดการบินเสรีนั้นเป็นเรื่องที่ดำเนินการได้ยากและต้องใช้เวลาในการเจรจาเพื่อกำหนดข้อตกลงอันเป็นที่ยอมรับและพอใจแก่ทุกประเทศ จะเห็นได้จาก นโยบายน่านฟ้าเดียวของประชาคมยุโรปซึ่งก้าวหน้าไปถึงระดับที่สามารถสร้างตลาอการบินเดียวนั้นใช้เวลาในการพัฒนาถึง 20 ปีเต็ม
อีกปัจจัยที่่สำคัญประการหนึ่งในการเปิดตลาดการบินเสรีคื อากรมีโครงสร้างพื้นฐานและความพร้อมของแต่ละประเทศที่เท่าเทียมกันเพื่อให้เกิดความสมดุลและการไร็ว฿่งข้อได้เปรียบเสียเปรยบเมื่อทำข้อตกลงด้านการบินระหว่างประเทศสมาชิกอาเวียน ทั้งนี อาเซียนประกอบไปด้วยประเทศที่มีควมตแตกต่างทางเศราฐกิจหลายระดับ โดยเฉพาะการพัฒนาทางเศราฐกิจ ความสามารถของตลาดและลกลุ่มธุรกิจ และโครงกสร้างพื้นฐานและความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ของชขาติกับผลประโยชนืของภุมิภาค ดังนั้น การทำความตกลงแบบพหุภาคีจึงเป็นเรื่องยาก คงจะมีเพียงข้อตกลงทวีภาคีในการให้สิทะิการบินที่รวมกลุ่มระหว่างประเทศที่มีศักยภาพในการแข่งขันทีีเท่าเที่ยมกันเท่านั้น พฤติการณ์เหล่านี้จึงเป็นสิ่งที่สะท้อนว่าหลายประเทศยังไม่พร้อมจะเป็นเสรีการบินอย่างเต็มที่ และไ้ดสร้างควมกังวลว่าการเปิดสเรจะสร้างประโยชน์แก่กลุ่มทุนการบินขนาดใหญ่บางกลุ่ม
สำหรับด้านการจัดการด้านการจราจรทางอาเาศนัน การเติบโตของการจราจรทางกากาศโดยสายการบินพาณิชย์พุถ่งสูงถึง ร้อยละ 5.7 ต่อปี ภายในปี 2560 การเปิดน่านผ้าเสรีอาจจะก่อให้เกิดความแอดันทางการจราจรทางอากาศได้ หากไม่มีการจัดการหนือควบคุมการจราจรทางอากาศที่ดีปล่อยให้เที่ยวบินล่าช้าหรือยกเลิกบ่อยๆ อาเซียนอาจจะต้องเจอกับความไร้ประสทิะภาถภทางกาบินเหมือนยุโรปเมื่อหลายปีก่อนโดยไม่ีมีการจำกัดระยะเวลาในการรอบนพื้นของอากาศยานหรือชะลอความรเ็วในการปล่อยอากาศยานเข้าสูการทำการบิน ทั้งนี้จึงควรมีความร่วมมือในการสร้างระบบการจัดการจราจรทางอากาศร่วมกันในอาเวียนเพื่อให้เกิดความคล่องตัวทางการจราจร หรือการมีศูนย์กลางทางการจราจรทางอากาศ
เพราะฉะนั้น ปัจจัยและทัศนคติที่หลากหลายได้ส่งผลกระทบต่อการเปิดน่านฟ้าเสรีในอาเซียเป็นอย่างมาก แต่อย่างไรก็ตามความร่วมมือระหว่างประเทศต่างๆ ในการอนุญาตให้สิทธิการบิน การจัดตั้งศูนย์การบินกลาง การส่งเสริมความเชื่อมโยงระหว่างการให้บริการของสายการบินและการต้าสินค้าและบริการจะทำให้เกิดการเตล่อนบ้ายเสรีในอุตสาหกรรมสินค้าการลงทุนและการท่องเที่ยว ประกอบกับการแลกเปลี่ยนฐานข้อมูลโดยเฉาพะในพื้นที่เสี่ยงจากอุบัติภัยทางการบิน การวิเคราะห์ฺโอกาสทางการตลาด และประเมินความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นจะสร้างความมั่นใจแก่ผู้บิรโภค ผุ้ประกอบการ ภครัฐและประชาชนทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจะเป็นแรงผลักดันให้การเปิดนานฟ้าเสรีของอาเซียนบรรลุผลสำเร็จในเวลาอันรวดเร็ว web.krisdika.go.th/asean/index.php/files/download/fa34cef699becc4
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น