ASEAN : Airline Bussiness

          อนาคตและความท้าทายของธุรกิจการบินในน่านฟ้าอาเซียน
          ภายใต้การบูรณาการของประชาคมอาเซียน หนึ่งในข้อตกลงที่ร้างความเปลี่ยนแปลง     ทางเศราฐกิจอย่างรวดเร็วให้กับภุมิภาค ก่อนการเกิดขึ้นของประชาคมเศราฐกิจอาเซียน นั้นก็คือ "นโยบายนานฟ้าเสรี" ซึ่งทำหใ้สายการบินต่างๆ ในภูมภาคตื่นตัวกับผลประโยชน์ที่จะได้รับ หากความร่งมมือดังกล่าวทำให้น่านฟ้าที่ถูกแบ่งกั้นด้วยกฎเกณฑ์ตามเขตอธิปไตยของแต่ละประเทสสามารถรวมกันเป็นตลาดการบินร่วมได้จริง
          พัฒนาการที่เด่นชัดที่สุด คือ การขยายตัวเชิงปริมาณและคุณภาพของสายการบินใหม่ๆ ในอาเซียนโดยเฉพาะสายการบินต้นทุนต่ำที่เติบโตอย่างรวดเร็วในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็น สายการบินนกแอร์ของไทย ไทเกอร์ แอร์เวย์ของสิงคโปร์ เซบู แปซิฟิกของฟิลิปปินส์ ไลอ้อนแอร์ของอินโดนีเซียเวียดเจ็ทแอร์ของเวียดนาม ลาวเซ็นทรับแอร์ไลน์ สายการบินที่เอกขชนถือหุ้นทั้งหมดแห่งแรกของลาวรวมไปถึง โกลเด้น เมียนมาร์ แอร์ไลน์ สายการบินต้นทุนตำน้องใหม่ที่เพ่ิงก่อตั้งเมื่อปี 2555
           การเติบโตของสายการบินต้นทุนต่ำ สอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงสำคัญในภูมิภาค ศูนย์การบินนานาชาติ CAPA รายงานว่า ตลาดสายการบินต้นทุนต่ำในอาเซียนเติบโตอย่างก้าวกระโด ครองส่วนแบ่งที่นั่งกว่าร้อยละ 50 ของเที่ยบินทั้งหมดในปีที่ผ่านมา คิดเป็นส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 30 และมี่ผุ้ใช้บริการกว่า 24 ล้านคน
           ปรากฎการณ์นี้สะท้อนการเติบโตของคนกลุ่มหม่ที่ต้องการการเดินทงที่รวดเร็วและมีรายได้เพียงพอจะเข้าถึงบริการขนส่งที่สะดวกสบายมากขึ้น ทั้งยังสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตและชำระค่าบริการร้อยละ 30 และมีผุ้ใช้บิการกว่า 24 ล้านคน
           ปรากฎการณ์นี้สะท้อนการเติบโตของคนกลุ่มใหม่ที่ต้องการการเดินทางที่รวดเร็วและมีรายไ้พียงพอจะเข้ถงบริการขนส่งที่สะดวกสบายมากขึ้น ทั้งยังสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตและชำระค่าบริการผ่านบัตรเครดิตและบัติเดบิต
            ขณะที่ศูนย์วิจัยกสิกรไทยเป็นเผยว่าจำนวนเครื่องบินของสายการบินในอาเวียนเพ่ิมขึ้นร้อยละ 20-30 ขณะที่ จำนวนเที่ยวบินเพ่ิมขึ้นร้อยละ 15 จากปีก่อน ตัวเลขนี้ชี้ว่า สายการบินต่างๆ ได้เร่งปรับกลยุทธ์ทางการตลาดด้วยการขยายเส้นทางการบินและเพ่ิมความถี่ของเที่ยวบินไปยังปลายทงที่ค่อนข้างคุ้มทุน เพื่อรองรับการเติบโตของตลาดการบิน ที่เปิดกวางต่อการเคลื่อนที่ของผุ้คนและการขนส่งสินค้าทางอากาศ
            ไทย มีข้อได้เปรียบด้านทำเลที่ต้งและอุตสาหกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน มีแผนจะพัฒนาประเทศให้เป็นศูนย์กลางการบินขงอาเวียนในอนาคต อันเห้นได้จากความเปลี่ยนแปลงต่างๆ เช่น การยกเลิกการสงวนสิทธิ์การบิน การเพ่ิมเส้นทางการบินระหว่างประเทศ และมที่สำคัญ ได้ก่อตั้งสายการบินไทยสมายล์ ที่เน้นเส้นทางในภูมิภาค ASEAN Plus และมุ่งเป้ากลุ่มลูกค้าที่เชื่อมต่อเที่ยวบินจากการบินไทย และกลุ่มลูกค้ารายได้ปานกลางที่ต้องการความหรูหราคล้ายคลึงกับสายการบินระดับพรีเมี่ยมในราคาที่ต่ำกว่า
            การเติบโตเหล่านี้จำต้องได้รับการสนับสนุนอย่างมากจากภาครัฐ ทั้งด้วยการแก้ไขกฎเกณฑ์การถือครองกรรมสิทธิ์สายการบิน การอนุมัติสิทธิการบินให้กับสายการบินต่างชาติ การจัดเตรียมสนามบินทางเลือก การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนสงระหว่งสนามบินภยในประเทศ ฯลฯ อย่างไรก็ดี ภาพความสำเร็จและโอกาศย่อมมาพร้อมกับความท้าทายอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
           การเปิดเสรีการบินยังมีข้อจำกัดอยู่มาก เมื่อแต่ละชาติเห็นผลประโยชน์ของตนในประเด็นที่แตกต่างกันไป ตัวอย่างดช่น อินโดนีเซีย ตลาดการบินที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน มีออกมาประกาศว่ายังไม่พร้อมเปิดเสรีการบิน ด้วยปัญหาการจัดการสนามบินและโครงกสร้างขนส่งมลวชนที่ยุ่งยาก ทั้งต้องเผชิญแรงกดดันจากธุรกิจการบินในประเทศที่พยายามให้รัฐบาลปกป้องตลาดให้ยาวนานที่สุด เพราะมาอง่า การเปิดเสรีการบินอาจทำให้พวกเขาสูญเสียส่วนแบ่งการตลาดให้กับสายการบินต่างประเทศ
         
นอกจากนี้ ระดับการให้สิทธิการบินในข้อตกลงทวิภาคี ระดับการพัฒนาทางเสณาฐกิจ ความสามารถทางการตลาดและกลุ่มะุรกิจ และโครงร้างพื้ฐานของอุตสาหกรรมการบินที่แตกต่างกันอย่างมากสะท้อนว่า หลายประเทศยังไม่พ้ร้อมจะเปิดเสรีการบินอย่างเต็มที่ และสร้างความกังวลว่าการเปิดเสรีจะสร้างประดยชน์แก่กลุ่มทุนการบินขยาดใหญ่บางกลุ่ม ซึ่งทำให้การเจรจาเรื่องดังกล่าวไม่มีความคืบหน้าเท่าที่ควร
            อย่างไรก็ดี กลุ่มทุนการบินขนาดใหญ่เหล่านี้มีบทบาทสำคัญต่อการเปิดเสรีการบิน เพราะหากพวกเขามั่นใจว่ากรเปิดเสรีจะสร้างประโยชน์มากกว่าทคาดไว้ ก็มีแนวโน้มจะเกิดแรงผลักดับไปยังการกำหนดนโยบายของภาครัฐ นอกจากนี้ การเติบโตของธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำยังช่วยเร่งการเปิดตลาดบินร่วมให้เป้นจริงได้มากขึ้น โดยเฉพาะเมื่อกลุ่มทุนการบินขยาดใหญ่เร่ิมเห็นทิศของตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป และหันมตั้งสรายการบินทางเลือที่มีค้นทุนต่ำกว่า หรือเข้าถือหุ้นในสายการบินต้นทุนต่ำสัญชาติตนเสียเอง
              การเปิดเสรีของน่านฟ้าอาเซียนกำลังเกิดขึ้นพร้อมๆ กับความท้าทายทางเศราฐกจิ และความขัดแย้งระหว่าผลประโยชน์ของชาติกับพผลประดยชน์ของภูมิภาค ฉะนั้น อักหนทางหนึ่งในการก้าวข้ามขีดจำกัดที่มีอยู่ก็คือ การเน้นย้ำให้แต่ละประเทศตระหนักถึงความสอดคล้องระหว่างผลประโยชน์ของชาติและผลประโยชน์ของภูมิภาค ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในเร้วัน เมื่อพิจารณาถึงข้อเท็จจริงที่ว่าข้อจำกัดด้านการบินระหว่างชาติอาเวียนเอง จะก่อให้เกิดควาเมสียเปรียบ เมื่อทำข้อตกลงด้านการบินระหว่างอาเซียนกับประเทศนอกภูมิภาค อย่างเช่นที่เกิดขึ้นกับข้อตกลงการขนส่งทางอากาศระหว่างอาเวียนกับจีนที่ทำให้สายการบินจีนได้รับสิทธิการบินไปยังประเทศอาเซียนต่างๆ ในขณะที่สายการบินประเทศอาเซียนยังประสบปัญหาเรื่องสิทธิการบินไปยังประเทศของกันและกัน เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางไปยังจีน www.bangkokbiznews.com/blog/detail/553708
          ไทยกับการเป็นศุนย์กลางธุรกิจการบินอาเซียน มีการศึกษาภาพรวมธุรกิจการบินไทยในปี 2556-2558 ว่ามีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากปัจจัยที่กำลังจะก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมเศราฐกิจอาเวียน และจากการขยายตัวของธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ ทั้งในประเทศและในภูมิภาคเอเชียแผซิฟิก โดย ศูย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่าในปี 2556 จะมีจำนวนเที่ยวบินมาทำการบินผ่านท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอกาศยานดอนเมือง ซึ่งเป็นท่าอากาศยานหลักและร่องของประเทศ รวมทั้งสิ้น 440,178 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 16 เมื่อเที่ยบกับยปีที่ผท่านมา
          นอกจากนี้ยังมีตัวเลขจากการพยากรณืทางการ ตลาอโลก หรือโกลบอ มาร์เก็ต ผอร์คาสต์ ของบริษัทผลิตอากาศยานค่ายยุโรประบุว่า ในอีก 20 ปีข้างหน้า ( พ.ศ. 2556-2575) อัตราการเดินทางทางกาอากาศจะเติบโตขึ้นถึงร้อยละ 4.7 ต่อปี โดยอากาศยานที่มีในปัจจุบันประมาณ 17.740 ลำ ทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นเป็นเกือบ 36,560 ลำ ภายในปี 2575 ซึ่งภายในปีดังกล่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกจะมีอัตราการเดินทางทางอากศเพ่ิม สูงขึ้นแซงหน้าภูมิภาคยุโรปและอเมิรกาเหนือ
           โดยที่ปัจจุบันการเดินทางทางอากาศเฉบี่ยทั่วโลกที่เพ่ิมสูงขึ้นร้อยละ 5.5 ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกมีความต้องการอากาศยานโดยสารใหม่สุงถึงร้อยละ 36 ตามมาด้วยยุดรป ร้อยละ 20 และอเมริการเหนือ ร้อยละ 19
            สำหรับ ภูมิภาคอาเซียนนั้นกระแสการตื่นตัวรับการก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ก่อให้เกิดกิจกรรมต่างๆ มากมาย ทั้งการต้าการลงทุน และการท่องเที่ยว ส่งผลให้เกิดความเติบโตทางเศรษฐฏิจ รวมทั้งอำนาจซื้อที่เพ่ิมสงขึ้นของประชากรในภูมิภาค ก่อให้เกิดควาเมป็นเมืองตามมา ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่งภูมิภาค สงผลให้เกิดการเดินทางระหว่งประเทศอาเซียนมากย่ิงขึ้น และเกิดการขยายตัวของตลาดการท่องเทียวในประเทศอาเซียนอีกด้วย
          อย่างไรก็ตามกระแสการรวมเป็น  AEC ก็ได้ส่งผลให้เกิดความคึกคักต่อธุรกิจการเป็นในภุมิภาคเป้นอย่างมาก ใโดยทำให้เกิดการเพ่ิมเที่ยวบนและขยายเส้นทางการบินมายังประเทศอาเว๊ยน และเส้นทางการบินระหว่งประเทศสมาชิกอาเวียนมากยิ่งขึ้น
          โดยเฉพาะ อยางยิ่งการเติบโตของธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ ซึ่งมีแรงดึงดูดทางด้านราคา ทั้งนี้ในระหว่างปี 2554-2556 มีการเปิดตัวสายการบินต้นทุนต่ำในภูมิภาคอาเซียนกว่า 7 สายการบิน ใน 6 ประเทศอาเวีนน ได้แก่ เวียนดนาม สปป.ลาว เมีนยมร์ สิงคด)ร์ อินโดนีเซียน และฟิลิปปินส์
           นอกเหนือจากนี้ยังมีการขยายเส้นทางการบินไปยังจุด หมายปลายทางระหวางเมืองต่างๆ ในอาเวียนมากยิ่งขึ้น เช่น การขยายเส้นทางการบินของสายการบินต่างๆ ที่มีฐานการบินในไทย ไปยังเมืองต่าง ๆ ของเมียนมาร อาทิ ย่างกุ้ง- มัฒฑะเลย์-เนย์ปิดอว์ และการขยายเส้ทากงการบินไปยัง สปป.ลาว การเพิ่มขึ้นของจำนวนสายการบินซึ่งทำการบินเส้นทางกรุงเทพฯ-เสียมเรียบ ประเทศกัมพูชาเนื่องจากได้มีการยกเลิกการสวงนเส้นทางไว้ให้เฉพาะบางสายการบิน การขยายเส้นทางบินของสายการบินแห่งชาติกัมพุชามายังไทยและไปยังเวียดนาม เป็นต้น
         
สำหรับประเทศไทยแล้วนับว่ามีความได้เปรียบด้านทำเลที่ตั้ง ที่มีพรมแดนติดกับประเทศอาเวียนถึง ประเทศ4  ประเทศ และมีจุดแข็งจากการเติบโตของะุรกิจกาบินอย่างโดดเด่นในภุมิภาค พิจารณาจากจำนวนผู้โดยสารที่เดินทางมาท่าอากสญานสุวรรณภุมิในปี 2555 คับคั่งเป้นอันดับ 2 ของภุมิภาค รองจากท่าอากาศยานซูการ์โน่ฮัตตา ของอินโนีเซีย อักทั้งไทยยังมีอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนเครื่องบินที่แขงแกร่ง โดยที่ผ่านมามีบริษัทต่างชาติให้ความสำคัญในการเข้ามาลวทุนตั้งฐานการผลิต ชิ้นส่วนเครื่องยินและชิ้นส่วนเครื่องบิน มูลค่ากล่า 142,241 ล้านบาท และในปี 2556 ระหว่างเดิืน ม.ค.-ส.ค. มีมุลค่าการนำเข้า-ส่งออกเครื่องบินและขิ้นสวนเครื่องยินกว่า 137,224 ล้านบาท เติบโตกว่าวร้อยละ 93 เมื่อเที่ยบกัยช่วงเดียวกันของปีก่อน
            ดังนั้นเพื่อเป็นการรองรับธุรกิจการบินที่จะขยายตัวเพ่ิมขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้อกจากประเทศไทยมีความมุ่งหวังที่จะเป้นศูนบ์กลางทางการบินของภุมิภาคแล้วยัง มีเป้าหมายที่จะเป็น "ศูนย์กลางซ่อมบำรุงอากาศยานของภุมิภาค" เืพ่อรองรับปริมาณเครื่องบินที่จะเพ่ิมขึ้นนภุมิภาคอาเซียนอีกด้วย
             ส่ิงที่ไทยต้องลงมือทำอย่งจริงจัง ก็คือควรเร่งพัฒนาศักยภาพเืพ่ดึงดูดปริมาณเครื่องบินต่างๆ โดยเฉพาะเครืองบินจากกลุ่มประเทศ CLMV ที่มีการเติบโตทางด้านฑุรกิจการบิน แต่ยังขาดความพร้อมทางด้านวิศวกรรมการบิน ควรวางแผนด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ ซึ่งปัญหาดังกล่วต้องได้รับการพิจารณาและเร่งดำเนินการแห้ไข เนื่องจากการเติบโตอย่างมากของธุรกิจของการบินอาเวียนได้ทำให้รัฐบาลของประเทศ ต่างๆ เล็งเห็นถึงโอกาศเช่นกัน เช่น สิงคโปร์ และมาเลเซีย ซึงเป้นสมาชิกอาเวียนก้มีเป้าหมายที่จะเป็นศูนย์กลางซ่อมบำรุงอากาศยานของ ภุมิภาคด้วยเช่นกั เหนืออื่นไใดคือควรสร้างความสัมพันะ์ที่ดีกับสายการบินต่างสัญชาติที่มีฐาน การบินในไทยให้มาใช้บริากรศูนฐืซ่อมอากาศยานของไทย ทั้งนี้มีการคาดกาณณ์ว่ามูลค่าการซ่อมบำรุงอากาศยานทั่วโลก ในปี 2562 จะมีมุลค่าถึง 63,000 ล้านเหรียญสหรัฐ www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1384493044
             
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)