Low Cost Airline

           สายการบินราคาประหยัด หรือสายการบินต้นทุนต่ำ เป็นกลยุทธการดำเนินธุรกิจด้านการบิน ด้วยการลดค่าใช้จ่ายของการบิน เช่น เครื่องแบบพนักงาน อาหารบริการบนเครื่องบิน ทำให้สามารถขายตั๋วโดยสารในราคาประหยัดได้ อีกทั้งมีการขายตั๋วล่วงหน้าผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถวางแผนจัดการเที่ยวบินได้ง่าย ลดความเสี่ยงด้านการโดยสารไม่เต็มลำ
          สายการบินราคาประหยัดนั้นมาจากประเทศสหรัฐอเมริกา และรูปแบบการดำเนินธุรกิจก็ได้รับการถ่ายทอดไปยังยุโรปโดยในปี 2543 แลเปลี่ยนลักษรการบริการของสายการบินสัญชาติไอรอชให้เป้นสายการบินราคาประหยัด จากนั้นแนวคิดได้ถูกนำไปปรับใช้อย่างแพร่หลายจนกระทั่งปัจจุบัน ยุโรปมีสายการบินราคาประหยัด รายใหญ่หลายสาย สายการบินราคาประหยัดในสหภาพยุโรปมจะมีลักษณะพิเศษเพราะอยู่ในระบบตลาดเดียวของสหภาพ กล่าวคือสามารถไปตั้งศุนย์กลางการบินในประเทศสมาชิกสหภาพยุโปรได้เลย โดยไม่ต้องร่วมหุ้นตั้งสายการบินกับประเทศที่ไปตั้งศูนย์กลางการบิน
         รูปแบบการให้บริการของสายการบินราคาประหยัด
         - ราคาบัตรโดยสารเครื่องบินของสายการบินประเภทนี้ต่ำหว่างยัตรโดยสารชั้นประหยัดของสายการบินหญ่ๆ ประมาณ 40-50 %
         - ให้บริการแบบ เซิงเกิล อีโคโนมี่ คลาส คือมีบริการที่นัีงเฉพาะชั้นประหยัด (ชั้นธุรกิจจะให้บริการให้เส้นทางบินระยะไกล)
         - ให้บริการเส้นทางบินไม่ไกลนัก ส่วนใหญ่มักใช้เวลาบินไม่เหิน 3-4 ชั่วโมง หรือเส้นทางบินไกล 5-12 ชั่วโมงจะใช้เครื่องยิน ลำใหญ่ท่ประหยัดเชื้อเพลิง
         - ส่วนใหญ่จะไม่มีบริการอาหารและเครื่องดื่มให้แก่ผู้โดยสารบนเครื่องบิน หากผุ้โดยสารต้องการ ก็สามารถซื้อได้จาพนักงานในราคาพิเศษ ซึ่งวิธีนี้จะช่วยลดภาระงานและจำนวนพนักงานต้อนรับบนเครืองบินได้
        - เน้นบริการขึ้นและลงจอด ณ สนามบินระดับรอง ไม่ใช่สนามบินที่เป้ฯศุนย์กลางการบินหลักๆ ระหว่างประเทศ ทำให้ต้นทุนค่าใช้สนามบินต่ำกว่า ไม่ว่าจะเป้ฯค่าธรรมเนียมขึ้น-ลงจอด ปละการใช้พื้นที่จอดเครืองบิน หรือ บินให้เยอะที่สุดเืพ่อเพิ่มรายได้ให้สายการบินได้มากขึ้นจอดเครืองให้น้อยที่สุ 45 นาที่ถึง 1 ชั่วโมงเพื่อค่าธรรมเนียมในการจอด ณ สนามบินระดับรอง ไม่ใช่สนาบ้นิที่เป้ฯศูนย์กลางการบินหลักๆ ระหว่งประเทศ (Hub) ทำใหต้นทุนค่าใช้สามบินต่ำหว่า ไม่ว่าจะเป็นค่าธรรมเนียมขึ้น-ลงจอด และการใช้พื้นที่จอดเครืองบิน หรือ บินให้เยอะที่สุดเพื่อเพิ่มรายได้ให้สายการบินได้มากขึ้นจอดเครื่องให้น้อยที่สุ 45 นาที่ถึง 1 ชั่วโมง เพื่อค่าธรรมเนียมในการจอดสนามบินในเส้นทางนั้นๆ มีราะคาถูก
     
- มักช้เครื่องบินโดยสารเพรียงรุ่นเดียวหรือแบบเดียวในการให้บริการเพื่อประหยัดค่าบำุงรักษาและเครื่องบินเป็นรุ่นที่ประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง ตลอดจนค่าใช้จ่ายฝึกอบรมนักบัน เพราะการใช้เรื่องบินนน้อยรุ่นทำให้ประหยัดค่าอะไหล่/อุปกรณ์ และว่ายต่อการดูแลรักษา นอกจากนี้ ยังอาจได้รับส่วนลดในการสั่งซื้อจากบริษัทผุ้ผลิตเครื่องบินเมือเหมาซื้อเครื่องบินแบบและรุ่นเดียวกันทั้งฝูงบิน
        - มีการพัฒนาระบบการจองและาการขายบัติโยสารของสายการบินเอเงโดยไม่ผ่านตัวกลาวหรือตัวแทนจำหน่าย เพื่อลอค่าใช้จ่ายต่างๆ เช่น ค่าคอมมิสชั่น เป็นต้น ส่วนใหญ่เป็นการขายบัติโดยสารผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือทางโทรศัพท์ นอกจากนี้ เืพ่อประหยัดค่าช้จ่ายในการพิมพ์และค่ากระดาษ สายการบินมีการออกบัตรโดยสายแบบ ทิกเก็ตเลส คือ ไม่มีการออกบัตรโดยสารเป็นประดาษให้ แต่จะบอกรหัสบัตรประจำตัวประชาชนให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเท่านั้น
        - ไม่มีการบริการภาคพื้นดิน เช่น ไม่มีห้องรับรองพิเศษ ไม่มีบริการจัดส่งหรือถ่ายโอนสัมภาระ แต่อาจมีบริการตามความต้องกาของผุ้โดยสาร เ่น ห้องรับรอง รถรับส่ง จากสนามบินไปยังเมืองปลายทาง ดดยผุ้โดยสารต้องเสียค่าใช้จ่ายเพ่ิมเติม  th.wikipedia.org/wiki/สายการบินราคาประหยัด
            ธุรกิจการบินสยายปีกประชาคมอาเซียน...
            Center for Aviation หรือ CAPA เปิดเผยว่าปัจจุบันายการบินต้นทุนต่ำครองส่วนแบ่งที่นั่งราว 50% ของเที่ยวบินทั้งหมดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดย 3 ใน 5 สายการบินน้องใหม่ที่เพ่ิงเปิดตัวเมื่อปีที่ผ่านมา ยังเป้ฯสายการบินต้นทุนต่ำ ได้แก่ แอร์เอเชีย ฟิลิปปินส์, สกู้ต ของสิงคโปร์ และแมนดาล่า จากอินโดนีเซีย ซึ่งแปลงโฉมตัวเองจากที่เคยให้บริการเต็มรูปแบบขณะที่การบินไทยส่ง "ไทยสไมล์" รุกตลาดภูมิภาคนี้ รวมทั้ง สปป.ลาวก็เปิดตัว "ลาว เซ็นทรัล แอร์ไลน์" เช่นกัน อย่างไรก้ตามคาดว่าตลาดโลว์คอสต์ แอร์ไลน์ในอาเวียนังมีโอกาสเติบโตอีกมาก โดยเฉพาะการเข้าไปแสวงหาโอกาสชิงสวนแบงการตลาดในประเทศพม่าและเวียดนาม ซึ่งขณะนี้อัตราการเข้าถึงของสายการบินประเภทนี้ยังต่ำกว่าอัตราเฉพลี่ยของทั่วโลกอยู่ที่ 26%
             - ธุรกิจการบินในประเทศไทย สายการบินไทยแอร์เอเชีย และ นกแอร์ ซึ่งได้รับประโยชน์จากนโยบายการย้ายฐานการบินมาที่สนามบินดอนเมืองตั้งแต่แดือน ต.ค. ที่ผ่านมา ได้วางแผ่นเพิ่มฝูงบินราว 33% ในปี 2556 โดยไทยแอร์เอเชีย จะรับมอบเครื่องบินแอร์บัส เอ 320 เพ่ิมอีก 9 ลำ ทำให้รวมทั้งสิ้นมี 36 ลำ ขณะที่นกแอร์ คาดว่าจะเพ่ิม 6 ลำ รวมเป็น 24 ลำ
             นอกจากนี้นแอร์ ซึ่งปัจจุบันให้บริากรเฉพาะเที่ยวบินประจำภายในประเทศเท่านั้น ได้มีแผนจจะใช้เครื่องบินโบอิ้ง 737-800s ให้บริการเส้นทางต่างประเทศเป้นครั้งแรกด้วย ขณะที่แอร์เอเชีย ซึ่งมีสัดส่วนที่นั่งกว่า 40% ให้บริากรเส้นทางต่างประเทศอยู่แล้ว ก็จะสยายปีกสู่ตลาดในและต่างประเทศมากขึ้น โดยใช้ข้อได้เปรียบจากการเข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประทเศไทยในปีก่อน มาสนับสนุนการเติบโตต่อเนื่องในปีนี้
            - สิงคโปร์ ซึ่งเปิดสนามบินชางยีต้อนรับผุ้โดยสารเกิน 50 ล้านคนในปีที่ผ่านมา ในปีนี้การจราจรทางอากาศของสิงคโปร์อาจชะลอตัวลง คาดการเติบโตไม่เกิน 10% ในช่วง 11 เดิืนแรกของปี 2555 เนื่องจากได้อานิสงส์ของตลาดสายการบินต้นทุนต่ำที่ขยายตัวรวดเร็ว ครองสัดส่งนการให้บริการ 30% ของสรามบินชางยีนปัจจุบัน โดยคาดว่าในปีหน้าการเปิดตัวของ สกู้ตสายการบินน้องใหม่ที่ให้บริการโลว์คอสต์ในเส้นทางระยะไกล จะเติบโตคได้เร้ซที่สุด เพราะถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งของบิรษัทแม่อย่างสิงคโปร์ แอร์ไลน์ ที่ต้องการหันมาปั้นรายได้จากสายการบินในเครือข่ายทอแทนรายได้ของธุรกิจหลักที่ชะบลอ ไม่ว่าจะเป้ฯ สกู้ต หรือกรทั่ง ซิลค์แอร์ เจ็ตสตาร์ ที่กำลังมีแผนขยายเส้นทางบินที่มีศักยภาพ
         
นอกจากนี้ สามาบินชางยี จะเริ่มลงมือ่ก่อสร้างอาคารที่ 4 เพ่ิมเติม ซึ่งอยู่ภายใต้แนวคิดอาคารลุกผสมที่จะมาแทนบันเจ็ต เทอร์มินัล ที่จะถูกรื้อทิ้งในเร็วๆ นี้และคาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปี 2560 เพื่อรองรับผุ้โดยสารเพิ่มราว 16 ล้าคนต่อปี
            ขณะที่ประเทศอินโดนีเซียน ซึ่งเป็นตลาดใหญ่ที่สุดของธุรกิจายการบินในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในด้านประชกรจำนวนไมากได้ผงาดขึ้นเป็นหนึ่งในตลาดที่การเิตบโตร้อนแรงปห่งหนึ่งของโลก เฉพาะตลาอการบินในประเทสมีผุ้โดยสารถึง 70 ล้านคน แลฃะข้นแทร่นกลายเป้น "ตลาดในประทศ" ใหญ่ที่สุดอันดับ 5 ของโลกรองจาก สหรัฐฯ จีน บราซิบล และญี่ปุ่น นับตั้งแต่ปี 2551 เป้นต้นมา มีการเติบโตเกินกว่า 10% ต่อปี และคาดว่าจะยังรักษาอัตรานี้ต่อเนื่องอีกหลายปี เพราะสายการบินรายใหญ่ยังมีแผนที่จะขยายเส้นทางในประทเสต่อเนื่อง
          ไลอ้อน แอร์ ผุ้นำในตลาดการบินในอินโดนีเซีย นังขยายฝูงบินใหม่ โบอิ้ง 737-900ERs อย่างต่อเนื่องเฉลี่ย 2 ลำต่อเรือนทำให้สายการบินนี้ครองส่วนแบ่งการตลาดในประเทศถึง 40% เพราะมีเครื่องยินใหม่เข้ามาเสริมทัพ รองรับการเติบโตอย่าง รวดเร็ว และตลาดยังเพียงพอ สำหรับรองรับสายการบินในเครือข่ายสายใหม่อย่าง บิติคแอร์ ซึ่งให้บริการเต็มรุปแบบ และมีกำหนดเปิดตัวในปีนี้
           ขณะที่ ซิตี้ลิงค์ สายการบินราคาประหยัด ซึ่งเป็นเครือข่ายของการูด้า คาดเติบโตถึง 150% ด้านจำนวนผุ้โดยสารที่คาดว่าจะแต่ 10 ล้านคนเมื่อมีการขยายฝูงบิน แอร์บัส เอ 320 และเริ่มทยอยรับมอบเครื่องเอทีอาร์ 72 เข้าประจำการลำแรก ซึ่งเป็นกลยุทธ์ทีหวังนำมาปะทะโดยตรงกับ วิงส์แอร์ สายการบินลูกของไลอ้อน แอร์ ที่เน้นเส้นทางยินระยะสั้นwww.thai-aec.com/650
            ตลาดการบินอาเซียน -เอเชียสุดแข็งแกร่ง โบอิ้งเล็งคุยบินไทยร่วมมือด้านซ่อมบำรุง
            โบอิ้ง มุ่งอาเซียน/เอเชีย ชีธุรกิจการบินปี 60 สุดแข็งแกร่ง ตลอเติบโตสูง โดยเฉพาะ "โลว์คอสต์แอร์ไลน์" มีความต้องการเครื่องบินใหม่ ทั้งเพ่ิมขีดการให้บริการและทอแทนเครื่องเก่า เล็งคุยการบินไทยขยายความร่วมมือเพ่ิมทักษะด้านซ่อมบำรุง ฝ่ายช่าง
            นายแรดดี้ ทินเซ๊ธ รองประธานฝ่ายการตลาด โบอิ้ง คอมเมอร์เชียล แอร์เพลน เปิดเผยถึงทิสทางตลาดเครื่องบินพาณิชย์วา ในระยะ 20 ปีต่อจากนี้ตลาดเอเชียจะเป็ฯภุมิภาคที่ีการเติบโตของธุรกิจการบินสูงที่สุด โดยจะมีการสงมอบเครื่องบินถึง 15,130 ลำ ขณะที่ตลาดอเมริกาเหนือสงมอบ 8,330 ลำ และยุโรป 7,570 ลำ โดยจีนจะเป้ฯลูกค้ารายใหย่ของเอชียในสัดส่วน 40% ส่วนเอเชียตะวันออกเแียงใต้นั้นมีสัดส่วนประมาณ 25% โดยลูกค้าส่วนใหย่ คือ สายการบินในประเทศไทย, มาเลเซีย, เวียดนาม, อินโดนีเซีย ขณะที่เครื่องบินแบบทางเดินเดียว มีความต้องการสูงสุดถึง 71% ของเครื่องบินทั้งหมด รองลงมาเป็นเครื่องบินขนาดเล็แบบลำตัวกว่างคิดเป็น 13%  และเครื่องบินขนาดกลางแบลบำลตัวกว้างคิดเป็น 9%
             ซึ่ง ไลอ้อนแอร์ มีคำสั่งซื้อเครื่องบินแบบทางเดินเดียวมากที่สุด ขณะที่การบินไทยได้จัดซื้อเครื่องบินในอดีตจากโบอ้องมากว่า 75 ลำ ทั้งนี้ การเติบโตของตลาดการบินเป็นผลมาจากความต้องการเครื่องบินใหม่เพื่อรองรับปริมาณผู้โดยสรที่เพ่ิมขึ้น การเปิดบริการในตลาดใหม๋ๆ โดยเฉพาะตลาดโลว์คอสต์ และการเปลี่ยนเครื่องบินรุ่นใหม่เพื่อทอแทนเคร่องบินรุ่นเก่า ซึ่งคาดว่าจะมีถึง 40% ที่ซื้อเครื่องใหม่เพื่อแทนเครื่องเก่า โดยในปี 60 ธุรกิจการบินจะมีควาแข.แรก่งมากขึ้นจากปัจจัยราคาน้ำมันที่จะทำให้มีกำไรในการให้บริการเพิ่มโดยผู้โดยสรจะเติบโต 5.1% ด้านขนส่งสินค้าโต 3,3% และประเมินว่าในอี 20 ปีการเติบโตของเศรษฐกิจโดยเฉพลี่ยทั่วโลกจะอยุ่ที่ 2.9% ขณะที่ปริมาณผุ้โดยสรเครื่องบินจะเพ่ิมขึ้นปีละประมาณ 4% ความต้องการเครื่องบินทั่วดลกจากปัจุบัน 20,000 ลำ จะเพิ่มเป็น 45,000 ลำในปี 2478
              ทั้งนี้ การเติบโตของตลาดการบินเป็นผลมาจากความต้องการเครื่องบินใหม่เพื่รองรับปริมาณผุ้โดยสารที่เพ่ิมขึ้น การเปิดบริการในตลาดใหม่ๆ โดยเฉพาะตลาดโลว์คอสต์ และการเปลี่ยนเครื่องยินรุ่นใหม่เพื่อทดแทรเครื่องบินรุ่นเก่า ซึ่งคาดว่าจะมีถึง 40% ที่ซื้อเครื่องใหมเ่พื่อแทนเครื่องเกาดยในปี 69 ธุรกิจการบินจะมีความแข็งแกร่งาขึ้นสจาปัจจัยราคน้ำมันที่จะทำให้มีกำไรในการให้บริกรเพ่ิม โดยผุ้ดยสารจะเติบโต 5.1 % ด้านขนส่งสินค้าโต 3.3% และประเมนว่าในอีก 20 ปี การเติบโตของเศราฐกิจโดยเฉลี่ยทั่วโลกจะอยู่ที่ 2.9% ขณะที่ปริมาณผุ้โดยสารเครื่องบินจะเพ่ิมขึ้นปีละประมาณ 4% ความต้องการเครื่องบินทัวโลกจากปัจจุบัน 20,000 ลำ จะเพิ่มเป็น 45,000 ในปี 2578
           
 อย่างไรก็ตาม เมื่อตลาดเครื่องบินขยาัว บริการหลังการขายครอบคลุมบริการด้านการขนส่วสินค้าและบิรการภาคพื้นดิน การซ่อมบำรุงและวิศวกรรม การบริหารด้านการบิน การตลาดและการวางแผน และอื่นๆ คาดจะเติบโตที่ 4% ต่อปี  หรือมีมุลค่าประมาณ 8 ล้านล้านเหรียญสหรัฐใน 20 ปีข้างหน้า ซึ่งโบอิ้งคาดว่าจะมีส่วนแบ่งที่ 30-35%  และเห้นว่าธุรกิจต่อเน่องดังกล่าวจะเป้นโอกาศ ซึ่งได้หารือกับการบินไทยในการขยายความร่วมมือในด้านการซอมบำรุง ฝึกอบรม สร้างทักษระทางวิศวกรรม เป้นต้น
              นายแรนดี้หล่าวว่า เพื่อรองรับแนวโน้มการพัฒนาและการเติบโตของตลาด โบอ้ิ้งได้ดำเนินโครงการพัฒนาเครื่องบินอย่างต่อเนื่อง โดยมีเครื่องบินหลากหลายรุ่นที่สองความต้องกาที่หลากหลายของตลาด เช่น เครื่องบินในตระกูล 737 ซงเป็นเครื่องบินขนาดเล็ก ตระกูล 787 ซึ่งเป็นขนดากลาง และ 777 ซึ่งเป็นเครื่องบินขนาดใหญ่ โดยในขณะนี้บริษัทฯ ได้รับคำสั่งซื้อจรากสายการบินทั่วโลกรวมทุกประเภทเป็นจำนวน 5,715 ลำ มูลค่าประมาณ 416 พันล้านเหรียญสหรัฐ
              โดยในตลาดเครื่องบนขนาดเล็ก โบอิ้ง 737 MAX ซึ่งเป็นรุ่นล่าสุดที่มีความโดดเด่นเรื่องความประหยัด และคล่องตัวมีการพัฒนาก้าวหน้าตามกำหนด โดย 737 MAX 9 ได้ทำการบินครั้งแรกเื่อวันที่ 13 เมษายน 2560 ที่ผ่านมา และคาดวาจะส่งมอบลำแรกได้ในปี 2561 และคาดว่าในปี 2562 เครื่องยินในตระกุลนี จะมีการขยายตัวมาก ส่วนโบอิ้ง 737 MAX 10 ซึ่งเป็นเครื่องบินแบบทางเดินเดียวที่สามารถช่วยเพ่ิมผลกำไรจากการประหยัดต้นทุนของสายการบิน ก็กำลังอยุ่ในช่วงการพัฒนาช่วงสุดท้ายเช่นกัน
              โบอิ้ง 787 นับเป็นเครื่องบินขนาดกลางที่ได้รับความสนใจเป็นอย่งากจากสายกาบินทั่วดลก และช่วยให้สายการบินต่างๆ เปิดเส้นทางบินใหม่ได้อกีกว่า 140 แห่ง รวมเป็นจำนวนเส้นทงที่ให้บริการในปัจจุบัน 1,290 เส้นทาง ปัจจุบนโบอิ้งได้รับคำสั่งซื้อแล้ว 1,211 ลำ จาก 64 สายการบินทั่วโลก โดยรุ่น 787-9 จะสามารถบรรทุกุ้โดยสารเพ่ิมขึ้น 20% ขนสินค้าเพ่ิมขึ้น 23%  และบินได้ไกลขึ้น 520 กิโลเมตร ซึ่งจะส่งมอบให้การบินไทยในปลายปี 2560 นี้
             ส่วนโบอิ้ง 777 ยังคงเป็นเครื่องยินแบบ 2 ทางเดินที่ได้รับความยิยมสูงสุ  เนื่องจากมีความแ่นยำวางใจได้ มีการออกแบบตกแต่งภายในที่ให้ความสะดวก และมีพิสัยบินไกล และมียอดสั่งซื้อมากว่าเครื่องบินแอร์บัส 35-1,000 ถึง 4 เท่า www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9600000042002

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)