โดยหลักการแล้ว การวิเคราะห์ระบบภาษีของประเทสใดประเทศหนึ่งจำเป้ฯจะต้องวิเคราห์ควบคู่ไปกับโครงสร้างรายจ่าของรัฐบาลในประทเศนั้นๆ ด้วยเนื่องจากโดยปกติแล้ว ภาษีคือแหล่งรายได้ที่สำคัญทีสุดของรัฐบาล ซคึ่งในกรณีที่รัฐบาลมีความต้องการจะใชจ่ายเพ่ิมเติม รัฐบาลจำเป้นต้องเพีิามการจัดเก็บภาษีตามไปด้วย
เราทุกคนควรพึงระลึกไว้เสมอว่ารายจ่ายต่างๆ ของรัฐบาลนั้นแท้จริงแล้วมีต้นทางมาจากภาษีที่จัดเก็บจากพวกเราทุกคนนั่นเง อังนั้นการใช้จ่ายต่างๆ ของรัฐบาลควรจะถุกควบคุมให้อยู่ในการอบที่พิจรณาเป้นอย่างดีแล้ว เห้ฯควรให้รัฐบาลเข้าไปบริการจัดการ
อย่างไรก็ดี วัตถุประสงค์ของบทความนี้มุ่งเน้นไปที่การวิเคราะห์ระบบภาษีของประเทศไทยแต่เพียงประการเดียว โดยประ็นในการพิจารณาระบบภาษีจะมีด้วยการหลบยรประเด็น ได้แก่
1. ระบบภาษีดังกล่าวควรสร้างรายได้ที่เพียงพอต่อการใช้จ่ายของรัฐาล
2. ระบบภาษีควรมีความเป้ฯธรรมต่อประชาชนในประเทศทุกคน
3. ระบบภาษีควรก่อให้เกิดความบิเบื่นต่อระบบเศษบกิจน้อยที่สุด
4. ระบบดังกล่าวควรเื้อต่อการรักษาเสถียรภาพของระบบเสราฐกิจ
5. ระบบดังกล่าวควรเรียบง่ายและก่อให้เกิต้นทุนในการบนิหารจัดการน้อยที่สุด
บทความนี้จะมุ่งพิจารณาที่ประเด็นระบบภาษีเพื่อความเป็นธรรม ซึ่งมีความสอดคล้องกับหน้าที่ในการลดความเหลื่อมล้ำของรัฐบาล โดยมุ่งเน้นการออกแบบระบบภาษีเพื่อเป็นเครื่องมือหนึ่งในการลดความเหลื่อมล้ำเป้นสำคัญ ไม่ใช่การออกแบบระบบาษีเพื่อการะดมทุนของทางภาครัฐเพ่ิมเติม เพื่อนำมาใช้จ่ายในมาตรการเพื่อลดความเหลื่อล้ำต่างๆ แนวคิดเกี่ยวกับระบบภาษีที่เป้นธรรมสามารถจัดแบ่งออกได้เป็น ๒ รูปแบบหลัก คือ
1 แนวคิดการจัดเกฐ้ภาษีตามหลักผลประดยชน์
2 แนวคิดการจัดเก็บภษีตามความสามารถในการจ่าย
ทั้งสองแนวคิดมีเหตุผลสนับสนุนที่แตกต่างกัน ตามแนวคิดการจัดเก็บภาษีตามหลักผลประยชน์นั้น ผู้เสียภาษีควรเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์จากรัฐบาล ดดยผู้ที่ได้รับประดยชน์ในระดับสูงจากสินค้าและบริการต่างๆ ที่รัฐญยาลบจัดหาให้ ควรเสียภาษีในระดับที่สูงกว่าผุ้ที่ได้รัยประโยชน์จากสินค้าและบริการต่างๆ จากรัฐบาบลในระดับที่น้อยกว่าจึงจะถือว่ามีความเป้นธรรม
อย่างไรก็ตาม แนวคิดในการจัดเก็บภาษีลักษระนี้จะมีความขัดแย้งกับบทบาทในการลดความเลหื่อมดล้ำของรัญบาลจึงมีความยัดแย้งกับจุดสนใจหลักของบทความนี้ด้วยเช่นเดียวกัน ดังนั้นบทความนี้จึงมุ่งให้ความสนใจกัยแนวคิดในลักษณะที่สองมากกว่า
ระบบภาษีที่มีความเป็นธรรมนั้น ควรที่จะมีลกษณะของความเป็นธรรมทั้งในและแนวนอนและแนวดิ่ง นั่นคือ ผุ้ที่มีความสามารถในการจ่ายเท่าเทียมกันก็ควรจะมีภาระในการจ่ายภาษีในระดับเดียวกัน ในขณะนท่ผุ้ที่มีความสามารถในการจ่ายสูงก่ว่าควรที่จะมีภาระในการจ่ายภาษีในระัดบสูกว่า นอกจากนั้นในกรณีที่รัฐบาบต้องการใช้ระบบภาษีเพื่อเป็นเครืองมือในการลดความเหลื่อล้ำนั้น ระบบภาษีควรที่จะมีัลักษณะของการจัดเก็ฐในอัตราก้าวหน้าอีกด้วย
จากข้อมูลภาพรวมในข่วงสองทศวรรษที่ผานมา จะเห็นได้ว่าระบบภาาีของไทยมีลักษระของควสามเป็นธรรมในแนวนอน แต่ไม่มีลักษณะของการประยุกต์ใช้อัตราภาษีในลักาณะก้าวหน้าแต่อย่างใด อัตาภาษีที่จัดเก็บจริงในช่่วงตัวแต่ปี 2535 เป็นต้นมานั้นอยู่ใระดับที่คงที่ ถึงแม้ว่าข้อมูลรายได้ประชากรของประเทศไทยจะปรับตัวเพ่ิมขึ้นอยย่างชัดเจนราวหนึ่งเท่าตัว
จากการพิจารณาโครงสร้งรายไดจัดเกบของรัญบาลบไย จะเห็นได้ว่ารายได้ส่วนใหญ่จะมาจากฐานการบริโภคของประชากรไทย ในขณะที่ฌครงส้ร้างที่ประยุกต์ใช้อัตราภาษีแบบก้าวหน้าอย่างชัดเจนเพียงอย่างเดียวของประเทศไทยนั้น (ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา) คิดเป็นสัดส่วนเพียงราวร้อยละ 10-12 ในช่วงราว 20 ปีที่ผ่านมา
การพิจารณาโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในรายลเอียด จะเห้ฯได้ว่า มีการลดหย่อยภาษี หลายๆ ประเภท และการยกเว้นภาษี ซึ่งทำให้แม้แต่ผุ้ทีมีเงินได้ในระดับสูงกว่าค่าเฉลี่ยยังอาจไดรับยกเว้นการจ่ายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทั้งจำนวน นอกจากนั้นจะเห็นได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของอัตราภาษีและดครงสร้างกาลดหย่อที่ผ่านมาน่าจะมรีส่วนทำให้ภาระการจ่ายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของประชากรไทยลดลง
นอกจากนั้นแล้ว ระะภาษีไทยยังมีส่วนประกอบหลายๆ อย่างที่ขาดหายไป ดังที่ได้อธิบายไว้ในส่วนที่ 2.2 ระบบภาษีที่มีความเป้ฯธรรมตาแนวนอน อาจำเป็นจะต้องมีส่วนประกอบของ "ภาษีมรดก เพื่อที่จะเป็นเครื่องมือในการจัดการกับการโอนย้ายความสามารถในการจ่ายไปสู่รู่นลุกหรือรุ่นหลายโดยเพื่อไม่ให้เกิดการชะลอการจ่ายภาษีออกไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุดนั้น การจัดเก็บภาษีมรดกควรจะอยุ่ในลักระของการจัดเก็บ ณ ช่วงเวลาของการถ่ายโอนมรดกโดยทันที่อีกด้วย
เพื่อความเป้ฯธรรมของระบบภาษีทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง ฐานภาษีที่ใช้ในการคำนวฯณภาระภาษีของผุ้จ่ายภาษีแต่ละคนควรที่จะมีลักษณะที่ครอบคลุม ในประเด็นนี้ภาาีเงินได้บุคคลธรรดาของประเทศไทยยังมีช่องโหว่อยู่โดยในส่วนที่เห็นได้อย่างชัดเจน คือ ยังไม่มีการจัดเก็บภาษีดังกล่าวบนฐานกำไรของส่วนเกินทุน หรือ แคปปิตอบล เกนน์ จากเงินลุทุนในตลาดหลักทรัพย์
ภาษีบนฐานทรัพย์สินของประเทศไทยยังมีการประยุกต์ใช้ไม่มากนัก และอาจเป้นขช่องทางในการเพ่ิมรายได้ภาษีให้กับรัฐบาลเป็นจำนวนมากhttp://v-reform.org/tax-reform-for-equity/
วันอังคารที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2560
วันจันทร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Tax for Reduce the distribution in revenue II
ระบบภาษีของไทยในภาพรวมไม่มีลักาณะของการจัดเก็บภาษีของประเทศไทยในภาพรวมไม่มีลักษณะของการจัดเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้าแต่อย่างใด การวิเคราะห์ในส่วนจองงานศึกษา จะพบว่าสาเหตุหลักอย่างหนึ่งที่ทำให้อัตราการจัดเ็ฐภาษีที่แท้จริงในภาพรวมของประเทไทยไม่มีการปรับตัวเพ่มขึนในช่วงราว 20 ปี ที่ผ่านมา น่าจะมีสาเหตุมาจากการปรับตัวลดลงของอากรนำเข้า-ส่งออก และโครงสร้างกาจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในช่วงเวลาดังกล่าวของประเทศไทยเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ลักษณะของการปรับตัวในอัตราจัดเก็บภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดาในช่วงเวลาดังกล่าวของประเทศไทยเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ลักษระของการปรับตัวในอัตราการจัดเก็บภาษีที่แท้จริงในภาพรวมดังกล่าว มิได้เกิดขึ้นกับประเทศไทยแต่เพียงประเพทศเดียวเท่าน้น
เราสามารถคาดการณ์ได้ระดับหนึ่งว่า ผลกระทบจากการปรับตัวลดลงของอากรน้ำเข้-ส่งออกของประเทศไทยนั้นจะอยู่ในระดับที่ลดลงในอนาคต เนื่องจากสัดส่วนการจัดเก็บอากรนำเข้า-ส่งออำดังกล่าวในปัจจุบันมีระดับที่ลดลงดังกล่าวอาจสามารถทดแทนได้โดยการปรับตัวเพ่ิมขึ้นของภาษีมูลค่าเพ่ิม ตาการเติบโตของระบบเศณษฐกิจ
จากการศึกษาของ แทนนิ และ ซี (2000) มีข้อสรุปประการหนึ่งว่า จากประสบกาณ์ของหลายๆ ประเทศการเพ่ิมประสิทะิภาพการทำงานของลักษระการจัดเก็บภาษีอัตราก้าวหน้า สามารถทำได้ผ่าการลดจำนวนขั้นของภาษีลง ในขณะที่ลดรายการต่าลดหย่อนประเภทต่างๆ ลงไปพร้อมกันด้วย การลดความยุ่งยากในการคำนวณมูลค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในลักาณดังกล่าว จะช่วยให้การจัดเก็บภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพซึ่งจะช่วยเสริมลักษระการจัดเก็บภาษีอัตราก้าวหน้าในโคงสร้างการจัดเก็บภาษีดังกล่าวได้
ตามนิยามในการศึกษาของ ลี โมเรโน่ ดอดสัน และ โรจชัย ชนินทร ประเทศไทยจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศรายได้ปานกลาง ซึ่งจากข้อมูลเมื่อเปรียบเทียบกันแล้วจะเห็นว่าประเทศไทยมีการจัดเก็ฐภาษีในระดบที่ตำ่กว่าค่าเฉลียของกลุ่มประเทศที่มีรายได้ในระดับปานกลาง ซึ่งภาพรวมการจัดเก็บภาษีที่ไม่ได้แสดงถึงลักษระของการจัดเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้า ยังคงเป้นลักษระร่วมกันของกลุ่มปรเทศรายได้ปานกลางนี้
เราสามารถคาดการณ์ได้ระดับหนึ่งว่า ผลกระทบจากการปรับตัวลดลงของอากรน้ำเข้-ส่งออกของประเทศไทยนั้นจะอยู่ในระดับที่ลดลงในอนาคต เนื่องจากสัดส่วนการจัดเก็บอากรนำเข้า-ส่งออำดังกล่าวในปัจจุบันมีระดับที่ลดลงดังกล่าวอาจสามารถทดแทนได้โดยการปรับตัวเพ่ิมขึ้นของภาษีมูลค่าเพ่ิม ตาการเติบโตของระบบเศณษฐกิจ
การปรบโครงสร้างระบบภาษีของประเทศไทยเพื่อนำไปสู่การจัดเก็บในลักาณะอัจราก้ายหน้ามากขึ้นนั้นจำเป็นจะต้องพุ่งเป้าความสนใจไปที่การปรับโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคลเป้นหลัก
ในส่วนของโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดานั้น ประเด็นที่น่าสใจน่าจะอยุ่ที่การสร้างความมีส่วนร่วมที่เพิ่มมากขึ้น โดยผ่านเครื่องมือ อาทิ
- ยกเลิกรายการต่าลดหย่อหลายๆ ประเภททิ้งไป
- ยกเลิกการยกเว้นการเก็บภาษีในขั้นรายได้แรกของผุ้มีเงินได้
- การปรับเพิ่มฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมของประเทศ
การปรับตัวเพ่ิมขึ้นของรายการค่าลดหย่อนประเภทต่างๆ ในขช่วงเวลาราว 20 ปีที่ผ่านมาได้มีส่วนทำให้ลักษรของการจัดเก็บภาษีในอัตราก้าหน้าของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาไม่าสามารถทำหน้าที่ของมันได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นแล้วยังเป้ฯที่เข้าใจได้ว่าผุ้ที่ใช้สิทธิค่าลดหย่อนหลายๆ ประเภท อาทิ การซื้อกองทุน การหักค่าดอกเบี้ยเงินกู้ซื้อบ้าน หรือการหักเบี้ยจ่ายกรมธรรม์ประกันชีวิต จะต้องเป้นผู้ที่มีรายได้สูงกวย่า สองหมื่นบาทต่อเดือนซึ่ง จากข้อมูลเป็นกลุ่มผู้มีรายได้สูงสุดร้อยละ 30 ของประเทศไทย การยกเลิกค่าลดหย่อนประเภทต่างๆ จะทำให้กลไกของการจัดเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้าามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งน่าจะมี่ส่วนช่วยให้ระบบภาษีของประเทศไทยสามารถทำหน้าที่ในการบกความเหลื่อมล้ำให้กับประเทศได้ส่วนหนึ่ง
การยกเลิกการยกเว้นการเก็บภาษีในชั้นเงินได้สุทธิแรกขอผุ้มีเงินได้ ก็เป็นอีกองคประกอบหนึ่งที่น่าจะช่วยเพ่ิมการมีส่วนร่วมในกาจ่ายภาษีของผุ้มีรายได้ในประเทศไทยได้ โดยเนื่องจากเงินได้ที่จะถูกนำมาคำนวณเพื่อเป็นฐานนการคำนสณภาษีเวินได้บุคคลธรรมดานั้น จะอยุ่ใรูปของ เงินได้สุทธิ ภายหังการหักค่าใช้จ่าย ออกไปแล้วเงินได้สุทธิในส่วนนี้น่าจะเป้นส่วนที่เกินมาจากการใช้จ่ายต่างๆ ที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน ในกรณีที่รัฐบาลเห็นว่าค่าใช้จ่ายของประชาชนมีการปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น ก็น่าจะทำการปรับเงินหักค่าใช้จ่าย หรือค่าลดหย่อนส่วนบุคคลออกไปให้ัดเจนมากว่า
การยกเว้นการเก็บภาษีในขั้นเงินได้สุทธิแรกนี้แท้จริงแล้วให้ประโยชน์กับกลุ่มผุ้มีรายได้สุทธิแรกนี้แท้จริงแล้วให้ประโยชน์กับกลุ่มผุ้มีรายได้สุงในระดับสูงกว่ากลุ่มผุ้มีรายได้ต่ำ นั่นคื อในกรณีที่ผุ้มีเงินได้สุทธิในปีนั้นเกินกว่า หนึ่งแสนห้าหมืนบาท จะได้รับการยกเว้นภาาีในขั้นเงินได้สุทธิแรกเต็มจำนวนเงิน ในขณะที่ผุ้มีเงินได้สุทธิในปีนั้นในระดับต่ำกว่า แสนห้าหมื่นบาทจะได้รับการยกเว้นภาษีในขั้นเงินได้ดังกล่าวเป้นจำวนเงินที่น้อยกว่า
จากการศึกษาของ แทนนิ และ ซี (2000) มีข้อสรุปประการหนึ่งว่า จากประสบกาณ์ของหลายๆ ประเทศการเพ่ิมประสิทะิภาพการทำงานของลักษระการจัดเก็บภาษีอัตราก้าวหน้า สามารถทำได้ผ่าการลดจำนวนขั้นของภาษีลง ในขณะที่ลดรายการต่าลดหย่อนประเภทต่างๆ ลงไปพร้อมกันด้วย การลดความยุ่งยากในการคำนวณมูลค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในลักาณดังกล่าว จะช่วยให้การจัดเก็บภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพซึ่งจะช่วยเสริมลักษระการจัดเก็บภาษีอัตราก้าวหน้าในโคงสร้างการจัดเก็บภาษีดังกล่าวได้
การปรับเพิ่มฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ในที่นี้ หมายถงการพยายามชักจูงให้ผุ้ที่มีรายได้ในระดับที่เขาข่ายการจายภาษีเงินได้บุคคลธรรม แต่อาจมีเงินได้จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจนอกระบบ ให้หันมยื่นแบบแสดงรายการนี้จะช่วยสร้างความเป้ฯธรรมในแนวนอนของระบบการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้เพิ่มมากขึ้น การปรับเพิ่มฐานภาษีในลักาณะนี้สามารถทำได้ผ่านการให้สิทธิประโยชน์บางประการแก่ผุ้ยืนแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษี อาทิก การเสนอบริการสาธารณะที่สำคัญบางประเภทให้กับผุ้ที่ยื่นแบบเสียภาษีเงินไ้ด้บุคคลธรรมดาเท่านั้น หรือ การเพ่ิมบทลงโทษและเพ่ิมการกวดขันในการตรจสอบผุ้ที่หลีกเลี่ยงกรยื่นแบบเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป้นต้น
ในส่วนของการปรับปรุงโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้น มีประเด็นสำคัญอยู่สองประการ
- ปรับปรุงการให้สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีให้กับนักลงุทนประเภทต่างๆ
- การปิดกั้นช่องทางการหลบเลี่ยงภาษีผ่านความเหลื่อล้ำระห่างโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล
จากประสบการณ์ของหลายประเทศน้น การให้สิทธิประดยชน์างก้านภาษีไม่ได้ก่อให้เกิกดการไหลเข้าของการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพมากนักนอกจานั้นในปัจจุบนยงดุเหมือนว่ามีการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนให้กับนักลงทุนหรือนิติบุคคลภายใน
ประเทศอีกด้วย สิทธิประดยชน์ทางภาษีดังกล่วก่อให้เกิดความไม่เป้นธรรมทางภาษีทั้งในแนวตั้งและแนวนอนโดยเจ้าของกิจการหรือผุ้ถือหุ้นสามัญในนิติตบุคคลที่ได้สิทธิประโยชน์ดังกล่าว ซึ่งมักจะเป้นกลุ่มผุ้มีรายได้สูงของประเทศสามารถได้รับรายได้จำนวนมกที่ได้รับการยกเว้นภาษีท้งจำนวน จากเงินปันผลของกิจการดังกล่าว
ความแตกต่างระหว่างอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลกับอัตราภาษีขั้นสุงสุดของภาษีเงินได้บุคคลธรมดา อาจเป็นอีกขช่องทางหนึ่งที่ก่อให้เกิดการโอนย้ายถ่ายเทรายได้เพื่อการหลีกเลี่ยงภาษี ซึ่งกาารหลีกเลี่ยงในลักษณะนี้เป็นต้นเหตุของความไม่เป้นธรรมตามแนวนอนของระบบภาษีไทยนอกจากนั้นแล้วการหลีกเลี่ยงภาษีลักษณะดังกล่าวยังลดประสิทธภาพของลักษรการจัดเก็บภาษีอัตรก้าวหน้าอีกด้วย การปรับเปลี่ยนอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคคลจึงควคำนึงถึงช่องว่างระหว่งอัตราภาษีดังกล่าวกับอัตราข้นสูงสุดของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วยhttp://v-reform.org/tax-reform-for-equity/
วันอาทิตย์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Tax for Reduce the distribution in revenue
โดยทั่วไปแล้วภาษีเป็เนครืองมือของรัฐบาลเืพ่อให้บรรลุเป้าหมายหลายประการ เช่น เพื่อหารายไ้ด้ให้แก่รัฐบาล เพื่อส่งเสริมและจำกัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจบางประเภท เพื่อรักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจนอกจากนี้ ภาษียังถูกใช้เป็นเครื่องมือในการลดความเลหื่อมล้ำในการกระจายรายได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม ความสำคัญของแต่ละเป้าหมายได้มีการเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละข่วงเวลา ในส่วนนี้จึงเป้นการพิจารณาถึงแนวโน้มของวิวัฒนาการของนโยบายภาษีที่เกิขึ้นทั่วโลก
นโยบายภาษีีพันาการอย่างชัดเจนในช่วงทศวรรษ 1980 โดยเป็นผลสืบเนื่องมาจากกรเปลี่ยนแปลงบริบทของการพัฒนาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นม การพัฒนาเศราฐกิจของประเทศต่างๆ มักดำเนินการโดยใช้นดยบายภาษีเป้นสำคัญกล่าวคือ รัฐบาบจะเข้าไปมีส่วนร่วมของประเทศต่างๆ มักดำเนินการโดยใช้นโยบายภาษีเป็นสำคัญ กล่าวคือ รัฐบาลจะเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจโดยให้ความสำคัญกับกระบวนการทำให้เป้นอุตสาหกรรม จึงต้องใช้นโยบายภาษีต่างๆ เข้ามาจัดการในฐานะที่เป็เนครื่องมือองนโบายกาพัฒนา เช่น การตั้งกำแพงภาษี โดยเพ่ิมอากรขาเข้าเพื่อปกป้องอุตสาหกรรมภายในประเทศ การให้เงินอุดหนุนแก่ผุ้ผลิตวัตถุดิบ รวมตลอดจนการยเกว้นและลดหย่อนภาษีแก่บางภาคอุตสาหกรรมเป็นพิเศษ (เพื่อจูงใจให้มีการดำเนินกิจกรรมทางเศณาฐกิจในภาคอุตสาหกรรมที่รัฐบาลเห็นว่าจำเป้ฯต่อการพัฒนาประเทศนอกจากนี้ก็มักมีการเก็บภาษีอากรขอออกอัตราสูงๆ ในภาคเกษตรและภาคเหมืองแร่่
ต่อมได้เกิดความนิยมในการใช้นโยบายภาษีเพื่อเป็นเครื่องมือในการลบดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้โดยในช่วงประมณทศวรษ 1950-1960 นักวิชาการส่วนใหญ่มักมีควมเห้ฯว่า การใช้ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในอัตราก้าวหน้าสูงๆ และการใช้ภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตาสูงๆ เป็นนโยายภาษีในอุดมคติ อีกทั้งยังมองว่าการจัดเก็บภาษีทางอ้อมมีความจำเป็นอยู่้างเพื่อเป็นแหล่งรายได้ของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม รัฐบาลควรออกแบบนโยบายภาษีโดยให้ภาษีเงินไ้เข้ามาทอแทนภาษีทางอ้อมให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ นอกจากนี้ การออกแบบนโยยายภาษีในขณะนั้นไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงนโยายภาษีที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ กล่าวคือ ถือว่าการออกแบบนโยบายภาษีเป็นเรื่องภายในประเทศ โดยแท้ึ่งอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า นโยบายภาษีในขณะนั้นมีเป้าหมายเพืยง 2 ประการ คือ เพื่อหารายได้มาสนับสนุนบทบยาทของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจ และเพื่อกระจายรายไ้และความมั่งคั่ง ว฿่งการจัดเก็บภาษีในอัตราสูงมากทำให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ ในขณะนั้นสามารถใช้การลดหย่อนและยกเว้นภาษีมาเป็นเครื่องมือในการชักจูงให้ภาคเอกชนเข้ามาลงทุนในภาคการผลิตที่จำเป็นต่อการพัฒนาเศรษฐกิจได้
ด้วยเหตุนี้แนวคิดในการใช้นโยบายภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการกระจยรายได้มักให้ความสำคัญกับบทบาทของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การออกแบบนโยายภาษีจึงเน้นไปที่การใช้อัตราภาษีก้าวหน้า และการปรับปรุงระบบการบริหารจัดเก็บภาษีให้ภาระภาษีกระจายไปยังบุคคลกลุ่มต่างๆ ในสังคมอย่างเปฯธรรมตามหลักความสามารถในการเสียภาษี ดังแนวคิดของ เฮจ ไซมอนส์ ที่มอวา "เงินได้" เป้นตัวชี้วัดความสามารถในการเสียภาษีที่ดีที่สุด ด้วยเหตุนี้นักวิชาการในขณะน้ั้นจึงมักเสนอให้รัฐบาลพยายามนำภาษีเงินได้บุคคบลธรรมดามาใช้แทนภาษีทางอ้อมขณะเดียวกันก็เสนอว่ ข้อดีของการใช้ภาษีเงินได้ในโครงสร้างอัตรก้าวหน้านั้น นอกจากจะช่วยลดความเหลื่อล้ำในการกระจายรายได้แล้ว ยังจะช่วยให้รัฐบาลมีรายได้เพ่ิมข้นมากเพียงพอที่จะทำให้รายจ่ายของรัฐบาลเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่าอัตราการเจริญิเติบโตของเศราฐกิจ โดยมีนักชิวาการได้เสนอว่า การเจะเปลี่ยนจากประเทศกำลังพัฒนาไปสู่ประเทศพัฒนาแล้วนั้น รัฐบาบต้องมีการเก็บภาษี (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอัตราก้าวหน้า ) ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ นั่นคือ ในระดับรายได้ภาษีที่ประมาณ 25-30 ของ GDP
ต่อมาเมื่อเกิดปรากฎการณ์เศณาฐกิจตกต่ำทั่วโลกในทศวรรษ 1970 นักเศรษฐศาสตร์เร่ิมเปลี่ยนการให้ความสำคัญของเป้าหมายการดำเนินนโยบยายภาษีจากเดิมที่เน้นการสร้างความเท่าเที่ยมกันไปเน้นที่การสร้างความเจริญเติบโตทางเศราฐกิจแทนแนวคิดดังกล่าวได้กลายเป็นแนวคิดกระแสหลักจนกระทั่งปัจจุบัน กล่าวคือ นักเศรษฐศาสตร์และผุ้กำหนดนดยาบยเศราฐกิจในแต่ละประเทศมักมีความเชื่อว่ อัตราภาษีที่สูงไม่เพียงแต่จะลอแรงจูงจในการทำงานและบิดเบือนกิจกรรมทางเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังไม่สามารถทำให้บรรลุเป้าหมายในการสร้างความเท่าเที่ยมกันในการกระจายรายได้ได้ นนอกจากนี้ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศต่างๆ และแรงกดดันในกาดึงดูดเงินลททุนจากต่างประเทศ (ซึ่งมีลักษณะไร้พรมแดนมากขึ้น) ได้ทำให้ทั้งประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาหัสมาให้ความสำคัญกับผลกระทบของระบบภาษีที่มีต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศมากขึ้น..
ในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน นโยบายเศณาฐกิจทีมุ่งเน้นความเจริญเติบโต ได้รับการยอมรับยมกขึ้น และแนวคิดเกี่ยกับบทบาทของรัฐบาลได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เน้นให้รัฐบาลมีบทยบาทในระบบเศรษฐกิจมาก ไปสู่แนวคิดตลาดเสรี ที่ต้องการให้รัฐบาบมีบทบาทในระบบเศณาฐกิจน้อยที่สุด โดยให้มีการลดขนาดของภาครัฐและให้มีการเปลี่ยนองค์กรของรัฐไปเป็นเอกชน มากขึ้น...
ทิศทางของนโยบายภาษีรประการสุดท้ายที่เกิดขึ้นตั้งแต่ประมาณทศวรรษ 1980 เป้ฯต้นมา คือ การลดความสำคัญของการจัดเก็ฐภาษีในอัตราก้าวหน้ามากๆ เพื่อเป้าหมายในกากระจายรายได้ กล่าวคือ แนวคิดกระแสหลักมักมุ่งไปที่การเก็บภาษีเงินได้ที่มีโครงสร้างอัตราก้าวหน้าเพียงเล็กน้อย หรือเก็บในอัตราเดียว รวมตลอดจนการมุ่งเน้นเก็บภาษีมูลค่าเพ่ิมซึ่งมีฐานภาษีกว้างเป็นสำคัญ และเพื่อไม่ให้ภาษีมูลค่าเพ่ิมโดยให้มีกายกเว้นภาษีแก่สินค้าและบริการที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตของประชาชน แนวคิดข้างต้นทำให้ภาษีมูลค่าเพ่ิมกลายเป็นรายไ้สำคัญของรัฐบาลของประเทศต่างๆ เกือบทั่วโฃกในปัจจุบัน ขณะเดียวกันก็ทำให้อัตราภาษีเงินได้ทั้เงประเภทบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลในประเทศต่างๆ ปรับลดลงมาก....http://v-reform.org/tax-reform-for-equity/
นโยบายภาษีีพันาการอย่างชัดเจนในช่วงทศวรรษ 1980 โดยเป็นผลสืบเนื่องมาจากกรเปลี่ยนแปลงบริบทของการพัฒนาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นม การพัฒนาเศราฐกิจของประเทศต่างๆ มักดำเนินการโดยใช้นดยบายภาษีเป้นสำคัญกล่าวคือ รัฐบาบจะเข้าไปมีส่วนร่วมของประเทศต่างๆ มักดำเนินการโดยใช้นโยบายภาษีเป็นสำคัญ กล่าวคือ รัฐบาลจะเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจโดยให้ความสำคัญกับกระบวนการทำให้เป้นอุตสาหกรรม จึงต้องใช้นโยบายภาษีต่างๆ เข้ามาจัดการในฐานะที่เป็เนครื่องมือองนโบายกาพัฒนา เช่น การตั้งกำแพงภาษี โดยเพ่ิมอากรขาเข้าเพื่อปกป้องอุตสาหกรรมภายในประเทศ การให้เงินอุดหนุนแก่ผุ้ผลิตวัตถุดิบ รวมตลอดจนการยเกว้นและลดหย่อนภาษีแก่บางภาคอุตสาหกรรมเป็นพิเศษ (เพื่อจูงใจให้มีการดำเนินกิจกรรมทางเศณาฐกิจในภาคอุตสาหกรรมที่รัฐบาลเห็นว่าจำเป้ฯต่อการพัฒนาประเทศนอกจากนี้ก็มักมีการเก็บภาษีอากรขอออกอัตราสูงๆ ในภาคเกษตรและภาคเหมืองแร่่
ต่อมได้เกิดความนิยมในการใช้นโยบายภาษีเพื่อเป็นเครื่องมือในการลบดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้โดยในช่วงประมณทศวรษ 1950-1960 นักวิชาการส่วนใหญ่มักมีควมเห้ฯว่า การใช้ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในอัตราก้าวหน้าสูงๆ และการใช้ภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตาสูงๆ เป็นนโยายภาษีในอุดมคติ อีกทั้งยังมองว่าการจัดเก็บภาษีทางอ้อมมีความจำเป็นอยู่้างเพื่อเป็นแหล่งรายได้ของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม รัฐบาลควรออกแบบนโยบายภาษีโดยให้ภาษีเงินไ้เข้ามาทอแทนภาษีทางอ้อมให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ นอกจากนี้ การออกแบบนโยยายภาษีในขณะนั้นไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงนโยายภาษีที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ กล่าวคือ ถือว่าการออกแบบนโยบายภาษีเป็นเรื่องภายในประเทศ โดยแท้ึ่งอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า นโยบายภาษีในขณะนั้นมีเป้าหมายเพืยง 2 ประการ คือ เพื่อหารายได้มาสนับสนุนบทบยาทของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจ และเพื่อกระจายรายไ้และความมั่งคั่ง ว฿่งการจัดเก็บภาษีในอัตราสูงมากทำให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ ในขณะนั้นสามารถใช้การลดหย่อนและยกเว้นภาษีมาเป็นเครื่องมือในการชักจูงให้ภาคเอกชนเข้ามาลงทุนในภาคการผลิตที่จำเป็นต่อการพัฒนาเศรษฐกิจได้
ด้วยเหตุนี้แนวคิดในการใช้นโยบายภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการกระจยรายได้มักให้ความสำคัญกับบทบาทของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การออกแบบนโยายภาษีจึงเน้นไปที่การใช้อัตราภาษีก้าวหน้า และการปรับปรุงระบบการบริหารจัดเก็บภาษีให้ภาระภาษีกระจายไปยังบุคคลกลุ่มต่างๆ ในสังคมอย่างเปฯธรรมตามหลักความสามารถในการเสียภาษี ดังแนวคิดของ เฮจ ไซมอนส์ ที่มอวา "เงินได้" เป้นตัวชี้วัดความสามารถในการเสียภาษีที่ดีที่สุด ด้วยเหตุนี้นักวิชาการในขณะน้ั้นจึงมักเสนอให้รัฐบาลพยายามนำภาษีเงินได้บุคคบลธรรมดามาใช้แทนภาษีทางอ้อมขณะเดียวกันก็เสนอว่ ข้อดีของการใช้ภาษีเงินได้ในโครงสร้างอัตรก้าวหน้านั้น นอกจากจะช่วยลดความเหลื่อล้ำในการกระจายรายได้แล้ว ยังจะช่วยให้รัฐบาลมีรายได้เพ่ิมข้นมากเพียงพอที่จะทำให้รายจ่ายของรัฐบาลเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่าอัตราการเจริญิเติบโตของเศราฐกิจ โดยมีนักชิวาการได้เสนอว่า การเจะเปลี่ยนจากประเทศกำลังพัฒนาไปสู่ประเทศพัฒนาแล้วนั้น รัฐบาบต้องมีการเก็บภาษี (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอัตราก้าวหน้า ) ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ นั่นคือ ในระดับรายได้ภาษีที่ประมาณ 25-30 ของ GDP
ต่อมาเมื่อเกิดปรากฎการณ์เศณาฐกิจตกต่ำทั่วโลกในทศวรรษ 1970 นักเศรษฐศาสตร์เร่ิมเปลี่ยนการให้ความสำคัญของเป้าหมายการดำเนินนโยบยายภาษีจากเดิมที่เน้นการสร้างความเท่าเที่ยมกันไปเน้นที่การสร้างความเจริญเติบโตทางเศราฐกิจแทนแนวคิดดังกล่าวได้กลายเป็นแนวคิดกระแสหลักจนกระทั่งปัจจุบัน กล่าวคือ นักเศรษฐศาสตร์และผุ้กำหนดนดยาบยเศราฐกิจในแต่ละประเทศมักมีความเชื่อว่ อัตราภาษีที่สูงไม่เพียงแต่จะลอแรงจูงจในการทำงานและบิดเบือนกิจกรรมทางเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังไม่สามารถทำให้บรรลุเป้าหมายในการสร้างความเท่าเที่ยมกันในการกระจายรายได้ได้ นนอกจากนี้ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศต่างๆ และแรงกดดันในกาดึงดูดเงินลททุนจากต่างประเทศ (ซึ่งมีลักษณะไร้พรมแดนมากขึ้น) ได้ทำให้ทั้งประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาหัสมาให้ความสำคัญกับผลกระทบของระบบภาษีที่มีต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศมากขึ้น..
ในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน นโยบายเศณาฐกิจทีมุ่งเน้นความเจริญเติบโต ได้รับการยอมรับยมกขึ้น และแนวคิดเกี่ยกับบทบาทของรัฐบาลได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เน้นให้รัฐบาลมีบทยบาทในระบบเศรษฐกิจมาก ไปสู่แนวคิดตลาดเสรี ที่ต้องการให้รัฐบาบมีบทบาทในระบบเศณาฐกิจน้อยที่สุด โดยให้มีการลดขนาดของภาครัฐและให้มีการเปลี่ยนองค์กรของรัฐไปเป็นเอกชน มากขึ้น...
ทิศทางของนโยบายภาษีรประการสุดท้ายที่เกิดขึ้นตั้งแต่ประมาณทศวรรษ 1980 เป้ฯต้นมา คือ การลดความสำคัญของการจัดเก็ฐภาษีในอัตราก้าวหน้ามากๆ เพื่อเป้าหมายในกากระจายรายได้ กล่าวคือ แนวคิดกระแสหลักมักมุ่งไปที่การเก็บภาษีเงินได้ที่มีโครงสร้างอัตราก้าวหน้าเพียงเล็กน้อย หรือเก็บในอัตราเดียว รวมตลอดจนการมุ่งเน้นเก็บภาษีมูลค่าเพ่ิมซึ่งมีฐานภาษีกว้างเป็นสำคัญ และเพื่อไม่ให้ภาษีมูลค่าเพ่ิมโดยให้มีกายกเว้นภาษีแก่สินค้าและบริการที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตของประชาชน แนวคิดข้างต้นทำให้ภาษีมูลค่าเพ่ิมกลายเป็นรายไ้สำคัญของรัฐบาลของประเทศต่างๆ เกือบทั่วโฃกในปัจจุบัน ขณะเดียวกันก็ทำให้อัตราภาษีเงินได้ทั้เงประเภทบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลในประเทศต่างๆ ปรับลดลงมาก....http://v-reform.org/tax-reform-for-equity/
Progressive tax
นักเศรษฐศาสตร์กระแสหลักส่วนใหย่ให้ความสำคัญกับการเจริญเติบโตทางเศราฐกิจโดยละเลยการแก้ไขปัญหาการกระจายรายได้ ซึ่งแนวความคิดดังกล่าวได้รับอิทธิพลมาจากงานยวิจัยคลาสนสิคของ ซิมมอน คัซเนทซ์ (1955) ซึ่งเสนอว่าแมื่อประเทศมีการพัฒนาทางเศราฐกิจและรายไ้ประชาชาาติต่อหัวเพ่ิมขึ้น ควาามไม่เท่าเที่ยมกันของการกระตสยรายได้จะเพ่ิมขึ้นเรื่องๆย จนกระทั่งรายได้เพ่ิมขึ้นถึงระดับหนึ่ง การหระจายรวนได้จะเริ่มดีขึ้น เนื่องจากประทเศนั้นๆ จะมีการกำหนดนโยบายสาะารณะที่จะแก้ไขความไม่เท่าเที่ยมกันของการหระจายรายได้ แบบแผนความสัมพันะ์ที่อธิบายโดย คัซเนทซ์ นี้มักเรียกว่าความสัมพันธ์แบบ คัสเนทซ์
ในกรณีของไทยนั้น ปราณี ทินกา (2545) ซึ่งทำการศึกษาคงามเลหื่อล้ำของการกระจายรายได้ในช่วง 2504 - 2544 พบว่า ลักษณะการกระจายรายไ้ของไทยมลักษณะเป็นส่นแรกของตัวยูหัวกลับเช่นเดียวกัน แต่เป้ฯตัวยูที่ลึกมากพอควร จนกระทั่งถึงระดับที่รัฐฐาลควรมีนโยบายและมาตรการการกระจายรายได้อย่างจริงจังแทนที่จะคิดอาศยกฃำกการไหลรินลงสู่เบื้องล่างจากการเติบโตของระบบเศรษฐกจแต่เพียงอย่งเดียวเหมือนช่นในอดีตที่ผ่านมา
โดยทั่วไปแล้วนักเศรษฐศาสตร์เสรีนิยมักเห็นว่า สังคมไม่มีรายได้ แต่ปัจเจกบุคคลเป็นผุ้สร้างรายได้ให้ตนเองรัฐบาลจึงไมควรเาทรัพยกากรจากบุคคลหนึ่งไปดอนให้แก่อีกบุคคลหนึ่งเืพ่อวัตถุประสงค์ในการกระจายรายได้ อันจะทไใ้หความมุ่งมั่นนลใการทำงานลดลง (เพราะเมื่อทำงานมาก มีรายได้มาก ก็ถูกเก็บภาษีมาก) อีกทั้งยังเป็นการสร้งแรงจูงใจให้หนีและเลี่ยงภาษีอีกด้วย นอกจากนั้นในบางกรณีที่ระบบประกันสังคมกว้างขวาง เกินไป ก็จะทำให้คนในสังคมขี้เกี่ยจและไม่ประสงค์จะทำงน (เพราะถึงไม่ทำงานก็สามรถดำรงชีวิตอยู่ได้) นักเศรษฐศาสตร์กลุ่มนี้ซึ่งเชื่อในเสรีภาพของแต่ละบุคคล มักมีความเห็นว่า รัฐบาลไม่ควรมีบลทยาทในการกระจายรายได้ แต่ควรมีบทบาทในการคคุ้มครองกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินเท่านั้น เช่น ป้องกันแและควบคุมมิให้มีการก่ออารชญากรรมและการผิดสัญญา อีกทั้งยังเชื่อว่า ความเท่าเที่ยมกันในด้านโอกาส มีความสำคัญมากกว่าควาทเท่าเที่ยมกันในด้านรายได้โดยนักเศรษฐศาสตร์กลุ่มนี้บางส่วนเชื่อว่า ความเป็นธรรมในการกระจายรายได้สามารถเกิดขึ้นได้หากตลาดมีการแข่งขันสมบูรณ์
อย่างไรก็ตาม นักเศรษฐกศาตรืกลุ่มนี้มัก๔ุกโจมตีในประเด็นสำคัญ กล่าวคือ ในสภาพความเป็นจริง ตลาดมีการผุกขาดนอกจากนี้ ผุ้ผลิตด ผุ้บริโภค และแรงงานต่างก็มิไดมีข้อมุลอย่งสมบุร์ ดังนั้น กาสร้างความเป็นธรรในการกระจายรายได้จึงควรเป้นเป้าหมายหนึ่งที่สำคัญในการดำเนินนโยบายโศรษบกิจของรัฐบาล ซึ่ง ธีรนาภ กาญจนอักษร ผุ้ล่วงลับไปแล้ว เคยให้ความเห็นว่า
" เชื่อว่า ระบบทุนนิยมเสรีนั้นดี แต่การแข่งขันในปัจจุบันนั้นเร่ิมจากจุดที่ไมเ่ท่เที่ยมกัน ดังนั้นต้องมีกลไกบางอบย่างที่จะทำให้เกิดความสมดุลในบางเรื่อง คนที่มีโอกาสมาก เมื่อจะเข้าแข่งขันในสังคมก็จะได้เปรียบกว่าคนอื่นๆ มาก แต่จะทำอย่างไรให้คนอ้อยโอกาสเข้ามาบ้างในวที่จะมีสิทธิ์ มีเสียง มีส่วยนร่วม การพึ่งกลไกการแข่งขชันเสรีอย่างเดียบางที่ก็ไม่ได้ผล "
การหันมในใจควาแตกต่างของรายได้แสดงว่ นักศรษฐศาตร์มีคุณค่าบางอย่างที่ทำให้รู้สึกว่ากระกระจายรายได้ที่ไม่เทาเที่ยมกันหรือเลื่อมล้ำกันจนเกินไปนั้นเป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสม นักปรัชญาที่สำคัญในกลุ่มนี ซึ่งถือว่าเป้นผุ้ให้กำเนิดแนวคิดอรรถประโยชน์นิยม ซึ่งมองว่า เป้าหมายของรัฐบาลควรจะเป็นการแสดวงหาอรรถประดยชน์สูงสุดให้แก่ทุกคนในสงคมรวมกัน ดังนั้น รัฐควรทำหน้าทีในการกระจยรายได้ โดยการอดนเงินจากผุ้มีรายได้สูงมาให้ผุ้มีรายได้ต่ำ เนืองจากเชื่อในสมมติญฐานของการบลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์ส่วนเพ่ิม นั่นคือ การเสียสละเงิน 12 หน่วยจากผุ้มีรายได้สูง (อรรถประโยชน์ลดลงเพียงเล็กน้อย) มาให้ผุ้มีรายได้ต่ำ (อรรประดยชน์เพ่ิมขึ้นมาก ) จากทำให้สวัสดิการในสังคมดีขึ้น แนวคิดของนักปรัชญาอีกท่านหึ่งคอ จอห์น รอว์ ซึงมีความเห็นว่า ควมเป็นธรรมควรมีลักาณปลอดจากความคิดแบบอัตวิสัย ของแต่ละบุคคล และเห็นว่า ควรจะต้องให้ความช่วยเหลือแก่คนที่อยุ่ในฐานะที่ยากจนที่สุดในสังคมก่อน นั่นคือ แนวคิดนี้ให้นำ้หนึกกับกลุ่มคนจนที่สุดของสังคมมากว่าที่จะมาคำนึงถึงอรรประดยชน์โดยรวม
การกระจายรายได้เป็นการสร้างความสมดุลระหว่างการยอมูญเสียประสิทธิภาพไปบางส่วน เพื่่อหใ้ได้มาซึ่งความเ่ท่าเที่ยมกัน ซึ่งการระบุจุดสมดุลดังกล่วสามารถถกเถียงกันได้อย่างไม่มีทางจบสิ้น หล่าวคือ นักเศรษฐศาสตร์เสรีนิยม ซึ่งชื่นชอบกับมิติด้านความมีประสทิธิภาย่อมประสงค์จะให้รับบาลมีบทบาทน้อยที่สุด
ในระบบเศรษฐกิจ ในทางกลับกันนักเศรษฐศาสตร์พัมนาการมักประสงค์จะให้รัฐบาลเข้ามามีบทบาทในการสร้างโอากสให้แก่ประชาชนโดยการเพร่ิมโอากาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการศึกษา การสาธารณสุข และการจ้างงานได้
ในประการสำคัญ ความเหลื่อล้ำในการกระจายราไ้ไม่ใช่กระบวการกติ แต่เป็นส่ิงที่สัคมเลื่อก ังนั้นจึงเกี่ยว้องกับปรัชญาและอุดมการณืของผุ้คนในสังคม ดังเช่นที่ อาร์โนว์ ฮาเบอเกอร์ ได้ขชี้ว่า การใช้นดยบายเืพ่อสร้างความเท่าเที่ยมในการกระจายรายได้ในแต่ละประเทศนั้น สวนหคึ่งก็ขึ้นอยุ่กับการสนับสนนุนของชนชั้นกลางในสังคมว่า เห้นความสำคัญของการลดความเลหื่อล้ำในการกระจายรายไ้หรือไม่
อาทิ ผุ้จนในประเทศสหรัฐอเมริกาเชขื่อว่าความเหลื่อล้ำเป็นแรงจุงใจให้เศราฐกิจเจริญเติบโตจึง ไม่ได้ดำเนินมาตการลดความเลื่อมล้ำใ ในทางตรงกันข้าม หากพิจารณาประเทศที่เป้นตัวอย่งของการกระจายรายไ้ที่ดียุโรปเหนือ เช่น นอร์เวย์ สวีเดน เดนมาร์ก เยอรมนี ประเทศเหล่านี้ล้วนแต่มีกระบวนการทางประวัติศาสตร์ของการต่อสู้ตั้งแต่การตอสู้ทางอุดมการณ์ของขยวนการต่าง ๆทั้งฝ่ายสังคมนิยมและทุนนิยมโดยมีการปรับเลปี่ยนตลอดเวลา ทั้งนี้ ความเข้มแข็งของขวบนการรแรงงาน ของเกษตรกร ของกลุ่มต่างๆ ในสังคม ลวนเกี่ยวข้องกับการต่อสู้ทางความคิดทั้งส้ิน อาจกล่าวได้ว่า ประเทศเหล่านี้เลหื่อกที่จะสร้างสัคมที่มีความเท่าเที่ยมกัน โดยผ่านกานรใช้นโยบายประกันสังคม นโยบายสุขภาพ นโยบายภาษี ฯลฯ ดังที่ ผาสุก พงษ์ไพจิต ได้ชี้ว่า ญี่ปุ่นและยุโรปเหนือเลื่อกที่จะมุ่งไปสู่ "สังคมเสมอหน้า" ด้วยสังคมเชื่อว่ ควาาเสมอหน้าทำให้สังคมมีสัจติสุขมากว่าดดยที่ในกรณีของญีปุ่น นั้น ความเจริญเติบโตทางเศราฐกิจก็ไม่ย่ิงหย่อนกว่ากรณีของสหรัฐอเมริกา
หากพิจารณาเปฑาะเครื่องมือทางด้านภาษีนั้น นโยบายภาษีไม่ว่าจะเป็นในช่วงเวลาใดหรือในสถานที่ใดก็ตามล้วนแล้วแต่เป็นเรื่องของการสร้างสมดุลใหห้เกิดขึ้นระห่างเงื่อนไขของความมีประสิทธภาและความเท่าเที่ยมกันทั้งส้ิน ดังเช่นที่งานเขียนจำนวนมากได้พยายามจะตอบคำถามเกี่ยกับการออกแบบภาษีเพื่อนำไปสู่ความสมดุลดังกล่ว ซึงในทางปฏิบัติแล้ว ปัจจัยทางการเมืองไมเ่พียงแต่จะเป็นปัจจัยหนึงในการสร้างคึวามสมดุลเท่านั้น หากแต่เป็นปัจจัยที่คีอบงำทังหลักการของประสิทะิภาพและลัการของความเท่าเที่ยมกันอีกด้วย
ด้วยเหตุนี้การพิจารณาในมิติเชิงเศรษฐศาสตร์การเมืองของภาษีอากรจึงเป็นเรื่องสำคัญ ดังตัวอย่างของการก่อกำเนินดระบบภาษีก้าวหน้าในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่ง สติฟ เวีซแมน ได้ชี้ให้เห็นว่า วิกฤตเศรษฐกิจและสงครามต่างก็เป็นปัจจัยทีก่อกำเนินภาษีเงินได้ที่มีโครงสร้างกาวหน้า ดดยการสร้างความเห็นพ้อง ได้มีการพัฒนามาเป็นลำดับในช่วงทศวรรษ และที่สำคัญข้อถกเถียงที่เกิดขึ้น ในช่วงเวลาดังกล่าว มิใช่เป็นการถกเถียงเกี่ยวกับระบบภาษีโดยตรง หากแต่เป็นการภกเถียงเกี่ยวกับคำภถามที่ว่า สังคมแบบใดที่ชาวอเมริกันต้องการ....
http://v-reform.org/wp-content/uploads/2012/10/Full-Paper_tax_pan.pdf
ในกรณีของไทยนั้น ปราณี ทินกา (2545) ซึ่งทำการศึกษาคงามเลหื่อล้ำของการกระจายรายได้ในช่วง 2504 - 2544 พบว่า ลักษณะการกระจายรายไ้ของไทยมลักษณะเป็นส่นแรกของตัวยูหัวกลับเช่นเดียวกัน แต่เป้ฯตัวยูที่ลึกมากพอควร จนกระทั่งถึงระดับที่รัฐฐาลควรมีนโยบายและมาตรการการกระจายรายได้อย่างจริงจังแทนที่จะคิดอาศยกฃำกการไหลรินลงสู่เบื้องล่างจากการเติบโตของระบบเศรษฐกจแต่เพียงอย่งเดียวเหมือนช่นในอดีตที่ผ่านมา
โดยทั่วไปแล้วนักเศรษฐศาสตร์เสรีนิยมักเห็นว่า สังคมไม่มีรายได้ แต่ปัจเจกบุคคลเป็นผุ้สร้างรายได้ให้ตนเองรัฐบาลจึงไมควรเาทรัพยกากรจากบุคคลหนึ่งไปดอนให้แก่อีกบุคคลหนึ่งเืพ่อวัตถุประสงค์ในการกระจายรายได้ อันจะทไใ้หความมุ่งมั่นนลใการทำงานลดลง (เพราะเมื่อทำงานมาก มีรายได้มาก ก็ถูกเก็บภาษีมาก) อีกทั้งยังเป็นการสร้งแรงจูงใจให้หนีและเลี่ยงภาษีอีกด้วย นอกจากนั้นในบางกรณีที่ระบบประกันสังคมกว้างขวาง เกินไป ก็จะทำให้คนในสังคมขี้เกี่ยจและไม่ประสงค์จะทำงน (เพราะถึงไม่ทำงานก็สามรถดำรงชีวิตอยู่ได้) นักเศรษฐศาสตร์กลุ่มนี้ซึ่งเชื่อในเสรีภาพของแต่ละบุคคล มักมีความเห็นว่า รัฐบาลไม่ควรมีบลทยาทในการกระจายรายได้ แต่ควรมีบทบาทในการคคุ้มครองกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินเท่านั้น เช่น ป้องกันแและควบคุมมิให้มีการก่ออารชญากรรมและการผิดสัญญา อีกทั้งยังเชื่อว่า ความเท่าเที่ยมกันในด้านโอกาส มีความสำคัญมากกว่าควาทเท่าเที่ยมกันในด้านรายได้โดยนักเศรษฐศาสตร์กลุ่มนี้บางส่วนเชื่อว่า ความเป็นธรรมในการกระจายรายได้สามารถเกิดขึ้นได้หากตลาดมีการแข่งขันสมบูรณ์
อย่างไรก็ตาม นักเศรษฐกศาตรืกลุ่มนี้มัก๔ุกโจมตีในประเด็นสำคัญ กล่าวคือ ในสภาพความเป็นจริง ตลาดมีการผุกขาดนอกจากนี้ ผุ้ผลิตด ผุ้บริโภค และแรงงานต่างก็มิไดมีข้อมุลอย่งสมบุร์ ดังนั้น กาสร้างความเป็นธรรในการกระจายรายได้จึงควรเป้นเป้าหมายหนึ่งที่สำคัญในการดำเนินนโยบายโศรษบกิจของรัฐบาล ซึ่ง ธีรนาภ กาญจนอักษร ผุ้ล่วงลับไปแล้ว เคยให้ความเห็นว่า
" เชื่อว่า ระบบทุนนิยมเสรีนั้นดี แต่การแข่งขันในปัจจุบันนั้นเร่ิมจากจุดที่ไมเ่ท่เที่ยมกัน ดังนั้นต้องมีกลไกบางอบย่างที่จะทำให้เกิดความสมดุลในบางเรื่อง คนที่มีโอกาสมาก เมื่อจะเข้าแข่งขันในสังคมก็จะได้เปรียบกว่าคนอื่นๆ มาก แต่จะทำอย่างไรให้คนอ้อยโอกาสเข้ามาบ้างในวที่จะมีสิทธิ์ มีเสียง มีส่วยนร่วม การพึ่งกลไกการแข่งขชันเสรีอย่างเดียบางที่ก็ไม่ได้ผล "
การหันมในใจควาแตกต่างของรายได้แสดงว่ นักศรษฐศาตร์มีคุณค่าบางอย่างที่ทำให้รู้สึกว่ากระกระจายรายได้ที่ไม่เทาเที่ยมกันหรือเลื่อมล้ำกันจนเกินไปนั้นเป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสม นักปรัชญาที่สำคัญในกลุ่มนี ซึ่งถือว่าเป้นผุ้ให้กำเนิดแนวคิดอรรถประโยชน์นิยม ซึ่งมองว่า เป้าหมายของรัฐบาลควรจะเป็นการแสดวงหาอรรถประดยชน์สูงสุดให้แก่ทุกคนในสงคมรวมกัน ดังนั้น รัฐควรทำหน้าทีในการกระจยรายได้ โดยการอดนเงินจากผุ้มีรายได้สูงมาให้ผุ้มีรายได้ต่ำ เนืองจากเชื่อในสมมติญฐานของการบลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์ส่วนเพ่ิม นั่นคือ การเสียสละเงิน 12 หน่วยจากผุ้มีรายได้สูง (อรรถประโยชน์ลดลงเพียงเล็กน้อย) มาให้ผุ้มีรายได้ต่ำ (อรรประดยชน์เพ่ิมขึ้นมาก ) จากทำให้สวัสดิการในสังคมดีขึ้น แนวคิดของนักปรัชญาอีกท่านหึ่งคอ จอห์น รอว์ ซึงมีความเห็นว่า ควมเป็นธรรมควรมีลักาณปลอดจากความคิดแบบอัตวิสัย ของแต่ละบุคคล และเห็นว่า ควรจะต้องให้ความช่วยเหลือแก่คนที่อยุ่ในฐานะที่ยากจนที่สุดในสังคมก่อน นั่นคือ แนวคิดนี้ให้นำ้หนึกกับกลุ่มคนจนที่สุดของสังคมมากว่าที่จะมาคำนึงถึงอรรประดยชน์โดยรวม
การกระจายรายได้เป็นการสร้างความสมดุลระหว่างการยอมูญเสียประสิทธิภาพไปบางส่วน เพื่่อหใ้ได้มาซึ่งความเ่ท่าเที่ยมกัน ซึ่งการระบุจุดสมดุลดังกล่วสามารถถกเถียงกันได้อย่างไม่มีทางจบสิ้น หล่าวคือ นักเศรษฐศาสตร์เสรีนิยม ซึ่งชื่นชอบกับมิติด้านความมีประสทิธิภาย่อมประสงค์จะให้รับบาลมีบทบาทน้อยที่สุด
ในระบบเศรษฐกิจ ในทางกลับกันนักเศรษฐศาสตร์พัมนาการมักประสงค์จะให้รัฐบาลเข้ามามีบทบาทในการสร้างโอากสให้แก่ประชาชนโดยการเพร่ิมโอากาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการศึกษา การสาธารณสุข และการจ้างงานได้
ในประการสำคัญ ความเหลื่อล้ำในการกระจายราไ้ไม่ใช่กระบวการกติ แต่เป็นส่ิงที่สัคมเลื่อก ังนั้นจึงเกี่ยว้องกับปรัชญาและอุดมการณืของผุ้คนในสังคม ดังเช่นที่ อาร์โนว์ ฮาเบอเกอร์ ได้ขชี้ว่า การใช้นดยบายเืพ่อสร้างความเท่าเที่ยมในการกระจายรายได้ในแต่ละประเทศนั้น สวนหคึ่งก็ขึ้นอยุ่กับการสนับสนนุนของชนชั้นกลางในสังคมว่า เห้นความสำคัญของการลดความเลหื่อล้ำในการกระจายรายไ้หรือไม่
อาทิ ผุ้จนในประเทศสหรัฐอเมริกาเชขื่อว่าความเหลื่อล้ำเป็นแรงจุงใจให้เศราฐกิจเจริญเติบโตจึง ไม่ได้ดำเนินมาตการลดความเลื่อมล้ำใ ในทางตรงกันข้าม หากพิจารณาประเทศที่เป้นตัวอย่งของการกระจายรายไ้ที่ดียุโรปเหนือ เช่น นอร์เวย์ สวีเดน เดนมาร์ก เยอรมนี ประเทศเหล่านี้ล้วนแต่มีกระบวนการทางประวัติศาสตร์ของการต่อสู้ตั้งแต่การตอสู้ทางอุดมการณ์ของขยวนการต่าง ๆทั้งฝ่ายสังคมนิยมและทุนนิยมโดยมีการปรับเลปี่ยนตลอดเวลา ทั้งนี้ ความเข้มแข็งของขวบนการรแรงงาน ของเกษตรกร ของกลุ่มต่างๆ ในสังคม ลวนเกี่ยวข้องกับการต่อสู้ทางความคิดทั้งส้ิน อาจกล่าวได้ว่า ประเทศเหล่านี้เลหื่อกที่จะสร้างสัคมที่มีความเท่าเที่ยมกัน โดยผ่านกานรใช้นโยบายประกันสังคม นโยบายสุขภาพ นโยบายภาษี ฯลฯ ดังที่ ผาสุก พงษ์ไพจิต ได้ชี้ว่า ญี่ปุ่นและยุโรปเหนือเลื่อกที่จะมุ่งไปสู่ "สังคมเสมอหน้า" ด้วยสังคมเชื่อว่ ควาาเสมอหน้าทำให้สังคมมีสัจติสุขมากว่าดดยที่ในกรณีของญีปุ่น นั้น ความเจริญเติบโตทางเศราฐกิจก็ไม่ย่ิงหย่อนกว่ากรณีของสหรัฐอเมริกา
หากพิจารณาเปฑาะเครื่องมือทางด้านภาษีนั้น นโยบายภาษีไม่ว่าจะเป็นในช่วงเวลาใดหรือในสถานที่ใดก็ตามล้วนแล้วแต่เป็นเรื่องของการสร้างสมดุลใหห้เกิดขึ้นระห่างเงื่อนไขของความมีประสิทธภาและความเท่าเที่ยมกันทั้งส้ิน ดังเช่นที่งานเขียนจำนวนมากได้พยายามจะตอบคำถามเกี่ยกับการออกแบบภาษีเพื่อนำไปสู่ความสมดุลดังกล่ว ซึงในทางปฏิบัติแล้ว ปัจจัยทางการเมืองไมเ่พียงแต่จะเป็นปัจจัยหนึงในการสร้างคึวามสมดุลเท่านั้น หากแต่เป็นปัจจัยที่คีอบงำทังหลักการของประสิทะิภาพและลัการของความเท่าเที่ยมกันอีกด้วย
ด้วยเหตุนี้การพิจารณาในมิติเชิงเศรษฐศาสตร์การเมืองของภาษีอากรจึงเป็นเรื่องสำคัญ ดังตัวอย่างของการก่อกำเนินดระบบภาษีก้าวหน้าในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่ง สติฟ เวีซแมน ได้ชี้ให้เห็นว่า วิกฤตเศรษฐกิจและสงครามต่างก็เป็นปัจจัยทีก่อกำเนินภาษีเงินได้ที่มีโครงสร้างกาวหน้า ดดยการสร้างความเห็นพ้อง ได้มีการพัฒนามาเป็นลำดับในช่วงทศวรรษ และที่สำคัญข้อถกเถียงที่เกิดขึ้น ในช่วงเวลาดังกล่าว มิใช่เป็นการถกเถียงเกี่ยวกับระบบภาษีโดยตรง หากแต่เป็นการภกเถียงเกี่ยวกับคำภถามที่ว่า สังคมแบบใดที่ชาวอเมริกันต้องการ....
http://v-reform.org/wp-content/uploads/2012/10/Full-Paper_tax_pan.pdf
วันพุธที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2560
≠ ( part 2)
ในอดีต การ "สงเคราะห์" อาจจะ่งผลดีทางอารมณ์ความรู้สึก ทั้ง "ผู้สงเคราะห์" และ "ผู้รับสงเคราะห์" เพราะนอกจากช่วงเวลาแวบเดียวของการรับการสงเคราะห์แล้ว ขีีวิตของ "ผู้รับสงเคราะห์" ไม่ได้พ้องพานเข้าำปเกี่ยวข้องอะไรกับ "ผู้สงเคราะห์" เลย ดังนั้น การเป็นคนไร้ศักดิ์สรีรอรับของบริจาคจึงเป้นเรื่งอที่รับได้ รวมทั้ง "ผู้รับการสงเคราะห์" ก็รูสึกได้ถึงวาระพิเศษที่ได้รับการสงเคราะห์
ที่สำคัญ ความสัมพันธ์ลักษณะนี้คือ ลักษณะเด่นหนึ่งในความเป็นไทย ที่ปลูกฝงกันมา ที่ต้องเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน และเป็นการเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แบบ "ผุ้ใหญ่-ผู้น้อย"
ในช่วงเวลา 30 ปีที่ผ่านมา ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในชนบท ก่อให้เกิดการประกอบอาชีพในลักษณะใหม่ซึ่งทำให้มาตรฐานการดำรงชีวิตปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ความสามารถในการครอบครองสินค้าจำเป็นในชีวิตประจำวันเป็นเรื่องปกติธรรมดาไป หากท่านผุ้อ่านได้มีโอากสไปเดินเล่นตามห้างสรรพสินค้าหรือซูเปอร์มาเก็ตต่างจังหวัดจะพบเห็นถึงความสามารถในการคีอบครองสินค้าอุปโภค-บริโภคขยยตัวมากขึ้นอย่างมากมาย นีเป็นเหตุผลว่าทำไมห้างสรรพสินึ้า แลซูเปอร์มาร์เก็ตขยายตัวออกหัวเมืองไกลมากขึ้นตามลำดับ
ความเปลี่ยนแปลงทางเศราฐกิจนี้ ได้ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในความสัมพันธ์ทางสังคมอย่างลึกซึ้งด้วย โดยเแาพอย่างยิ่งการให้ความช่วยเหลือในรูปแบบของการให้ความ"สงเคราะห์" ลักษณะเดิมกลายเป็นเรื่องที่ไม่จำเป็นและการรับของสงเคราะห์เป็นเรื่องของการไร้ซึ่งศักดิ์ศรีไป
หากสำรวจกันจริงๆ ในเขตพื้นที่ที่มีความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจเข้ามข้นนั้น หากมีพิธีการให้การสงเคราะห์ จะพบว่าจำนวนผุ้ที่เข้ารับการสงเคราะห์นั้นน้อยลง และมักจะเป็นการเกณฑ์หรือขอร้องจากเจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ มากขึ้น แม้ว่าคนในพื้นที่นั้นอาจจะยังคงมีความยากจน หรือมีรายได้ไม่สูงมากนักก็ตาม ยกเว้นว่าในเขตห่างไกลมากๆ หรือในช่วงเวลาวิกฤติภัยธรรมชาติ การรับของแจกจึงไม่ใช่เรื่องพิเศษที่ควรจะรำลึกถึงบุญคุณผุ้ให้อีกต่อไป หากแต่เป็นเรื่องไร้ความหมายมากขึ้นๆ ที่สำคัญ นอกจากไร้ความมหายแล้ว ยังแฝงด้วยความรุ้สึกว่าถุกดูหมิ่นศักดิ์ศรีอีกด้วย
กล่าวไ้ว่ ความเปลี่ยนแปลวทางเศรษฐกิจ ได้ทำให้เปลี่ยนแปลงลักษณะของความยากจน จากคยาม "ยากจนสมบูรณ์" มาสู่ความ "ยากจนเชิงสัมพัทธ์" และความเปลี่่ยนแปลงนี้ได้ทำให้ความคิดทางด้านความสัมพันธ์ทางสังคมเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
ความ"ยากจนสมบูรณ์" ต้อการและยอมรับการสงเคราะห์แต่ความ "ยากจนเชิงสัมพันธ์" ต้อวการโอากสและความเท่าเที่ยมกัน
ในเขชตพื้นที่ความเปลี่ยนแปลงเช่นนี ระบบอุปถัมภ์ในชนบทที่ครังหนึ่งเคยเ็นการจัดความสัมพันธ์ทงสังคมเชิงผู้ใหญ่ ผู้น้อยและเป็นเชิวสงเคราะห์ ก็ต้องปรับเปลี่ยนอย่างลึกซึ้ง จากเดิมที่สามารถเรียกร้องความจงรักภักีได้ยาวนาน ก็เป็นเพียงแลกเปลี่ยนความจงรักภักดีกันเป็นครั้งๆ ไป จนอาจจะกล่วได้ว่าได้สูญเสียลักษณุะสำคัญของระบบอุปถัมภ์ไปหมดแล้ว
ในขณะที่ความเจริญเติบโตทางเศราฐกิจผลักให้ประเทศไทยเข้าสู่กลุ่ม "ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง" ในนิยามของธนาคารโลก ขณะที่ผลประโยชน์ในภาคเกษตรตกอยู่กับพ่อค้าคนกลางและบิรษัทขนาดใหญ่ในอุตสาหกรรมเกษตรมากกว่าเกษตรกรรายย่อย ส่งผลให้ประชาชนในชนบทดิ้นรนแสวงหารายได้ทางอื่นนอกภาคเกษตร ครหลายล้านคนย้ายเข้ามาทำงานในตัวเมือง มีรายได้จากการเกษตรน้อยลงอย่างต่อเนื่อง
ผศ.ดร. อภิชาติ สถิตนิรามัย จากคณธเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร ขยายความผลพวงของปรากฎการณ์นี้ที่มีต่อลักษณะของ "ระบบอุปถัมภ์" ในชนบทว่า
เมื่อเงินได้ส่วนใหญ่มาจากนอกภาคเกษตร สิ่งทนี้อย่งน้อยก็หมายความว่า แหล่งเงินได้ของชาวชนบทมีหลายแหล่งมากขึ้นรวมทั้งแหล่งเิงนกุ้ในระบบ เช่น กองทุนหมุ่บ้าน กลุ่มออมทรัพย์ ธ.ก.ส. ก็เพ่ิมขึ้นด้วย ดังนั้นชาวชนบทจึงมีความจำเป็นที่จะต้องพึ่งพิงผุ้อุปถัมภ์ในภาคการเกษตรน้อยลบงด้วย ในอีกด้านหนึ่งนโยบายประชานิยมหลายแบบก็ทำให้ชาวชนบทไม่จำต้องพึ่งพิงผู้อุปถัมภ์ท้องถ่ินอีกต่อไป พุดอีกแบบคือ นโยบายประชานิยมทำหน้าที่แทนผุ้อุปถัมภ์ดั้งเดิม ในแง่นี้ ชาวชนบทส่วนใหญ่จึงหลายเป็นเสรชนที่หลุดออกจากเครือข่ายอุปถัมภ์แบบเดิมๆ แล้ว เขาไม่มีความจำเป็ฯใดๆ ที่จะต้องเชื่อฟังหัวคะแนนอีกต่อไป
นอกจากระดับ "ความยากจนสัมพันธ์" (ความเลื่อล้ำ) จะส่งผลต่อความรุ้สึกว่าภาวะนี้ "รับไม่ได้" มากกว่าในอดีตแล้ว บรรดา "คนจน" และคนเฉียดจน" ในไทย ของประชากรทั้งประเทศ หรือ 19.6 ล้านคน) ยังมีความไม่มั่นคงในชีวิตสูงกว่าครึ่งศตวรรษก่อน เนื่องจากการดำรงชีวติของพวกเขาต้องพึ่งพาอาศัยระบบตลาดมากว่าเดิม
ย้อนหลังกลับไปเมื่อปี พ.ศ. 2505 ประเทศไทยยังมีป่าไม้ราว 17.1 ล้านไร่ หรือร้อยละ 53.3 ของพื้นที่ทั้งประเทศสภาพแวดล้อมโดยรวมยังอุดมสมบูรณ์ คนในชนบทถึงแม้จะมีรายได้ต่ำก็ยังสามารถพึ่งพาธรรมชาติได้มาก ทั้งการหาอาหารและนำทรัพยากรมาทำเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ในครัวเรือน ทำให้อยู่ได้อย่งไม่ขัดสนถึงแม้จะมีเงินสดน้อยก็ตาม
ห้าทศวรรษหลังจากปี 2505 ประชากรไทยเพ่ิมขึ้นกว่า 2.3 เท่า ป่าไม้และสิ่งแวดล้อมถูกทำลายไปกว่าครึ่ง ไม่สามารถเป็นแหล่งยังชีพของผุ้คนได้เหมือนเคย ระบบเศราฐกิจเข้าสุ่ทุนนิยมอุตสาหกรรมและสังคมบริโภคนิยมอย่างเต็มตัว คนทุกระดับใช้จ่ายเพื่อการบริโภคมากขึ้น นอกจานี้คาครองชีพ (เงินเฟ้อ) ก็เพิ่มสูงขึ้นในเวลาเดียวกัน ส่งผลให้กำลังซื้อที่แท้จริงเพ่ิมขึ้นน้อยกว่ารายได้ที่เป็นตัวเงิน ทั้งหมดนี้หมายความว่า ถึงแม้คนไทยโดยเฉลี่ยจะมีรายไ้มากขึ้น "คนจน" และ "คนเฉียดจน" ก็น่าจะมีความไม่มัี่นคงในชีวิตสูงกว่าสมัยที่ปู่ย่าตายายของพวกเขายังเด็ก...
บางส่วนจาก "ความเหลื่อมล้ำ ฉบับพกพา", โดย สฤณี อาชวานันทกุล.
ที่สำคัญ ความสัมพันธ์ลักษณะนี้คือ ลักษณะเด่นหนึ่งในความเป็นไทย ที่ปลูกฝงกันมา ที่ต้องเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน และเป็นการเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แบบ "ผุ้ใหญ่-ผู้น้อย"
ในช่วงเวลา 30 ปีที่ผ่านมา ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในชนบท ก่อให้เกิดการประกอบอาชีพในลักษณะใหม่ซึ่งทำให้มาตรฐานการดำรงชีวิตปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ความสามารถในการครอบครองสินค้าจำเป็นในชีวิตประจำวันเป็นเรื่องปกติธรรมดาไป หากท่านผุ้อ่านได้มีโอากสไปเดินเล่นตามห้างสรรพสินค้าหรือซูเปอร์มาเก็ตต่างจังหวัดจะพบเห็นถึงความสามารถในการคีอบครองสินค้าอุปโภค-บริโภคขยยตัวมากขึ้นอย่างมากมาย นีเป็นเหตุผลว่าทำไมห้างสรรพสินึ้า แลซูเปอร์มาร์เก็ตขยายตัวออกหัวเมืองไกลมากขึ้นตามลำดับ
ความเปลี่ยนแปลงทางเศราฐกิจนี้ ได้ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในความสัมพันธ์ทางสังคมอย่างลึกซึ้งด้วย โดยเแาพอย่างยิ่งการให้ความช่วยเหลือในรูปแบบของการให้ความ"สงเคราะห์" ลักษณะเดิมกลายเป็นเรื่องที่ไม่จำเป็นและการรับของสงเคราะห์เป็นเรื่องของการไร้ซึ่งศักดิ์ศรีไป
หากสำรวจกันจริงๆ ในเขตพื้นที่ที่มีความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจเข้ามข้นนั้น หากมีพิธีการให้การสงเคราะห์ จะพบว่าจำนวนผุ้ที่เข้ารับการสงเคราะห์นั้นน้อยลง และมักจะเป็นการเกณฑ์หรือขอร้องจากเจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ มากขึ้น แม้ว่าคนในพื้นที่นั้นอาจจะยังคงมีความยากจน หรือมีรายได้ไม่สูงมากนักก็ตาม ยกเว้นว่าในเขตห่างไกลมากๆ หรือในช่วงเวลาวิกฤติภัยธรรมชาติ การรับของแจกจึงไม่ใช่เรื่องพิเศษที่ควรจะรำลึกถึงบุญคุณผุ้ให้อีกต่อไป หากแต่เป็นเรื่องไร้ความหมายมากขึ้นๆ ที่สำคัญ นอกจากไร้ความมหายแล้ว ยังแฝงด้วยความรุ้สึกว่าถุกดูหมิ่นศักดิ์ศรีอีกด้วย
กล่าวไ้ว่ ความเปลี่ยนแปลวทางเศรษฐกิจ ได้ทำให้เปลี่ยนแปลงลักษณะของความยากจน จากคยาม "ยากจนสมบูรณ์" มาสู่ความ "ยากจนเชิงสัมพัทธ์" และความเปลี่่ยนแปลงนี้ได้ทำให้ความคิดทางด้านความสัมพันธ์ทางสังคมเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
ความ"ยากจนสมบูรณ์" ต้อการและยอมรับการสงเคราะห์แต่ความ "ยากจนเชิงสัมพันธ์" ต้อวการโอากสและความเท่าเที่ยมกัน
ในเขชตพื้นที่ความเปลี่ยนแปลงเช่นนี ระบบอุปถัมภ์ในชนบทที่ครังหนึ่งเคยเ็นการจัดความสัมพันธ์ทงสังคมเชิงผู้ใหญ่ ผู้น้อยและเป็นเชิวสงเคราะห์ ก็ต้องปรับเปลี่ยนอย่างลึกซึ้ง จากเดิมที่สามารถเรียกร้องความจงรักภักีได้ยาวนาน ก็เป็นเพียงแลกเปลี่ยนความจงรักภักดีกันเป็นครั้งๆ ไป จนอาจจะกล่วได้ว่าได้สูญเสียลักษณุะสำคัญของระบบอุปถัมภ์ไปหมดแล้ว
ในขณะที่ความเจริญเติบโตทางเศราฐกิจผลักให้ประเทศไทยเข้าสู่กลุ่ม "ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง" ในนิยามของธนาคารโลก ขณะที่ผลประโยชน์ในภาคเกษตรตกอยู่กับพ่อค้าคนกลางและบิรษัทขนาดใหญ่ในอุตสาหกรรมเกษตรมากกว่าเกษตรกรรายย่อย ส่งผลให้ประชาชนในชนบทดิ้นรนแสวงหารายได้ทางอื่นนอกภาคเกษตร ครหลายล้านคนย้ายเข้ามาทำงานในตัวเมือง มีรายได้จากการเกษตรน้อยลงอย่างต่อเนื่อง
ผศ.ดร. อภิชาติ สถิตนิรามัย จากคณธเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร ขยายความผลพวงของปรากฎการณ์นี้ที่มีต่อลักษณะของ "ระบบอุปถัมภ์" ในชนบทว่า
เมื่อเงินได้ส่วนใหญ่มาจากนอกภาคเกษตร สิ่งทนี้อย่งน้อยก็หมายความว่า แหล่งเงินได้ของชาวชนบทมีหลายแหล่งมากขึ้นรวมทั้งแหล่งเิงนกุ้ในระบบ เช่น กองทุนหมุ่บ้าน กลุ่มออมทรัพย์ ธ.ก.ส. ก็เพ่ิมขึ้นด้วย ดังนั้นชาวชนบทจึงมีความจำเป็นที่จะต้องพึ่งพิงผุ้อุปถัมภ์ในภาคการเกษตรน้อยลบงด้วย ในอีกด้านหนึ่งนโยบายประชานิยมหลายแบบก็ทำให้ชาวชนบทไม่จำต้องพึ่งพิงผู้อุปถัมภ์ท้องถ่ินอีกต่อไป พุดอีกแบบคือ นโยบายประชานิยมทำหน้าที่แทนผุ้อุปถัมภ์ดั้งเดิม ในแง่นี้ ชาวชนบทส่วนใหญ่จึงหลายเป็นเสรชนที่หลุดออกจากเครือข่ายอุปถัมภ์แบบเดิมๆ แล้ว เขาไม่มีความจำเป็ฯใดๆ ที่จะต้องเชื่อฟังหัวคะแนนอีกต่อไป
นอกจากระดับ "ความยากจนสัมพันธ์" (ความเลื่อล้ำ) จะส่งผลต่อความรุ้สึกว่าภาวะนี้ "รับไม่ได้" มากกว่าในอดีตแล้ว บรรดา "คนจน" และคนเฉียดจน" ในไทย ของประชากรทั้งประเทศ หรือ 19.6 ล้านคน) ยังมีความไม่มั่นคงในชีวิตสูงกว่าครึ่งศตวรรษก่อน เนื่องจากการดำรงชีวติของพวกเขาต้องพึ่งพาอาศัยระบบตลาดมากว่าเดิม
ย้อนหลังกลับไปเมื่อปี พ.ศ. 2505 ประเทศไทยยังมีป่าไม้ราว 17.1 ล้านไร่ หรือร้อยละ 53.3 ของพื้นที่ทั้งประเทศสภาพแวดล้อมโดยรวมยังอุดมสมบูรณ์ คนในชนบทถึงแม้จะมีรายได้ต่ำก็ยังสามารถพึ่งพาธรรมชาติได้มาก ทั้งการหาอาหารและนำทรัพยากรมาทำเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ในครัวเรือน ทำให้อยู่ได้อย่งไม่ขัดสนถึงแม้จะมีเงินสดน้อยก็ตาม
ห้าทศวรรษหลังจากปี 2505 ประชากรไทยเพ่ิมขึ้นกว่า 2.3 เท่า ป่าไม้และสิ่งแวดล้อมถูกทำลายไปกว่าครึ่ง ไม่สามารถเป็นแหล่งยังชีพของผุ้คนได้เหมือนเคย ระบบเศราฐกิจเข้าสุ่ทุนนิยมอุตสาหกรรมและสังคมบริโภคนิยมอย่างเต็มตัว คนทุกระดับใช้จ่ายเพื่อการบริโภคมากขึ้น นอกจานี้คาครองชีพ (เงินเฟ้อ) ก็เพิ่มสูงขึ้นในเวลาเดียวกัน ส่งผลให้กำลังซื้อที่แท้จริงเพ่ิมขึ้นน้อยกว่ารายได้ที่เป็นตัวเงิน ทั้งหมดนี้หมายความว่า ถึงแม้คนไทยโดยเฉลี่ยจะมีรายไ้มากขึ้น "คนจน" และ "คนเฉียดจน" ก็น่าจะมีความไม่มัี่นคงในชีวิตสูงกว่าสมัยที่ปู่ย่าตายายของพวกเขายังเด็ก...
บางส่วนจาก "ความเหลื่อมล้ำ ฉบับพกพา", โดย สฤณี อาชวานันทกุล.
≠
ถ้าหากความเฃื่อมล้ำเกิดจาพฤติกรรมส่วนบุคคลล้วนๆ เราก็คงไม่มองว่าความเเหลื่อมล้ำระหว่างบุคคลทั้งสองนี้เป็น "ปัญหา" ที่ควรได้รับการแก้ไข แต่ในโลกแห่งความจริงความเลหื่อมล้ำไม่ว่าจะมิติใดก้ตามมัจะเป็นผลลัพธ์ ของเหตุััจัยต่าง ๆที่สลับซับซ้อนและซ้อนทับกัน หลายปัจจัยอยู่ นอกเหนือการกระทำของปัจเจก และเป็น "ปัญหาโครงสร้าง"ของสังคม
มุมมองเรื่องความเหลื่อมล้ำว่ามิติใดเป็น "ปัญหา" บ้างและถ้าเป็นปัญหาเราควรแแก้ไข "อย่างไร" นั้นเป็ฯเรื่องที่ถกเถียงกันได้มาก แต่ประเด็นหนึ่งที่ปฏิเสธไม่ได้คื สังคมที่มีความเลื่อมล้ำสูงเป็นสังคมที่คนรู้สึกว่า "ไม่น่าอยู่" เพราะรู้สึกว่าคนจนขยับฐานะลำบากไม่ว่าจะขยันเพียงใด เพราะช่วองว่างใหญ่มาก ส่วนคนรวยที่ "เกิดมารวย" ก็ใช้ความมั่งคีั้งสะสมที่บิดามารดามอบให้เป็นมรดกสร้างความมั่งคั่งต่อไปได้อย่างง่ายดาย
ความเลื่อมล้ำเป็น "ปัญหา" ในสังคมเพราะคงไม่มีใครอยากอยุ่ในสังคมที่สถานภาพและฐานะของผุ้คนถูกตอกตรึงตั้งแต่เกิด เพราะทุกคนเลื่อกเกิดไมได้ แต่อยากมีสิทธิแลเสรีภาพในการเลื่อกทางเดินชีวิตของตัวเอง ถ้าหากความเลื่อมล้ำส่วนหนึ่งเป้นผลลัพธ์ขอปัญาเชิงโครงสร้าง เราก็ย่อมบรรเทาหรือกำจัดมันได้ด้วยการแห้ปัญหาเชิงโครงสร้างเหล่านั้น
นพ.ประเวศ วะสี กล่าวใปี พ.ศ.2544 ว่า "คนไทยควรจะทำความเข้าใจว่า ความยากจนไม่ไ้เกิดจากเวรกรรแต่ชาติปางก่อน แต่เกิจากโครงสร้างที่อยุติธรรมในสังคม ต้องทำความเข้าใจโครงสร้างและช่วยกันปฏิรุปโตรงสร้างที่ทำให้คนจน"
นิธิ เอียวศรีวงศ์ : ความเหลื่อมล้ำอาจเกิดได้ 4 ด้านด้วยกัน คือเหลื่อมล้ำทางสิทธิ-โอกาส-อำนาจ-ศักดิ์ศรี ไม่จำเป็นว่าความเหลื่อล้ำท้ง 4 ด้านนี้ต้องเกิดขึ้นจากกฎหมายเพียงอย่างเดียว ส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากแนวทางการปฏิบัติ หรือพูดให้กว้างกว่านั้นคือเกิดในทาง "วัฒนธรรม"มากกว่
เช่นคนที่ไม่มีหลักทรัพย์ย่อมเข้าถึงแหล่งเงินกู้ได้ยาก ไม่มีกฎหมายใดบังคับว่าธนาคารต้องให้กู้ได้เฉพาะผู้ที่มีหลักทรัพย์แต่ธนาคารกลัวเจ๊ง จึงเป้ฯธรรมดาที่ต้องเรียกหลักทรัยพืค้ำประกันเงินกู้ ในขณธเดียวกัน ธนาคารไทยไม่เห็นความจำเป็นจะทำไมโรเครดิตกับคนจน เพราะแค่นี้ก็กำไพอแล้วจึงไม่มีท้งประสบการณ์และทักษะที่จะทำ แม้รู้ว่าจะมีลูกค้าจำนวนมหึมารออยู่ก็ตาม..นี้คือโลกทัศน์ของในธนาคารซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ "วัฒนธรรม"
"ความเหลื่อมล้ำ" ทางเศณาฐกิจนั้นมีอยู่จริง และตนิงจนน่าวิตกด้วย เพราะมันถ่างกว้างขึ้นอย่างน่าตกใจตลอดมา แต่เป็นหนึ่งใน "ความเหลื่อล้ำ" ด้านโอกาส ด้านอำนาจ ด้านสิทธิ จนทำให้คนส่วนหใหญ่ด้อยศํกดิ์สรี ไม่ใช่เรื่องจน-รวยเพียงด้านเดียว
หรือในทางกลับกัน เรพาะมีอำนาจน้อย จึงถูกคนอื่นแย่งเอาทรัพยากรที่ตัวใช้อยุไปใช้ เหรือต้องคำพิพากษาว่าทำให้โลกร้อน ต้องเสียค่าปรับเป็นล้าน ทำมาหากินด้วยทุกษะทีตัวมีต่อไปไม่ได้ จึงหมดปัญญาหาส่งลูกเรียนหนังสือ ในที่สุดก็จนลง สิทธิก็ยิ่งน้อยบง โอกาสก็ยิ่งน้อยลง อำนาจก็ย่ิงน้อยลง และศักดิ์ศรีก็ไม่มีใครนับขึ้นไปอีก
อีกด้านหนึ่งที่ลืมไม่ได้เป็นอันขาดคือ "ความเหลื่อมล้ำ" เป็นความรู้สึกนะครับ ไม่ใช่ไปดูว่าแต่เดิมเอ็งเคยได้เงินแค่วันละ 50 เดี่๋ยวนี้เองได้ถึง 200 แล้วยังจะมาเหลื่อล้ำอะไรอีก..
เหตุผลร้อยแปดที่ทำให้ความพอใจในตนเองของแต่ละคนหายไป จะดูแต่รายได้ที่เป็นตัวเงินอย่างเดียวก็ไม่มีวันเข้าใจ เพราะความพอใจในตนเองนั้นมีเลื่อนไขทางสังคม วัฒนธรรมกำกับอยู่ด้วยเสมอ ยกเว้นแต่พระอริยบุคคล...(บางส่วนจาก นิธิเอียวศรวงศ์ "ความเหลื่อมล้ำ"มติชนสุดสัปดาห์ ฉบัยวันที่ 27 สิงหาคม -2 กันยายน 2553 ฉบับที่ 1567)
แนวคิดหลักว่าด้วยความเหลื่อมล้ำ
ถึงที่สุดแล้ว คำถามที่ว่า ความเหลื่อล้ำในสังคมด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านเศราฐฏิจนั้นเป็น "ปัญหา" ที่เราต้องหาทางแก้ไขหรือไม่ และถ้าต้องแก้ควรใช้วิธีอะไร เป็นคำถามที่ขึ้นอยุ่กับอุดมกาณ์หรือจุยืนของคนในสังคม ปัจจุบันมีสำนักคิดหใญ่ 3 แห่งที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายและวิวาทะสาธารณธในกรอบของระบบเศราฐกิจแบบทุนนิยม ได้แก่ เสรีนิยม ความยุติธรรมทางสังคม และสมรรถภาพมนุษย์ ความแตกต่างระหว่างสำนัคิดทั้ง 3 ส่วนอยู่ที่การให้น้ำหนักกับ "เสีรภาพของปัจเจก" และความยุติธรรมในสังคม" ไม่เท่ากัน
สำนักคิดทั้ง 3 นี้มีความ "เท่าเทียมกันทางศีลธรรม" กล่าวคื อไม่มีชุดหลักเกณฑ์สัมบูรณ์ใดๆ ที่จะช่วยเราตัดสินได้ว่าสำนักคิดใด "ดีกว่า" หรือ "เลวกว่า"กัน เนื่องจากต่างก็มีจุดยืนทางศีลธรรม้ดวยกันทั้งสิ้น เพียงแต่ให้นำหนักกับคุณต่าหรือคุณธรรมต่างๆ ไม่เท่ากัน การตัดสินว่าจะเชื่อหรือประยุกต์ใช้แนวคิดของสำนักคิดใดสำนักคิดหนึ่งจึงน่าจะตั้งอยุ่บนการประเมินผลได้และผลเสียของแต่ละเแนวคิดเปรียบเที่ยบกับสภาพเศณาฐกิจและสัคมที่เป้นจริง มากกว่าการใช้มาตรวัดทางศีลธรรมไดๆ ที่เป็นนามธรรมดดยไม่คำนนึงถึงสถานการณ์จริง...
ความเหลื่อมล้ำกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
มุมองของคนเกี่ยวกับความเหลื่อล้ำแต่ละด้านว่าอะไรเป็น "ปัญหา" และถ้าเป็นปัญหาควรแก้ไข "อย่างไร" นั้นไม่ได้เป็นส่ิงที่หยุดนิ่งตายตัว ท่าผันแปรไปตามการเปลี่ยนแปลงทางเศณาฐกิจแลสะสังคม
สินค้าอุปโภคบริโภคที่คนมองว่าเป็นเรื่่องปกติธรรมดาในวิถีชีวิตปัจจุบัน ไม่ใช่สิ่งทีอยู่นอกเหนือจินตนาการของคนไทยส่วนใหญ่ เนื่องจากการเติบโตทางเศณาฐกิจของไทยซึ่งสามารถเติบโตเฉลี่ยถึงร้อยละ 7 ต่อปี เป้นเวบลานานหว่า 25 ปี ส่งผลให้ "ความยากจนเชิงสัมบูรณ์" ลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ความเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจ ประกอบกับการขยายตัวของบริการทางการเงิน สงผลให้แม้แต่ประชากรที่มีรายได้เพียง สีถึงห้าพันบาท ต่อเดือนก็สามารถมีสิ่งอำนวนความสะดวกสมัยใหม่นอกเหนือจากปัจจัยสี่ ได้อย่างไม่ลำบาก
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่กล่าวถึงข้างต้นทให้ปัจจุบัน "ความยากจนสัมพัทธ์" มีน้ำหนักมากว่า "ความยากจนสัมบูรณ์" ในการประกอบสร้างเป็น "ความเหลื่อมล้ำที่คนรู้สึก" แต่ความเหลื่อล้ำที่คนรุ้ึกนั้นก็ใขช่ว่าจะรู้สึกเหมือนกันหมดในบทความเรื่อง "ความเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ทางสังคมในสังคมไทย" ในหนังสือพิมพ์ กรุเพทธุรกิจ พฤษภาคม 2553 รศ.ดร. อรรถจักร์ สัตยนุรักษ์ จากคณธมนุษยศาสตร์ ม.เชียวใหม่ ได้อธิบายมุมมองเกี่ยวกับความเหลื่อมล้ำที่แตกต่างกันมากระหว่างชนชั้นไว้อย่างชัดเจนดังต่อไปนี้
"ถึงวันนี้ ผมเชื่อว่าทุกคนเห็นพ้องต้องกันว่าความเหลื่อมล้ำทางเศณาฐกิจ เป็นรากฐานของความขัดแย้งในสังคมไทย เพียงแต่ว่ามุมมองของความเหลื่อล้ำนี้แตกต่างกันไปตามสถานะและชนชั้น
ชนชั้นนำและชนชั้นกลางที่ได้รับประโยชน์จากความเหลื่อมล้ำนี้ จะเห็นว่สังคมไทยรับรู้เรื่องนีดีอยุ่แล้ว และรัฐก็พยายามชวยเหลืออยุ่ และมักจะสรุปว่าสภาพความเหลื่อมล้ำก็ดีกว่าเดิมมาก แม้วากลุ่มนี้จะมีความปรารถนาดีต่อคนจนอยุ่ แต่ก็เป็นลักษณะของการ "มองลงต่ำ" หรือเป็นการเห็นและช่วยคนจนในรูปแบบของการ "ก้มหัว" ลงไปช่วยเหลือเป็นหลัก รูปแบบการ "ก้มหัว" ลงไปช่วยเหลือคนจนปรากฎ ก็คือ การ "สงเคราะห์" เป็นครั้งเป็นคราวไป...(To be Countinue...)
- "ความเหลื่อมล้ำ ฉบับพกพา" โดย สฤณี อาชวานันทกุล, หน้า 17-33
มุมมองเรื่องความเหลื่อมล้ำว่ามิติใดเป็น "ปัญหา" บ้างและถ้าเป็นปัญหาเราควรแแก้ไข "อย่างไร" นั้นเป็ฯเรื่องที่ถกเถียงกันได้มาก แต่ประเด็นหนึ่งที่ปฏิเสธไม่ได้คื สังคมที่มีความเลื่อมล้ำสูงเป็นสังคมที่คนรู้สึกว่า "ไม่น่าอยู่" เพราะรู้สึกว่าคนจนขยับฐานะลำบากไม่ว่าจะขยันเพียงใด เพราะช่วองว่างใหญ่มาก ส่วนคนรวยที่ "เกิดมารวย" ก็ใช้ความมั่งคีั้งสะสมที่บิดามารดามอบให้เป็นมรดกสร้างความมั่งคั่งต่อไปได้อย่างง่ายดาย
ความเลื่อมล้ำเป็น "ปัญหา" ในสังคมเพราะคงไม่มีใครอยากอยุ่ในสังคมที่สถานภาพและฐานะของผุ้คนถูกตอกตรึงตั้งแต่เกิด เพราะทุกคนเลื่อกเกิดไมได้ แต่อยากมีสิทธิแลเสรีภาพในการเลื่อกทางเดินชีวิตของตัวเอง ถ้าหากความเลื่อมล้ำส่วนหนึ่งเป้นผลลัพธ์ขอปัญาเชิงโครงสร้าง เราก็ย่อมบรรเทาหรือกำจัดมันได้ด้วยการแห้ปัญหาเชิงโครงสร้างเหล่านั้น
นพ.ประเวศ วะสี กล่าวใปี พ.ศ.2544 ว่า "คนไทยควรจะทำความเข้าใจว่า ความยากจนไม่ไ้เกิดจากเวรกรรแต่ชาติปางก่อน แต่เกิจากโครงสร้างที่อยุติธรรมในสังคม ต้องทำความเข้าใจโครงสร้างและช่วยกันปฏิรุปโตรงสร้างที่ทำให้คนจน"
นิธิ เอียวศรีวงศ์ : ความเหลื่อมล้ำอาจเกิดได้ 4 ด้านด้วยกัน คือเหลื่อมล้ำทางสิทธิ-โอกาส-อำนาจ-ศักดิ์ศรี ไม่จำเป็นว่าความเหลื่อล้ำท้ง 4 ด้านนี้ต้องเกิดขึ้นจากกฎหมายเพียงอย่างเดียว ส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากแนวทางการปฏิบัติ หรือพูดให้กว้างกว่านั้นคือเกิดในทาง "วัฒนธรรม"มากกว่
เช่นคนที่ไม่มีหลักทรัพย์ย่อมเข้าถึงแหล่งเงินกู้ได้ยาก ไม่มีกฎหมายใดบังคับว่าธนาคารต้องให้กู้ได้เฉพาะผู้ที่มีหลักทรัพย์แต่ธนาคารกลัวเจ๊ง จึงเป้ฯธรรมดาที่ต้องเรียกหลักทรัยพืค้ำประกันเงินกู้ ในขณธเดียวกัน ธนาคารไทยไม่เห็นความจำเป็นจะทำไมโรเครดิตกับคนจน เพราะแค่นี้ก็กำไพอแล้วจึงไม่มีท้งประสบการณ์และทักษะที่จะทำ แม้รู้ว่าจะมีลูกค้าจำนวนมหึมารออยู่ก็ตาม..นี้คือโลกทัศน์ของในธนาคารซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ "วัฒนธรรม"
"ความเหลื่อมล้ำ" ทางเศณาฐกิจนั้นมีอยู่จริง และตนิงจนน่าวิตกด้วย เพราะมันถ่างกว้างขึ้นอย่างน่าตกใจตลอดมา แต่เป็นหนึ่งใน "ความเหลื่อล้ำ" ด้านโอกาส ด้านอำนาจ ด้านสิทธิ จนทำให้คนส่วนหใหญ่ด้อยศํกดิ์สรี ไม่ใช่เรื่องจน-รวยเพียงด้านเดียว
หรือในทางกลับกัน เรพาะมีอำนาจน้อย จึงถูกคนอื่นแย่งเอาทรัพยากรที่ตัวใช้อยุไปใช้ เหรือต้องคำพิพากษาว่าทำให้โลกร้อน ต้องเสียค่าปรับเป็นล้าน ทำมาหากินด้วยทุกษะทีตัวมีต่อไปไม่ได้ จึงหมดปัญญาหาส่งลูกเรียนหนังสือ ในที่สุดก็จนลง สิทธิก็ยิ่งน้อยบง โอกาสก็ยิ่งน้อยลง อำนาจก็ย่ิงน้อยลง และศักดิ์ศรีก็ไม่มีใครนับขึ้นไปอีก
อีกด้านหนึ่งที่ลืมไม่ได้เป็นอันขาดคือ "ความเหลื่อมล้ำ" เป็นความรู้สึกนะครับ ไม่ใช่ไปดูว่าแต่เดิมเอ็งเคยได้เงินแค่วันละ 50 เดี่๋ยวนี้เองได้ถึง 200 แล้วยังจะมาเหลื่อล้ำอะไรอีก..
เหตุผลร้อยแปดที่ทำให้ความพอใจในตนเองของแต่ละคนหายไป จะดูแต่รายได้ที่เป็นตัวเงินอย่างเดียวก็ไม่มีวันเข้าใจ เพราะความพอใจในตนเองนั้นมีเลื่อนไขทางสังคม วัฒนธรรมกำกับอยู่ด้วยเสมอ ยกเว้นแต่พระอริยบุคคล...(บางส่วนจาก นิธิเอียวศรวงศ์ "ความเหลื่อมล้ำ"มติชนสุดสัปดาห์ ฉบัยวันที่ 27 สิงหาคม -2 กันยายน 2553 ฉบับที่ 1567)
แนวคิดหลักว่าด้วยความเหลื่อมล้ำ
ถึงที่สุดแล้ว คำถามที่ว่า ความเหลื่อล้ำในสังคมด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านเศราฐฏิจนั้นเป็น "ปัญหา" ที่เราต้องหาทางแก้ไขหรือไม่ และถ้าต้องแก้ควรใช้วิธีอะไร เป็นคำถามที่ขึ้นอยุ่กับอุดมกาณ์หรือจุยืนของคนในสังคม ปัจจุบันมีสำนักคิดหใญ่ 3 แห่งที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายและวิวาทะสาธารณธในกรอบของระบบเศราฐกิจแบบทุนนิยม ได้แก่ เสรีนิยม ความยุติธรรมทางสังคม และสมรรถภาพมนุษย์ ความแตกต่างระหว่างสำนัคิดทั้ง 3 ส่วนอยู่ที่การให้น้ำหนักกับ "เสีรภาพของปัจเจก" และความยุติธรรมในสังคม" ไม่เท่ากัน
สำนักคิดทั้ง 3 นี้มีความ "เท่าเทียมกันทางศีลธรรม" กล่าวคื อไม่มีชุดหลักเกณฑ์สัมบูรณ์ใดๆ ที่จะช่วยเราตัดสินได้ว่าสำนักคิดใด "ดีกว่า" หรือ "เลวกว่า"กัน เนื่องจากต่างก็มีจุดยืนทางศีลธรรม้ดวยกันทั้งสิ้น เพียงแต่ให้นำหนักกับคุณต่าหรือคุณธรรมต่างๆ ไม่เท่ากัน การตัดสินว่าจะเชื่อหรือประยุกต์ใช้แนวคิดของสำนักคิดใดสำนักคิดหนึ่งจึงน่าจะตั้งอยุ่บนการประเมินผลได้และผลเสียของแต่ละเแนวคิดเปรียบเที่ยบกับสภาพเศณาฐกิจและสัคมที่เป้นจริง มากกว่าการใช้มาตรวัดทางศีลธรรมไดๆ ที่เป็นนามธรรมดดยไม่คำนนึงถึงสถานการณ์จริง...
ความเหลื่อมล้ำกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
มุมองของคนเกี่ยวกับความเหลื่อล้ำแต่ละด้านว่าอะไรเป็น "ปัญหา" และถ้าเป็นปัญหาควรแก้ไข "อย่างไร" นั้นไม่ได้เป็นส่ิงที่หยุดนิ่งตายตัว ท่าผันแปรไปตามการเปลี่ยนแปลงทางเศณาฐกิจแลสะสังคม
สินค้าอุปโภคบริโภคที่คนมองว่าเป็นเรื่่องปกติธรรมดาในวิถีชีวิตปัจจุบัน ไม่ใช่สิ่งทีอยู่นอกเหนือจินตนาการของคนไทยส่วนใหญ่ เนื่องจากการเติบโตทางเศณาฐกิจของไทยซึ่งสามารถเติบโตเฉลี่ยถึงร้อยละ 7 ต่อปี เป้นเวบลานานหว่า 25 ปี ส่งผลให้ "ความยากจนเชิงสัมบูรณ์" ลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ความเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจ ประกอบกับการขยายตัวของบริการทางการเงิน สงผลให้แม้แต่ประชากรที่มีรายได้เพียง สีถึงห้าพันบาท ต่อเดือนก็สามารถมีสิ่งอำนวนความสะดวกสมัยใหม่นอกเหนือจากปัจจัยสี่ ได้อย่างไม่ลำบาก
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่กล่าวถึงข้างต้นทให้ปัจจุบัน "ความยากจนสัมพัทธ์" มีน้ำหนักมากว่า "ความยากจนสัมบูรณ์" ในการประกอบสร้างเป็น "ความเหลื่อมล้ำที่คนรู้สึก" แต่ความเหลื่อล้ำที่คนรุ้ึกนั้นก็ใขช่ว่าจะรู้สึกเหมือนกันหมดในบทความเรื่อง "ความเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ทางสังคมในสังคมไทย" ในหนังสือพิมพ์ กรุเพทธุรกิจ พฤษภาคม 2553 รศ.ดร. อรรถจักร์ สัตยนุรักษ์ จากคณธมนุษยศาสตร์ ม.เชียวใหม่ ได้อธิบายมุมมองเกี่ยวกับความเหลื่อมล้ำที่แตกต่างกันมากระหว่างชนชั้นไว้อย่างชัดเจนดังต่อไปนี้
"ถึงวันนี้ ผมเชื่อว่าทุกคนเห็นพ้องต้องกันว่าความเหลื่อมล้ำทางเศณาฐกิจ เป็นรากฐานของความขัดแย้งในสังคมไทย เพียงแต่ว่ามุมมองของความเหลื่อล้ำนี้แตกต่างกันไปตามสถานะและชนชั้น
ชนชั้นนำและชนชั้นกลางที่ได้รับประโยชน์จากความเหลื่อมล้ำนี้ จะเห็นว่สังคมไทยรับรู้เรื่องนีดีอยุ่แล้ว และรัฐก็พยายามชวยเหลืออยุ่ และมักจะสรุปว่าสภาพความเหลื่อมล้ำก็ดีกว่าเดิมมาก แม้วากลุ่มนี้จะมีความปรารถนาดีต่อคนจนอยุ่ แต่ก็เป็นลักษณะของการ "มองลงต่ำ" หรือเป็นการเห็นและช่วยคนจนในรูปแบบของการ "ก้มหัว" ลงไปช่วยเหลือเป็นหลัก รูปแบบการ "ก้มหัว" ลงไปช่วยเหลือคนจนปรากฎ ก็คือ การ "สงเคราะห์" เป็นครั้งเป็นคราวไป...(To be Countinue...)
- "ความเหลื่อมล้ำ ฉบับพกพา" โดย สฤณี อาชวานันทกุล, หน้า 17-33
วันอังคารที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Income Distribution
การกระจายรายได้ หมายถึงการแบ่งสันปันส่วนผลผลิตมวลรวมของประเทศ ในหมู่ประชากรของประเทศ โดยใช้เป็นปัจจัยชี้วัดความเท่าเที่ยมทางสังคม ความเท่าเที่ยมทางเศราฐกิจ และการพัฒนาเศราฐกิจอย่างสมดุล
การกระจายรายได้เป็นัชนีตัวหนึ่งที่ใช้ในการวัดค่าความไม่เท่าเที่ยมทางเศราฐกิจ ซึ่งมิใช่เรื่องเดียวกันกับความยากจน ความไม่เท่าเที่ยมในเชิงเศรษฐกิจที่วัดโดยใช้การกระจายรายได้นั้นจะดูจากการแบ่งสันปันสวนผลผลิตมวลรวมของประเทศโดยแบ่งประชาชนออกเป็นส่วน แล้วดุว่าประชาชนสวนที่ได้รับรายได้สูงสุดนั้นได้ับรายได้มากว่า ประชาชนส่วนที่ได้รับรายได้น้อยที่สุดเ่าไร แลวคิดออกมาเป้นสัดส่วนที่บ่งชี้ความมไ่เท่าเที่ยมทางเศรฐกิจ
ดังนั้น แม้จะมีความไม่เท่าเที่ยมทางเศราฐกิจก็มิได้หมายคึวามว่าจะมีความยากจนเพราะประชาชนส่วนที่มีรายได้น้อยที่สุดอาจจะมีรายได้เหือเส้นความยากจน หรือแม้แต่มีชีวิตความเป็นอยุ่ที่ดีก็ได้ เพรียงแต่มีรายได้น้อยกว่าประชาชนที่มีรายได้มากที่สุดของประเทศอย่างมากเท่านั้น โดยวิธีการคิดคำนวณเช่นนี้อาจมิได้คำนึงถึง หรือละเลยส่ิงที่เรียกว่า "ช่อง่างระหว่างรายได้" อันเกิดมาจากการกระจายรายได้ที่ไม่เท่าเทียมกัน ซึ่งทำให้ความแตกต่างระหว่งผุ้ที่มีรายได้มากที่สุด กับผุ้ที่มีรายได้น้อยที่สุดของประเทศไทย มีความแตกต่างกันหล่ายยเท่า เพราะประเทศที่ประชากรส่วนใหญ่อยู่เหนือระดับเส้นความยากจนก็อาจเป็นประเทศที่มีช่องว่างในการกระจายรายได้สูงหลายสิบเท่าได้ด้วยเช่นกัน
วิธีที่นิยมใช้กันในการวัดการกระจายรายได้คือค่าสัมประสิทธิ์จีนี ซึ่งเป้นวิะีวัดการกระจายทางสถิติวิธีหนึ่ง ค่านี้จะบ่งชี้การกระจายรายได้โดยคิดออกมาเป้นอัตราส่นการกระจายรยได้ระหว่าง 0 กับ 1 "0" หมายถึงประชากรทั้งหมดมีรายได้เท่าเที่ยมกันอย่างแท้จริง และ "1" หมายถึงถ การเหลื่อมล้ำสมบูรณ์แบบซึ่งมีบุคคลเพียงคนเดียวมีรายได้ทังหมดขณะที่คนที่เหลือไม่มีรายไ้ดเลย (องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ) สัมประสิทธิ์จีนี จะถูกเปลี่ยนเป็นร้อยละเพื่อคิดเป็นดัชนีจีนีสำหรับวัดการกระจายรายได้ เช่น ประเทศเอยรมนีมีสัมประสิทธิ์จีนี จากการกระจายรายได้เท่ากับ 0.283 ดัชนีจีนีของเยอมนีจะเท่ากับร้อยละ 28.3
ดัชนีจีน จะทำการชี้ยวัดการกระจายรายได้เพื่อวัดความเท่าเที่ยมทางเศราฐกิจของทังประเทศ ส่วนอัตราส่วนคนรวยคนจนที่แบ่งประชาชนออกเป็นกลุ่มๆ นั้นจะให้ข้อมูลของความแตกต่างระหว่างคนที่มีรายไ้มากที่สุดกับทคนที่มีรายได้น้อยที่สุดว่าความไม่เท่าเทียมมีความรุนแรงเพียงใด (โครงการ
พัฒนาแห่งสหประชาชาติ) เมื่อเรานึกถึงรูปภาพแก้วแชมเปญ เราสามารถเห็นภาพของปัญหาการกระจายรายได้และการถือครองทรัพยากรของประขากรโลกที่ไม่เป็นธรรม กล่าวคือ คนรวยที่สุด 20 เปอร์เซ็นต์ มีสวนแบ่งในด้านรายได้และทรัพยากรเพียง 1.4 เปอร์เซ็นต์ เท่านั้น ภาพแก้วแชมเปนปากกว้างและก้านเรียวเล็ก สะท้อนความไม่สมดุลในการกระจายรายได้ของประชากรโลกได้เป็นอย่างดี
ดัชนีจีนีของประเทศไทย ซึ่งจัดทำโดยสหประชาชาติในปี ค.ศ.2013 อยู่ที่ 0.4 ส่วนสำนักงานข่าวกรองกลางสหรัฐอเมิรกาให้ค่านในปีเดียวกันไว้ที่ 0.536 ทั้งนี้ค่าความเหลื่อมล่้ำในการกระจยรายได้ของประเทศถูกตั้งไว้ตั้งแต่ 0-1 โดยยิ่งมีค่าเพ่ิมจาก 0 มากเท่าไหร่ก็ย่ิงแสดงให้เห็นถึวความเลื่อมล้ำในการกระจายรายได้มาเท่านั้น
ปัจจัยจำนวนมากสามารถก่อให้เกิดความไม่เท่าเที่ยมของรายได้ ตั้งแต่โคงสร้างทางสังคม เพศ เชื้อชาติ วัฒนธรรมการศึกษาทักษะของกแรงงาน จนถึงนโยบายของภาครัฐ อย่างนโยบายด้านภาษี นโยบายเศณาฐฏิจ นโยบายแรงงาน นโยบายการเงิน รวมถึงระบบเศราฐกิจ เทคโนโลยีและระบบอัตโนมัติในการผลิต จนถึงอิทธิพลจากโลกาภิวัตน์แต่โดยพื้นฐนแล้วการกระจายรายได้ที่ไม่เท่าเที่ยมhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89
กันนั้นมีสาเหตุมาจากธรรมชาติของการสั่งสมต้นทุนทางเศณาฐกจของผุ้เข้าแข่งขันในระบบตลาดเสรีทีจะได้เรียบผุ้ที่มีต้นทุนทางเศณาฐกิจที่น้อยกว่าอยุ่แล้ว ปัจจัยอื่นๆ จึงเป็นเพยงตัวเร่ง และขยายควาไม่เท่าเที่ยมดังกล่าวนี้ให้มากและรุรแรงมากยิ่งขึ้นไปเท่านั้น สำหรับประเทศไทยนั้น สาเหตุสำคัญที่ตุ้นให้ความไม่เท่าเทียมนั้น สำหรับประเทศไทยนั้น สาเหตุสำคัญที่กระตุ้นให้ความไม่เท่าเที่ยมดังกล่าวนี้ทวีความรุนแรงมากย่ิงขึ้นก็คือ ความไม่เท่าเที่ยมในโอกาศทางการศึกษา ซึ่งส่งผลให้ประชากรส่วนใหญ่ต้องกลายเป้นประชาชนผู้รายได้ต่ำ และมีโอกาสเข้าสู่ระบบเศราฐฏิจขนาดใหย่เพื่อแสวงหาความมั่งคั่งและความเจริญก้าวหน้าทางเศณาฐฏิจได้น้อยกว่าคนอื่นๆ แม้รัฐบาลจะพยายามแก้ไขปัญหาด้วยการจัดให้มีการศึกษาภาคบังคับ และโครงการค่าเรียนฟรีแล้วก็ตา แต่ด้วยข้อจำกันางเศราฐฏิจของครอบครัวที่บีบบังคับ ทำให้ผุ้คนเหล่านี้ท้ายที่สุต้องผันตัวมาเ็นแรงงานรับจ้างที่มีรายได้ต่ำปัญหาที่ว่านี้ถูกสงต่อไปยังบุตรหลานรุ่นต่อๆไปของพวกเขา ในขณะที่ผุ้มีรายไ้สูงก็จะสามารถเข้าถึงและขยับขยายโอากสในการแสวงหาความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจได้อยู่เสมอ และส่งต่อโอกาสที่ว่านี้ไปยังลูกหลานได้ด้วยเช่นกัน ความแตกต่างในโอากสทางการศึกษาผลิตซ้ำความเหลื่อมล้ำดังกล่าวนี้ให้ห่างมากขึ้นเรื่อยๆ หลายคนมองว่าความเลหื่อมล้ำที่ถุกผลิตซ้ำส่วนหนึ่งเพราะรัฐไม่มีการจัดเก็บภาษีที่ดิน และภาษีมรดกในอัตราก้าวหน้า หากสามารถบังคัยช้กฎหมายภาษีทั้งสองประเภทได้ ช่องว่างในการถือครองทรัพย์สินคื อที่ดิน และการส่งต่อความมั่งคั่งคือมรดก ก็จะลดลงจาเดิม และจะสามารถตอบโจทย์ที่เป็นพื้นฐานสำคัญของปัญหารการกระจายรายไ้ดของประเทศไทยได้เป็นอย่างดี...
การกระจายรายได้เป็นัชนีตัวหนึ่งที่ใช้ในการวัดค่าความไม่เท่าเที่ยมทางเศราฐกิจ ซึ่งมิใช่เรื่องเดียวกันกับความยากจน ความไม่เท่าเที่ยมในเชิงเศรษฐกิจที่วัดโดยใช้การกระจายรายได้นั้นจะดูจากการแบ่งสันปันสวนผลผลิตมวลรวมของประเทศโดยแบ่งประชาชนออกเป็นส่วน แล้วดุว่าประชาชนสวนที่ได้รับรายได้สูงสุดนั้นได้ับรายได้มากว่า ประชาชนส่วนที่ได้รับรายได้น้อยที่สุดเ่าไร แลวคิดออกมาเป้นสัดส่วนที่บ่งชี้ความมไ่เท่าเที่ยมทางเศรฐกิจ
ดังนั้น แม้จะมีความไม่เท่าเที่ยมทางเศราฐกิจก็มิได้หมายคึวามว่าจะมีความยากจนเพราะประชาชนส่วนที่มีรายได้น้อยที่สุดอาจจะมีรายได้เหือเส้นความยากจน หรือแม้แต่มีชีวิตความเป็นอยุ่ที่ดีก็ได้ เพรียงแต่มีรายได้น้อยกว่าประชาชนที่มีรายได้มากที่สุดของประเทศอย่างมากเท่านั้น โดยวิธีการคิดคำนวณเช่นนี้อาจมิได้คำนึงถึง หรือละเลยส่ิงที่เรียกว่า "ช่อง่างระหว่างรายได้" อันเกิดมาจากการกระจายรายได้ที่ไม่เท่าเทียมกัน ซึ่งทำให้ความแตกต่างระหว่งผุ้ที่มีรายได้มากที่สุด กับผุ้ที่มีรายได้น้อยที่สุดของประเทศไทย มีความแตกต่างกันหล่ายยเท่า เพราะประเทศที่ประชากรส่วนใหญ่อยู่เหนือระดับเส้นความยากจนก็อาจเป็นประเทศที่มีช่องว่างในการกระจายรายได้สูงหลายสิบเท่าได้ด้วยเช่นกัน
วิธีที่นิยมใช้กันในการวัดการกระจายรายได้คือค่าสัมประสิทธิ์จีนี ซึ่งเป้นวิะีวัดการกระจายทางสถิติวิธีหนึ่ง ค่านี้จะบ่งชี้การกระจายรายได้โดยคิดออกมาเป้นอัตราส่นการกระจายรยได้ระหว่าง 0 กับ 1 "0" หมายถึงประชากรทั้งหมดมีรายได้เท่าเที่ยมกันอย่างแท้จริง และ "1" หมายถึงถ การเหลื่อมล้ำสมบูรณ์แบบซึ่งมีบุคคลเพียงคนเดียวมีรายได้ทังหมดขณะที่คนที่เหลือไม่มีรายไ้ดเลย (องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ) สัมประสิทธิ์จีนี จะถูกเปลี่ยนเป็นร้อยละเพื่อคิดเป็นดัชนีจีนีสำหรับวัดการกระจายรายได้ เช่น ประเทศเอยรมนีมีสัมประสิทธิ์จีนี จากการกระจายรายได้เท่ากับ 0.283 ดัชนีจีนีของเยอมนีจะเท่ากับร้อยละ 28.3
ดัชนีจีน จะทำการชี้ยวัดการกระจายรายได้เพื่อวัดความเท่าเที่ยมทางเศราฐกิจของทังประเทศ ส่วนอัตราส่วนคนรวยคนจนที่แบ่งประชาชนออกเป็นกลุ่มๆ นั้นจะให้ข้อมูลของความแตกต่างระหว่างคนที่มีรายไ้มากที่สุดกับทคนที่มีรายได้น้อยที่สุดว่าความไม่เท่าเทียมมีความรุนแรงเพียงใด (โครงการ
พัฒนาแห่งสหประชาชาติ) เมื่อเรานึกถึงรูปภาพแก้วแชมเปญ เราสามารถเห็นภาพของปัญหาการกระจายรายได้และการถือครองทรัพยากรของประขากรโลกที่ไม่เป็นธรรม กล่าวคือ คนรวยที่สุด 20 เปอร์เซ็นต์ มีสวนแบ่งในด้านรายได้และทรัพยากรเพียง 1.4 เปอร์เซ็นต์ เท่านั้น ภาพแก้วแชมเปนปากกว้างและก้านเรียวเล็ก สะท้อนความไม่สมดุลในการกระจายรายได้ของประชากรโลกได้เป็นอย่างดี
ดัชนีจีนีของประเทศไทย ซึ่งจัดทำโดยสหประชาชาติในปี ค.ศ.2013 อยู่ที่ 0.4 ส่วนสำนักงานข่าวกรองกลางสหรัฐอเมิรกาให้ค่านในปีเดียวกันไว้ที่ 0.536 ทั้งนี้ค่าความเหลื่อมล่้ำในการกระจยรายได้ของประเทศถูกตั้งไว้ตั้งแต่ 0-1 โดยยิ่งมีค่าเพ่ิมจาก 0 มากเท่าไหร่ก็ย่ิงแสดงให้เห็นถึวความเลื่อมล้ำในการกระจายรายได้มาเท่านั้น
ปัจจัยจำนวนมากสามารถก่อให้เกิดความไม่เท่าเที่ยมของรายได้ ตั้งแต่โคงสร้างทางสังคม เพศ เชื้อชาติ วัฒนธรรมการศึกษาทักษะของกแรงงาน จนถึงนโยบายของภาครัฐ อย่างนโยบายด้านภาษี นโยบายเศณาฐฏิจ นโยบายแรงงาน นโยบายการเงิน รวมถึงระบบเศราฐกิจ เทคโนโลยีและระบบอัตโนมัติในการผลิต จนถึงอิทธิพลจากโลกาภิวัตน์แต่โดยพื้นฐนแล้วการกระจายรายได้ที่ไม่เท่าเที่ยมhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89
กันนั้นมีสาเหตุมาจากธรรมชาติของการสั่งสมต้นทุนทางเศณาฐกจของผุ้เข้าแข่งขันในระบบตลาดเสรีทีจะได้เรียบผุ้ที่มีต้นทุนทางเศณาฐกิจที่น้อยกว่าอยุ่แล้ว ปัจจัยอื่นๆ จึงเป็นเพยงตัวเร่ง และขยายควาไม่เท่าเที่ยมดังกล่าวนี้ให้มากและรุรแรงมากยิ่งขึ้นไปเท่านั้น สำหรับประเทศไทยนั้น สาเหตุสำคัญที่ตุ้นให้ความไม่เท่าเทียมนั้น สำหรับประเทศไทยนั้น สาเหตุสำคัญที่กระตุ้นให้ความไม่เท่าเที่ยมดังกล่าวนี้ทวีความรุนแรงมากย่ิงขึ้นก็คือ ความไม่เท่าเที่ยมในโอกาศทางการศึกษา ซึ่งส่งผลให้ประชากรส่วนใหญ่ต้องกลายเป้นประชาชนผู้รายได้ต่ำ และมีโอกาสเข้าสู่ระบบเศราฐฏิจขนาดใหย่เพื่อแสวงหาความมั่งคั่งและความเจริญก้าวหน้าทางเศณาฐฏิจได้น้อยกว่าคนอื่นๆ แม้รัฐบาลจะพยายามแก้ไขปัญหาด้วยการจัดให้มีการศึกษาภาคบังคับ และโครงการค่าเรียนฟรีแล้วก็ตา แต่ด้วยข้อจำกันางเศราฐฏิจของครอบครัวที่บีบบังคับ ทำให้ผุ้คนเหล่านี้ท้ายที่สุต้องผันตัวมาเ็นแรงงานรับจ้างที่มีรายได้ต่ำปัญหาที่ว่านี้ถูกสงต่อไปยังบุตรหลานรุ่นต่อๆไปของพวกเขา ในขณะที่ผุ้มีรายไ้สูงก็จะสามารถเข้าถึงและขยับขยายโอากสในการแสวงหาความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจได้อยู่เสมอ และส่งต่อโอกาสที่ว่านี้ไปยังลูกหลานได้ด้วยเช่นกัน ความแตกต่างในโอากสทางการศึกษาผลิตซ้ำความเหลื่อมล้ำดังกล่าวนี้ให้ห่างมากขึ้นเรื่อยๆ หลายคนมองว่าความเลหื่อมล้ำที่ถุกผลิตซ้ำส่วนหนึ่งเพราะรัฐไม่มีการจัดเก็บภาษีที่ดิน และภาษีมรดกในอัตราก้าวหน้า หากสามารถบังคัยช้กฎหมายภาษีทั้งสองประเภทได้ ช่องว่างในการถือครองทรัพย์สินคื อที่ดิน และการส่งต่อความมั่งคั่งคือมรดก ก็จะลดลงจาเดิม และจะสามารถตอบโจทย์ที่เป็นพื้นฐานสำคัญของปัญหารการกระจายรายไ้ดของประเทศไทยได้เป็นอย่างดี...
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...