วันพุธที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2560

           ถ้าหากความเฃื่อมล้ำเกิดจาพฤติกรรมส่วนบุคคลล้วนๆ เราก็คงไม่มองว่าความเเหลื่อมล้ำระหว่างบุคคลทั้งสองนี้เป็น "ปัญหา" ที่ควรได้รับการแก้ไข แต่ในโลกแห่งความจริงความเลหื่อมล้ำไม่ว่าจะมิติใดก้ตามมัจะเป็นผลลัพธ์ ของเหตุััจัยต่าง ๆที่สลับซับซ้อนและซ้อนทับกัน หลายปัจจัยอยู่ นอกเหนือการกระทำของปัจเจก และเป็น "ปัญหาโครงสร้าง"ของสังคม
            มุมมองเรื่องความเหลื่อมล้ำว่ามิติใดเป็น "ปัญหา" บ้างและถ้าเป็นปัญหาเราควรแแก้ไข "อย่างไร" นั้นเป็ฯเรื่องที่ถกเถียงกันได้มาก แต่ประเด็นหนึ่งที่ปฏิเสธไม่ได้คื สังคมที่มีความเลื่อมล้ำสูงเป็นสังคมที่คนรู้สึกว่า "ไม่น่าอยู่" เพราะรู้สึกว่าคนจนขยับฐานะลำบากไม่ว่าจะขยันเพียงใด เพราะช่วองว่างใหญ่มาก ส่วนคนรวยที่ "เกิดมารวย" ก็ใช้ความมั่งคีั้งสะสมที่บิดามารดามอบให้เป็นมรดกสร้างความมั่งคั่งต่อไปได้อย่างง่ายดาย
            ความเลื่อมล้ำเป็น "ปัญหา" ในสังคมเพราะคงไม่มีใครอยากอยุ่ในสังคมที่สถานภาพและฐานะของผุ้คนถูกตอกตรึงตั้งแต่เกิด เพราะทุกคนเลื่อกเกิดไมได้ แต่อยากมีสิทธิแลเสรีภาพในการเลื่อกทางเดินชีวิตของตัวเอง ถ้าหากความเลื่อมล้ำส่วนหนึ่งเป้นผลลัพธ์ขอปัญาเชิงโครงสร้าง เราก็ย่อมบรรเทาหรือกำจัดมันได้ด้วยการแห้ปัญหาเชิงโครงสร้างเหล่านั้น
           
นพ.ประเวศ วะสี กล่าวใปี พ.ศ.2544 ว่า "คนไทยควรจะทำความเข้าใจว่า ความยากจนไม่ไ้เกิดจากเวรกรรแต่ชาติปางก่อน แต่เกิจากโครงสร้างที่อยุติธรรมในสังคม ต้องทำความเข้าใจโครงสร้างและช่วยกันปฏิรุปโตรงสร้างที่ทำให้คนจน"
             นิธิ เอียวศรีวงศ์ : ความเหลื่อมล้ำอาจเกิดได้ 4 ด้านด้วยกัน คือเหลื่อมล้ำทางสิทธิ-โอกาส-อำนาจ-ศักดิ์ศรี ไม่จำเป็นว่าความเหลื่อล้ำท้ง 4 ด้านนี้ต้องเกิดขึ้นจากกฎหมายเพียงอย่างเดียว ส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากแนวทางการปฏิบัติ หรือพูดให้กว้างกว่านั้นคือเกิดในทาง "วัฒนธรรม"มากกว่
            เช่นคนที่ไม่มีหลักทรัพย์ย่อมเข้าถึงแหล่งเงินกู้ได้ยาก ไม่มีกฎหมายใดบังคับว่าธนาคารต้องให้กู้ได้เฉพาะผู้ที่มีหลักทรัพย์แต่ธนาคารกลัวเจ๊ง จึงเป้ฯธรรมดาที่ต้องเรียกหลักทรัยพืค้ำประกันเงินกู้ ในขณธเดียวกัน ธนาคารไทยไม่เห็นความจำเป็นจะทำไมโรเครดิตกับคนจน เพราะแค่นี้ก็กำไพอแล้วจึงไม่มีท้งประสบการณ์และทักษะที่จะทำ แม้รู้ว่าจะมีลูกค้าจำนวนมหึมารออยู่ก็ตาม..นี้คือโลกทัศน์ของในธนาคารซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ "วัฒนธรรม"
             "ความเหลื่อมล้ำ" ทางเศณาฐกิจนั้นมีอยู่จริง และตนิงจนน่าวิตกด้วย เพราะมันถ่างกว้างขึ้นอย่างน่าตกใจตลอดมา แต่เป็นหนึ่งใน "ความเหลื่อล้ำ" ด้านโอกาส ด้านอำนาจ ด้านสิทธิ จนทำให้คนส่วนหใหญ่ด้อยศํกดิ์สรี ไม่ใช่เรื่องจน-รวยเพียงด้านเดียว
             หรือในทางกลับกัน เรพาะมีอำนาจน้อย จึงถูกคนอื่นแย่งเอาทรัพยากรที่ตัวใช้อยุไปใช้ เหรือต้องคำพิพากษาว่าทำให้โลกร้อน ต้องเสียค่าปรับเป็นล้าน ทำมาหากินด้วยทุกษะทีตัวมีต่อไปไม่ได้ จึงหมดปัญญาหาส่งลูกเรียนหนังสือ ในที่สุดก็จนลง สิทธิก็ยิ่งน้อยบง โอกาสก็ยิ่งน้อยลง อำนาจก็ย่ิงน้อยลง และศักดิ์ศรีก็ไม่มีใครนับขึ้นไปอีก
              อีกด้านหนึ่งที่ลืมไม่ได้เป็นอันขาดคือ "ความเหลื่อมล้ำ" เป็นความรู้สึกนะครับ ไม่ใช่ไปดูว่าแต่เดิมเอ็งเคยได้เงินแค่วันละ 50 เดี่๋ยวนี้เองได้ถึง 200 แล้วยังจะมาเหลื่อล้ำอะไรอีก..
              เหตุผลร้อยแปดที่ทำให้ความพอใจในตนเองของแต่ละคนหายไป จะดูแต่รายได้ที่เป็นตัวเงินอย่างเดียวก็ไม่มีวันเข้าใจ เพราะความพอใจในตนเองนั้นมีเลื่อนไขทางสังคม วัฒนธรรมกำกับอยู่ด้วยเสมอ ยกเว้นแต่พระอริยบุคคล...(บางส่วนจาก นิธิเอียวศรวงศ์ "ความเหลื่อมล้ำ"มติชนสุดสัปดาห์ ฉบัยวันที่ 27 สิงหาคม -2 กันยายน 2553 ฉบับที่ 1567)
           
แนวคิดหลักว่าด้วยความเหลื่อมล้ำ
             ถึงที่สุดแล้ว คำถามที่ว่า ความเหลื่อล้ำในสังคมด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านเศราฐฏิจนั้นเป็น "ปัญหา" ที่เราต้องหาทางแก้ไขหรือไม่ และถ้าต้องแก้ควรใช้วิธีอะไร เป็นคำถามที่ขึ้นอยุ่กับอุดมกาณ์หรือจุยืนของคนในสังคม ปัจจุบันมีสำนักคิดหใญ่ 3 แห่งที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายและวิวาทะสาธารณธในกรอบของระบบเศราฐกิจแบบทุนนิยม ได้แก่ เสรีนิยม ความยุติธรรมทางสังคม และสมรรถภาพมนุษย์ ความแตกต่างระหว่างสำนัคิดทั้ง 3 ส่วนอยู่ที่การให้น้ำหนักกับ "เสีรภาพของปัจเจก" และความยุติธรรมในสังคม" ไม่เท่ากัน
             สำนักคิดทั้ง 3 นี้มีความ "เท่าเทียมกันทางศีลธรรม" กล่าวคื อไม่มีชุดหลักเกณฑ์สัมบูรณ์ใดๆ ที่จะช่วยเราตัดสินได้ว่าสำนักคิดใด "ดีกว่า" หรือ "เลวกว่า"กัน เนื่องจากต่างก็มีจุดยืนทางศีลธรรม้ดวยกันทั้งสิ้น เพียงแต่ให้นำหนักกับคุณต่าหรือคุณธรรมต่างๆ ไม่เท่ากัน การตัดสินว่าจะเชื่อหรือประยุกต์ใช้แนวคิดของสำนักคิดใดสำนักคิดหนึ่งจึงน่าจะตั้งอยุ่บนการประเมินผลได้และผลเสียของแต่ละเแนวคิดเปรียบเที่ยบกับสภาพเศณาฐกิจและสัคมที่เป้นจริง มากกว่าการใช้มาตรวัดทางศีลธรรมไดๆ ที่เป็นนามธรรมดดยไม่คำนนึงถึงสถานการณ์จริง...
         
ความเหลื่อมล้ำกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
            มุมองของคนเกี่ยวกับความเหลื่อล้ำแต่ละด้านว่าอะไรเป็น "ปัญหา" และถ้าเป็นปัญหาควรแก้ไข "อย่างไร" นั้นไม่ได้เป็นส่ิงที่หยุดนิ่งตายตัว ท่าผันแปรไปตามการเปลี่ยนแปลงทางเศณาฐกิจแลสะสังคม
            สินค้าอุปโภคบริโภคที่คนมองว่าเป็นเรื่่องปกติธรรมดาในวิถีชีวิตปัจจุบัน ไม่ใช่สิ่งทีอยู่นอกเหนือจินตนาการของคนไทยส่วนใหญ่ เนื่องจากการเติบโตทางเศณาฐกิจของไทยซึ่งสามารถเติบโตเฉลี่ยถึงร้อยละ 7 ต่อปี เป้นเวบลานานหว่า 25 ปี ส่งผลให้ "ความยากจนเชิงสัมบูรณ์" ลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ความเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจ ประกอบกับการขยายตัวของบริการทางการเงิน สงผลให้แม้แต่ประชากรที่มีรายได้เพียง สีถึงห้าพันบาท ต่อเดือนก็สามารถมีสิ่งอำนวนความสะดวกสมัยใหม่นอกเหนือจากปัจจัยสี่ ได้อย่างไม่ลำบาก
           การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่กล่าวถึงข้างต้นทให้ปัจจุบัน "ความยากจนสัมพัทธ์" มีน้ำหนักมากว่า "ความยากจนสัมบูรณ์" ในการประกอบสร้างเป็น "ความเหลื่อมล้ำที่คนรู้สึก" แต่ความเหลื่อล้ำที่คนรุ้ึกนั้นก็ใขช่ว่าจะรู้สึกเหมือนกันหมดในบทความเรื่อง "ความเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ทางสังคมในสังคมไทย" ในหนังสือพิมพ์ กรุเพทธุรกิจ พฤษภาคม 2553 รศ.ดร. อรรถจักร์ สัตยนุรักษ์ จากคณธมนุษยศาสตร์ ม.เชียวใหม่ ได้อธิบายมุมมองเกี่ยวกับความเหลื่อมล้ำที่แตกต่างกันมากระหว่างชนชั้นไว้อย่างชัดเจนดังต่อไปนี้
         
"ถึงวันนี้ ผมเชื่อว่าทุกคนเห็นพ้องต้องกันว่าความเหลื่อมล้ำทางเศณาฐกิจ เป็นรากฐานของความขัดแย้งในสังคมไทย เพียงแต่ว่ามุมมองของความเหลื่อล้ำนี้แตกต่างกันไปตามสถานะและชนชั้น
            ชนชั้นนำและชนชั้นกลางที่ได้รับประโยชน์จากความเหลื่อมล้ำนี้ จะเห็นว่สังคมไทยรับรู้เรื่องนีดีอยุ่แล้ว และรัฐก็พยายามชวยเหลืออยุ่ และมักจะสรุปว่าสภาพความเหลื่อมล้ำก็ดีกว่าเดิมมาก แม้วากลุ่มนี้จะมีความปรารถนาดีต่อคนจนอยุ่ แต่ก็เป็นลักษณะของการ "มองลงต่ำ" หรือเป็นการเห็นและช่วยคนจนในรูปแบบของการ "ก้มหัว" ลงไปช่วยเหลือเป็นหลัก รูปแบบการ "ก้มหัว" ลงไปช่วยเหลือคนจนปรากฎ ก็คือ การ "สงเคราะห์" เป็นครั้งเป็นคราวไป...(To be Countinue...)

             - "ความเหลื่อมล้ำ ฉบับพกพา" โดย สฤณี อาชวานันทกุล, หน้า 17-33
         
         

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...