Tax system for Reduce inequality

           โดยหลักการแล้ว การวิเคราะห์ระบบภาษีของประเทสใดประเทศหนึ่งจำเป้ฯจะต้องวิเคราห์ควบคู่ไปกับโครงสร้างรายจ่าของรัฐบาลในประทเศนั้นๆ ด้วยเนื่องจากโดยปกติแล้ว ภาษีคือแหล่งรายได้ที่สำคัญทีสุดของรัฐบาล ซคึ่งในกรณีที่รัฐบาลมีความต้องการจะใชจ่ายเพ่ิมเติม รัฐบาลจำเป้นต้องเพีิามการจัดเก็บภาษีตามไปด้วย
           เราทุกคนควรพึงระลึกไว้เสมอว่ารายจ่ายต่างๆ ของรัฐบาลนั้นแท้จริงแล้วมีต้นทางมาจากภาษีที่จัดเก็บจากพวกเราทุกคนนั่นเง อังนั้นการใช้จ่ายต่างๆ ของรัฐบาลควรจะถุกควบคุมให้อยู่ในการอบที่พิจรณาเป้นอย่างดีแล้ว เห้ฯควรให้รัฐบาลเข้าไปบริการจัดการ
           อย่างไรก็ดี วัตถุประสงค์ของบทความนี้มุ่งเน้นไปที่การวิเคราะห์ระบบภาษีของประเทศไทยแต่เพียงประการเดียว โดยประ็นในการพิจารณาระบบภาษีจะมีด้วยการหลบยรประเด็น ได้แก่
          1. ระบบภาษีดังกล่าวควรสร้างรายได้ที่เพียงพอต่อการใช้จ่ายของรัฐาล
          2. ระบบภาษีควรมีความเป้ฯธรรมต่อประชาชนในประเทศทุกคน
          3. ระบบภาษีควรก่อให้เกิดความบิเบื่นต่อระบบเศษบกิจน้อยที่สุด
          4. ระบบดังกล่าวควรเื้อต่อการรักษาเสถียรภาพของระบบเสราฐกิจ
          5. ระบบดังกล่าวควรเรียบง่ายและก่อให้เกิต้นทุนในการบนิหารจัดการน้อยที่สุด
         
 บทความนี้จะมุ่งพิจารณาที่ประเด็นระบบภาษีเพื่อความเป็นธรรม ซึ่งมีความสอดคล้องกับหน้าที่ในการลดความเหลื่อมล้ำของรัฐบาล โดยมุ่งเน้นการออกแบบระบบภาษีเพื่อเป็นเครื่องมือหนึ่งในการลดความเหลื่อมล้ำเป้นสำคัญ ไม่ใช่การออกแบบระบบาษีเพื่อการะดมทุนของทางภาครัฐเพ่ิมเติม เพื่อนำมาใช้จ่ายในมาตรการเพื่อลดความเหลื่อล้ำต่างๆ แนวคิดเกี่ยวกับระบบภาษีที่เป้นธรรมสามารถจัดแบ่งออกได้เป็น ๒ รูปแบบหลัก คือ
          1 แนวคิดการจัดเกฐ้ภาษีตามหลักผลประดยชน์
          2 แนวคิดการจัดเก็บภษีตามความสามารถในการจ่าย
          ทั้งสองแนวคิดมีเหตุผลสนับสนุนที่แตกต่างกัน ตามแนวคิดการจัดเก็บภาษีตามหลักผลประยชน์นั้น ผู้เสียภาษีควรเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์จากรัฐบาล ดดยผู้ที่ได้รับประดยชน์ในระดับสูงจากสินค้าและบริการต่างๆ ที่รัฐญยาลบจัดหาให้ ควรเสียภาษีในระดับที่สูงกว่าผุ้ที่ได้รัยประโยชน์จากสินค้าและบริการต่างๆ จากรัฐบาบลในระดับที่น้อยกว่าจึงจะถือว่ามีความเป้นธรรม
           อย่างไรก็ตาม แนวคิดในการจัดเก็บภาษีลักษระนี้จะมีความขัดแย้งกับบทบาทในการลดความเลหื่อมดล้ำของรัญบาลจึงมีความยัดแย้งกับจุดสนใจหลักของบทความนี้ด้วยเช่นเดียวกัน ดังนั้นบทความนี้จึงมุ่งให้ความสนใจกัยแนวคิดในลักษณะที่สองมากกว่า
            ระบบภาษีที่มีความเป็นธรรมนั้น ควรที่จะมีลกษณะของความเป็นธรรมทั้งในและแนวนอนและแนวดิ่ง นั่นคือ ผุ้ที่มีความสามารถในการจ่ายเท่าเทียมกันก็ควรจะมีภาระในการจ่ายภาษีในระดับเดียวกัน ในขณะนท่ผุ้ที่มีความสามารถในการจ่ายสูงก่ว่าควรที่จะมีภาระในการจ่ายภาษีในระัดบสูกว่า นอกจากนั้นในกรณีที่รัฐบาบต้องการใช้ระบบภาษีเพื่อเป็นเครืองมือในการลดความเหลื่อล้ำนั้น ระบบภาษีควรที่จะมีัลักษณะของการจัดเก็ฐในอัตราก้าวหน้าอีกด้วย
           จากข้อมูลภาพรวมในข่วงสองทศวรรษที่ผานมา จะเห็นได้ว่าระบบภาาีของไทยมีลักษระของควสามเป็นธรรมในแนวนอน แต่ไม่มีลักษณะของการประยุกต์ใช้อัตราภาษีในลักาณะก้าวหน้าแต่อย่างใด อัตาภาษีที่จัดเก็บจริงในช่่วงตัวแต่ปี 2535 เป็นต้นมานั้นอยู่ใระดับที่คงที่ ถึงแม้ว่าข้อมูลรายได้ประชากรของประเทศไทยจะปรับตัวเพ่ิมขึ้นอยย่างชัดเจนราวหนึ่งเท่าตัว
       
จากการพิจารณาโครงสร้งรายไดจัดเกบของรัญบาลบไย จะเห็นได้ว่ารายได้ส่วนใหญ่จะมาจากฐานการบริโภคของประชากรไทย ในขณะที่ฌครงส้ร้างที่ประยุกต์ใช้อัตราภาษีแบบก้าวหน้าอย่างชัดเจนเพียงอย่างเดียวของประเทศไทยนั้น (ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา) คิดเป็นสัดส่วนเพียงราวร้อยละ 10-12 ในช่วงราว 20 ปีที่ผ่านมา
         การพิจารณาโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในรายลเอียด จะเห้ฯได้ว่า มีการลดหย่อยภาษี หลายๆ ประเภท และการยกเว้นภาษี ซึ่งทำให้แม้แต่ผุ้ทีมีเงินได้ในระดับสูงกว่าค่าเฉลี่ยยังอาจไดรับยกเว้นการจ่ายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทั้งจำนวน นอกจากนั้นจะเห็นได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของอัตราภาษีและดครงสร้างกาลดหย่อที่ผ่านมาน่าจะมรีส่วนทำให้ภาระการจ่ายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของประชากรไทยลดลง
        นอกจากนั้นแล้ว ระะภาษีไทยยังมีส่วนประกอบหลายๆ อย่างที่ขาดหายไป ดังที่ได้อธิบายไว้ในส่วนที่ 2.2 ระบบภาษีที่มีความเป้ฯธรรมตาแนวนอน อาจำเป็นจะต้องมีส่วนประกอบของ "ภาษีมรดก เพื่อที่จะเป็นเครื่องมือในการจัดการกับการโอนย้ายความสามารถในการจ่ายไปสู่รู่นลุกหรือรุ่นหลายโดยเพื่อไม่ให้เกิดการชะลอการจ่ายภาษีออกไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุดนั้น การจัดเก็บภาษีมรดกควรจะอยุ่ในลักระของการจัดเก็บ ณ ช่วงเวลาของการถ่ายโอนมรดกโดยทันที่อีกด้วย
        เพื่อความเป้ฯธรรมของระบบภาษีทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง ฐานภาษีที่ใช้ในการคำนวฯณภาระภาษีของผุ้จ่ายภาษีแต่ละคนควรที่จะมีลักษณะที่ครอบคลุม ในประเด็นนี้ภาาีเงินได้บุคคลธรรดาของประเทศไทยยังมีช่องโหว่อยู่โดยในส่วนที่เห็นได้อย่างชัดเจน คือ ยังไม่มีการจัดเก็บภาษีดังกล่าวบนฐานกำไรของส่วนเกินทุน หรือ แคปปิตอบล เกนน์ จากเงินลุทุนในตลาดหลักทรัพย์
        ภาษีบนฐานทรัพย์สินของประเทศไทยยังมีการประยุกต์ใช้ไม่มากนัก และอาจเป้นขช่องทางในการเพ่ิมรายได้ภาษีให้กับรัฐบาลเป็นจำนวนมากhttp://v-reform.org/tax-reform-for-equity/
       

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)