Progressive tax

          นักเศรษฐศาสตร์กระแสหลักส่วนใหย่ให้ความสำคัญกับการเจริญเติบโตทางเศราฐกิจโดยละเลยการแก้ไขปัญหาการกระจายรายได้ ซึ่งแนวความคิดดังกล่าวได้รับอิทธิพลมาจากงานยวิจัยคลาสนสิคของ ซิมมอน คัซเนทซ์ (1955) ซึ่งเสนอว่าแมื่อประเทศมีการพัฒนาทางเศราฐกิจและรายไ้ประชาชาาติต่อหัวเพ่ิมขึ้น ควาามไม่เท่าเที่ยมกันของการกระตสยรายได้จะเพ่ิมขึ้นเรื่องๆย จนกระทั่งรายได้เพ่ิมขึ้นถึงระดับหนึ่ง  การหระจายรวนได้จะเริ่มดีขึ้น เนื่องจากประทเศนั้นๆ จะมีการกำหนดนโยบายสาะารณะที่จะแก้ไขความไม่เท่าเที่ยมกันของการหระจายรายได้ แบบแผนความสัมพันะ์ที่อธิบายโดย คัซเนทซ์ นี้มักเรียกว่าความสัมพันธ์แบบ คัสเนทซ์
          ในกรณีของไทยนั้น ปราณี ทินกา (2545) ซึ่งทำการศึกษาคงามเลหื่อล้ำของการกระจายรายได้ในช่วง 2504 - 2544 พบว่า ลักษณะการกระจายรายไ้ของไทยมลักษณะเป็นส่นแรกของตัวยูหัวกลับเช่นเดียวกัน แต่เป้ฯตัวยูที่ลึกมากพอควร จนกระทั่งถึงระดับที่รัฐฐาลควรมีนโยบายและมาตรการการกระจายรายได้อย่างจริงจังแทนที่จะคิดอาศยกฃำกการไหลรินลงสู่เบื้องล่างจากการเติบโตของระบบเศรษฐกจแต่เพียงอย่งเดียวเหมือนช่นในอดีตที่ผ่านมา
          โดยทั่วไปแล้วนักเศรษฐศาสตร์เสรีนิยมักเห็นว่า สังคมไม่มีรายได้ แต่ปัจเจกบุคคลเป็นผุ้สร้างรายได้ให้ตนเองรัฐบาลจึงไมควรเาทรัพยกากรจากบุคคลหนึ่งไปดอนให้แก่อีกบุคคลหนึ่งเืพ่อวัตถุประสงค์ในการกระจายรายได้ อันจะทไใ้หความมุ่งมั่นนลใการทำงานลดลง (เพราะเมื่อทำงานมาก มีรายได้มาก ก็ถูกเก็บภาษีมาก) อีกทั้งยังเป็นการสร้งแรงจูงใจให้หนีและเลี่ยงภาษีอีกด้วย นอกจากนั้นในบางกรณีที่ระบบประกันสังคมกว้างขวาง เกินไป  ก็จะทำให้คนในสังคมขี้เกี่ยจและไม่ประสงค์จะทำงน (เพราะถึงไม่ทำงานก็สามรถดำรงชีวิตอยู่ได้) นักเศรษฐศาสตร์กลุ่มนี้ซึ่งเชื่อในเสรีภาพของแต่ละบุคคล มักมีความเห็นว่า รัฐบาลไม่ควรมีบลทยาทในการกระจายรายได้ แต่ควรมีบทบาทในการคคุ้มครองกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินเท่านั้น เช่น ป้องกันแและควบคุมมิให้มีการก่ออารชญากรรมและการผิดสัญญา อีกทั้งยังเชื่อว่า ความเท่าเที่ยมกันในด้านโอกาส มีความสำคัญมากกว่าควาทเท่าเที่ยมกันในด้านรายได้โดยนักเศรษฐศาสตร์กลุ่มนี้บางส่วนเชื่อว่า ความเป็นธรรมในการกระจายรายได้สามารถเกิดขึ้นได้หากตลาดมีการแข่งขันสมบูรณ์
           
อย่างไรก็ตาม นักเศรษฐกศาตรืกลุ่มนี้มัก๔ุกโจมตีในประเด็นสำคัญ กล่าวคือ ในสภาพความเป็นจริง ตลาดมีการผุกขาดนอกจากนี้ ผุ้ผลิตด ผุ้บริโภค และแรงงานต่างก็มิไดมีข้อมุลอย่งสมบุร์ ดังนั้น กาสร้างความเป็นธรรในการกระจายรายได้จึงควรเป้นเป้าหมายหนึ่งที่สำคัญในการดำเนินนโยบายโศรษบกิจของรัฐบาล ซึ่ง ธีรนาภ กาญจนอักษร ผุ้ล่วงลับไปแล้ว เคยให้ความเห็นว่า
           " เชื่อว่า ระบบทุนนิยมเสรีนั้นดี แต่การแข่งขันในปัจจุบันนั้นเร่ิมจากจุดที่ไมเ่ท่เที่ยมกัน ดังนั้นต้องมีกลไกบางอบย่างที่จะทำให้เกิดความสมดุลในบางเรื่อง คนที่มีโอกาสมาก เมื่อจะเข้าแข่งขันในสังคมก็จะได้เปรียบกว่าคนอื่นๆ มาก แต่จะทำอย่างไรให้คนอ้อยโอกาสเข้ามาบ้างในวที่จะมีสิทธิ์ มีเสียง มีส่วยนร่วม การพึ่งกลไกการแข่งขชันเสรีอย่างเดียบางที่ก็ไม่ได้ผล "
            การหันมในใจควาแตกต่างของรายได้แสดงว่ นักศรษฐศาตร์มีคุณค่าบางอย่างที่ทำให้รู้สึกว่ากระกระจายรายได้ที่ไม่เทาเที่ยมกันหรือเลื่อมล้ำกันจนเกินไปนั้นเป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสม นักปรัชญาที่สำคัญในกลุ่มนี ซึ่งถือว่าเป้นผุ้ให้กำเนิดแนวคิดอรรถประโยชน์นิยม ซึ่งมองว่า เป้าหมายของรัฐบาลควรจะเป็นการแสดวงหาอรรถประดยชน์สูงสุดให้แก่ทุกคนในสงคมรวมกัน ดังนั้น รัฐควรทำหน้าทีในการกระจยรายได้ โดยการอดนเงินจากผุ้มีรายได้สูงมาให้ผุ้มีรายได้ต่ำ เนืองจากเชื่อในสมมติญฐานของการบลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์ส่วนเพ่ิม นั่นคือ  การเสียสละเงิน 12 หน่วยจากผุ้มีรายได้สูง (อรรถประโยชน์ลดลงเพียงเล็กน้อย) มาให้ผุ้มีรายได้ต่ำ (อรรประดยชน์เพ่ิมขึ้นมาก ) จากทำให้สวัสดิการในสังคมดีขึ้น แนวคิดของนักปรัชญาอีกท่านหึ่งคอ จอห์น รอว์ ซึงมีความเห็นว่า ควมเป็นธรรมควรมีลักาณปลอดจากความคิดแบบอัตวิสัย ของแต่ละบุคคล และเห็นว่า ควรจะต้องให้ความช่วยเหลือแก่คนที่อยุ่ในฐานะที่ยากจนที่สุดในสังคมก่อน นั่นคือ แนวคิดนี้ให้นำ้หนึกกับกลุ่มคนจนที่สุดของสังคมมากว่าที่จะมาคำนึงถึงอรรประดยชน์โดยรวม
            การกระจายรายได้เป็นการสร้างความสมดุลระหว่างการยอมูญเสียประสิทธิภาพไปบางส่วน เพื่่อหใ้ได้มาซึ่งความเ่ท่าเที่ยมกัน ซึ่งการระบุจุดสมดุลดังกล่วสามารถถกเถียงกันได้อย่างไม่มีทางจบสิ้น หล่าวคือ นักเศรษฐศาสตร์เสรีนิยม ซึ่งชื่นชอบกับมิติด้านความมีประสทิธิภาย่อมประสงค์จะให้รับบาลมีบทบาทน้อยที่สุด
           ในระบบเศรษฐกิจ ในทางกลับกันนักเศรษฐศาสตร์พัมนาการมักประสงค์จะให้รัฐบาลเข้ามามีบทบาทในการสร้างโอากสให้แก่ประชาชนโดยการเพร่ิมโอากาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการศึกษา การสาธารณสุข และการจ้างงานได้
            ในประการสำคัญ ความเหลื่อล้ำในการกระจายราไ้ไม่ใช่กระบวการกติ แต่เป็นส่ิงที่สัคมเลื่อก ังนั้นจึงเกี่ยว้องกับปรัชญาและอุดมการณืของผุ้คนในสังคม ดังเช่นที่ อาร์โนว์ ฮาเบอเกอร์ ได้ขชี้ว่า การใช้นดยบายเืพ่อสร้างความเท่าเที่ยมในการกระจายรายได้ในแต่ละประเทศนั้น สวนหคึ่งก็ขึ้นอยุ่กับการสนับสนนุนของชนชั้นกลางในสังคมว่า เห้นความสำคัญของการลดความเลหื่อล้ำในการกระจายรายไ้หรือไม่
             อาทิ ผุ้จนในประเทศสหรัฐอเมริกาเชขื่อว่าความเหลื่อล้ำเป็นแรงจุงใจให้เศราฐกิจเจริญเติบโตจึง ไม่ได้ดำเนินมาตการลดความเลื่อมล้ำใ ในทางตรงกันข้าม หากพิจารณาประเทศที่เป้นตัวอย่งของการกระจายรายไ้ที่ดียุโรปเหนือ เช่น นอร์เวย์ สวีเดน เดนมาร์ก เยอรมนี ประเทศเหล่านี้ล้วนแต่มีกระบวนการทางประวัติศาสตร์ของการต่อสู้ตั้งแต่การตอสู้ทางอุดมการณ์ของขยวนการต่าง ๆทั้งฝ่ายสังคมนิยมและทุนนิยมโดยมีการปรับเลปี่ยนตลอดเวลา ทั้งนี้ ความเข้มแข็งของขวบนการรแรงงาน ของเกษตรกร ของกลุ่มต่างๆ ในสังคม ลวนเกี่ยวข้องกับการต่อสู้ทางความคิดทั้งส้ิน อาจกล่าวได้ว่า ประเทศเหล่านี้เลหื่อกที่จะสร้างสัคมที่มีความเท่าเที่ยมกัน โดยผ่านกานรใช้นโยบายประกันสังคม นโยบายสุขภาพ นโยบายภาษี ฯลฯ ดังที่ ผาสุก พงษ์ไพจิต ได้ชี้ว่า ญี่ปุ่นและยุโรปเหนือเลื่อกที่จะมุ่งไปสู่ "สังคมเสมอหน้า" ด้วยสังคมเชื่อว่ ควาาเสมอหน้าทำให้สังคมมีสัจติสุขมากว่าดดยที่ในกรณีของญีปุ่น นั้น ความเจริญเติบโตทางเศราฐกิจก็ไม่ย่ิงหย่อนกว่ากรณีของสหรัฐอเมริกา
           
 หากพิจารณาเปฑาะเครื่องมือทางด้านภาษีนั้น นโยบายภาษีไม่ว่าจะเป็นในช่วงเวลาใดหรือในสถานที่ใดก็ตามล้วนแล้วแต่เป็นเรื่องของการสร้างสมดุลใหห้เกิดขึ้นระห่างเงื่อนไขของความมีประสิทธภาและความเท่าเที่ยมกันทั้งส้ิน ดังเช่นที่งานเขียนจำนวนมากได้พยายามจะตอบคำถามเกี่ยกับการออกแบบภาษีเพื่อนำไปสู่ความสมดุลดังกล่ว ซึงในทางปฏิบัติแล้ว ปัจจัยทางการเมืองไมเ่พียงแต่จะเป็นปัจจัยหนึงในการสร้างคึวามสมดุลเท่านั้น หากแต่เป็นปัจจัยที่คีอบงำทังหลักการของประสิทะิภาพและลัการของความเท่าเที่ยมกันอีกด้วย
            ด้วยเหตุนี้การพิจารณาในมิติเชิงเศรษฐศาสตร์การเมืองของภาษีอากรจึงเป็นเรื่องสำคัญ ดังตัวอย่างของการก่อกำเนินดระบบภาษีก้าวหน้าในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่ง สติฟ เวีซแมน ได้ชี้ให้เห็นว่า วิกฤตเศรษฐกิจและสงครามต่างก็เป็นปัจจัยทีก่อกำเนินภาษีเงินได้ที่มีโครงสร้างกาวหน้า ดดยการสร้างความเห็นพ้อง ได้มีการพัฒนามาเป็นลำดับในช่วงทศวรรษ และที่สำคัญข้อถกเถียงที่เกิดขึ้น ในช่วงเวลาดังกล่าว มิใช่เป็นการถกเถียงเกี่ยวกับระบบภาษีโดยตรง หากแต่เป็นการภกเถียงเกี่ยวกับคำภถามที่ว่า สังคมแบบใดที่ชาวอเมริกันต้องการ....
         http://v-reform.org/wp-content/uploads/2012/10/Full-Paper_tax_pan.pdf

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)