Income Distribution

           การกระจายรายได้ หมายถึงการแบ่งสันปันส่วนผลผลิตมวลรวมของประเทศ ในหมู่ประชากรของประเทศ โดยใช้เป็นปัจจัยชี้วัดความเท่าเที่ยมทางสังคม ความเท่าเที่ยมทางเศราฐกิจ และการพัฒนาเศราฐกิจอย่างสมดุล
           การกระจายรายได้เป็นัชนีตัวหนึ่งที่ใช้ในการวัดค่าความไม่เท่าเที่ยมทางเศราฐกิจ ซึ่งมิใช่เรื่องเดียวกันกับความยากจน ความไม่เท่าเที่ยมในเชิงเศรษฐกิจที่วัดโดยใช้การกระจายรายได้นั้นจะดูจากการแบ่งสันปันสวนผลผลิตมวลรวมของประเทศโดยแบ่งประชาชนออกเป็นส่วน แล้วดุว่าประชาชนสวนที่ได้รับรายได้สูงสุดนั้นได้ับรายได้มากว่า ประชาชนส่วนที่ได้รับรายได้น้อยที่สุดเ่าไร แลวคิดออกมาเป้นสัดส่วนที่บ่งชี้ความมไ่เท่าเที่ยมทางเศรฐกิจ
           ดังนั้น แม้จะมีความไม่เท่าเที่ยมทางเศราฐกิจก็มิได้หมายคึวามว่าจะมีความยากจนเพราะประชาชนส่วนที่มีรายได้น้อยที่สุดอาจจะมีรายได้เหือเส้นความยากจน หรือแม้แต่มีชีวิตความเป็นอยุ่ที่ดีก็ได้ เพรียงแต่มีรายได้น้อยกว่าประชาชนที่มีรายได้มากที่สุดของประเทศอย่างมากเท่านั้น โดยวิธีการคิดคำนวณเช่นนี้อาจมิได้คำนึงถึง หรือละเลยส่ิงที่เรียกว่า "ช่อง่างระหว่างรายได้" อันเกิดมาจากการกระจายรายได้ที่ไม่เท่าเทียมกัน ซึ่งทำให้ความแตกต่างระหว่งผุ้ที่มีรายได้มากที่สุด กับผุ้ที่มีรายได้น้อยที่สุดของประเทศไทย มีความแตกต่างกันหล่ายยเท่า เพราะประเทศที่ประชากรส่วนใหญ่อยู่เหนือระดับเส้นความยากจนก็อาจเป็นประเทศที่มีช่องว่างในการกระจายรายได้สูงหลายสิบเท่าได้ด้วยเช่นกัน
            วิธีที่นิยมใช้กันในการวัดการกระจายรายได้คือค่าสัมประสิทธิ์จีนี ซึ่งเป้นวิะีวัดการกระจายทางสถิติวิธีหนึ่ง ค่านี้จะบ่งชี้การกระจายรายได้โดยคิดออกมาเป้นอัตราส่นการกระจายรยได้ระหว่าง 0 กับ 1 "0" หมายถึงประชากรทั้งหมดมีรายได้เท่าเที่ยมกันอย่างแท้จริง และ "1" หมายถึงถ การเหลื่อมล้ำสมบูรณ์แบบซึ่งมีบุคคลเพียงคนเดียวมีรายได้ทังหมดขณะที่คนที่เหลือไม่มีรายไ้ดเลย (องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ) สัมประสิทธิ์จีนี จะถูกเปลี่ยนเป็นร้อยละเพื่อคิดเป็นดัชนีจีนีสำหรับวัดการกระจายรายได้ เช่น ประเทศเอยรมนีมีสัมประสิทธิ์จีนี จากการกระจายรายได้เท่ากับ 0.283 ดัชนีจีนีของเยอมนีจะเท่ากับร้อยละ 28.3
            ดัชนีจีน จะทำการชี้ยวัดการกระจายรายได้เพื่อวัดความเท่าเที่ยมทางเศราฐกิจของทังประเทศ ส่วนอัตราส่วนคนรวยคนจนที่แบ่งประชาชนออกเป็นกลุ่มๆ นั้นจะให้ข้อมูลของความแตกต่างระหว่างคนที่มีรายไ้มากที่สุดกับทคนที่มีรายได้น้อยที่สุดว่าความไม่เท่าเทียมมีความรุนแรงเพียงใด (โครงการ
พัฒนาแห่งสหประชาชาติ) เมื่อเรานึกถึงรูปภาพแก้วแชมเปญ เราสามารถเห็นภาพของปัญหาการกระจายรายได้และการถือครองทรัพยากรของประขากรโลกที่ไม่เป็นธรรม กล่าวคือ คนรวยที่สุด 20 เปอร์เซ็นต์ มีสวนแบ่งในด้านรายได้และทรัพยากรเพียง 1.4 เปอร์เซ็นต์ เท่านั้น ภาพแก้วแชมเปนปากกว้างและก้านเรียวเล็ก สะท้อนความไม่สมดุลในการกระจายรายได้ของประชากรโลกได้เป็นอย่างดี
           ดัชนีจีนีของประเทศไทย ซึ่งจัดทำโดยสหประชาชาติในปี ค.ศ.2013  อยู่ที่ 0.4 ส่วนสำนักงานข่าวกรองกลางสหรัฐอเมิรกาให้ค่านในปีเดียวกันไว้ที่ 0.536  ทั้งนี้ค่าความเหลื่อมล่้ำในการกระจยรายได้ของประเทศถูกตั้งไว้ตั้งแต่ 0-1 โดยยิ่งมีค่าเพ่ิมจาก 0 มากเท่าไหร่ก็ย่ิงแสดงให้เห็นถึวความเลื่อมล้ำในการกระจายรายได้มาเท่านั้น
           ปัจจัยจำนวนมากสามารถก่อให้เกิดความไม่เท่าเที่ยมของรายได้ ตั้งแต่โคงสร้างทางสังคม เพศ เชื้อชาติ วัฒนธรรมการศึกษาทักษะของกแรงงาน จนถึงนโยบายของภาครัฐ อย่างนโยบายด้านภาษี นโยบายเศณาฐฏิจ นโยบายแรงงาน นโยบายการเงิน รวมถึงระบบเศราฐกิจ เทคโนโลยีและระบบอัตโนมัติในการผลิต จนถึงอิทธิพลจากโลกาภิวัตน์แต่โดยพื้นฐนแล้วการกระจายรายได้ที่ไม่เท่าเที่ยมhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89
กันนั้นมีสาเหตุมาจากธรรมชาติของการสั่งสมต้นทุนทางเศณาฐกจของผุ้เข้าแข่งขันในระบบตลาดเสรีทีจะได้เรียบผุ้ที่มีต้นทุนทางเศณาฐกิจที่น้อยกว่าอยุ่แล้ว ปัจจัยอื่นๆ จึงเป็นเพยงตัวเร่ง และขยายควาไม่เท่าเที่ยมดังกล่าวนี้ให้มากและรุรแรงมากยิ่งขึ้นไปเท่านั้น สำหรับประเทศไทยนั้น สาเหตุสำคัญที่ตุ้นให้ความไม่เท่าเทียมนั้น สำหรับประเทศไทยนั้น สาเหตุสำคัญที่กระตุ้นให้ความไม่เท่าเที่ยมดังกล่าวนี้ทวีความรุนแรงมากย่ิงขึ้นก็คือ ความไม่เท่าเที่ยมในโอกาศทางการศึกษา ซึ่งส่งผลให้ประชากรส่วนใหญ่ต้องกลายเป้นประชาชนผู้รายได้ต่ำ และมีโอกาสเข้าสู่ระบบเศราฐฏิจขนาดใหย่เพื่อแสวงหาความมั่งคั่งและความเจริญก้าวหน้าทางเศณาฐฏิจได้น้อยกว่าคนอื่นๆ แม้รัฐบาลจะพยายามแก้ไขปัญหาด้วยการจัดให้มีการศึกษาภาคบังคับ และโครงการค่าเรียนฟรีแล้วก็ตา แต่ด้วยข้อจำกันางเศราฐฏิจของครอบครัวที่บีบบังคับ ทำให้ผุ้คนเหล่านี้ท้ายที่สุต้องผันตัวมาเ็นแรงงานรับจ้างที่มีรายได้ต่ำปัญหาที่ว่านี้ถูกสงต่อไปยังบุตรหลานรุ่นต่อๆไปของพวกเขา ในขณะที่ผุ้มีรายไ้สูงก็จะสามารถเข้าถึงและขยับขยายโอากสในการแสวงหาความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจได้อยู่เสมอ และส่งต่อโอกาสที่ว่านี้ไปยังลูกหลานได้ด้วยเช่นกัน ความแตกต่างในโอากสทางการศึกษาผลิตซ้ำความเหลื่อมล้ำดังกล่าวนี้ให้ห่างมากขึ้นเรื่อยๆ หลายคนมองว่าความเลหื่อมล้ำที่ถุกผลิตซ้ำส่วนหนึ่งเพราะรัฐไม่มีการจัดเก็บภาษีที่ดิน และภาษีมรดกในอัตราก้าวหน้า หากสามารถบังคัยช้กฎหมายภาษีทั้งสองประเภทได้ ช่องว่างในการถือครองทรัพย์สินคื อที่ดิน และการส่งต่อความมั่งคั่งคือมรดก ก็จะลดลงจาเดิม และจะสามารถตอบโจทย์ที่เป็นพื้นฐานสำคัญของปัญหารการกระจายรายไ้ดของประเทศไทยได้เป็นอย่างดี...

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)