โดยทั่วไปแล้วภาษีเป็เนครืองมือของรัฐบาลเืพ่อให้บรรลุเป้าหมายหลายประการ เช่น เพื่อหารายไ้ด้ให้แก่รัฐบาล เพื่อส่งเสริมและจำกัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจบางประเภท เพื่อรักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจนอกจากนี้ ภาษียังถูกใช้เป็นเครื่องมือในการลดความเลหื่อมล้ำในการกระจายรายได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม ความสำคัญของแต่ละเป้าหมายได้มีการเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละข่วงเวลา ในส่วนนี้จึงเป้นการพิจารณาถึงแนวโน้มของวิวัฒนาการของนโยบายภาษีที่เกิขึ้นทั่วโลก
นโยบายภาษีีพันาการอย่างชัดเจนในช่วงทศวรรษ 1980 โดยเป็นผลสืบเนื่องมาจากกรเปลี่ยนแปลงบริบทของการพัฒนาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นม การพัฒนาเศราฐกิจของประเทศต่างๆ มักดำเนินการโดยใช้นดยบายภาษีเป้นสำคัญกล่าวคือ รัฐบาบจะเข้าไปมีส่วนร่วมของประเทศต่างๆ มักดำเนินการโดยใช้นโยบายภาษีเป็นสำคัญ กล่าวคือ รัฐบาลจะเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจโดยให้ความสำคัญกับกระบวนการทำให้เป้นอุตสาหกรรม จึงต้องใช้นโยบายภาษีต่างๆ เข้ามาจัดการในฐานะที่เป็เนครื่องมือองนโบายกาพัฒนา เช่น การตั้งกำแพงภาษี โดยเพ่ิมอากรขาเข้าเพื่อปกป้องอุตสาหกรรมภายในประเทศ การให้เงินอุดหนุนแก่ผุ้ผลิตวัตถุดิบ รวมตลอดจนการยเกว้นและลดหย่อนภาษีแก่บางภาคอุตสาหกรรมเป็นพิเศษ (เพื่อจูงใจให้มีการดำเนินกิจกรรมทางเศณาฐกิจในภาคอุตสาหกรรมที่รัฐบาลเห็นว่าจำเป้ฯต่อการพัฒนาประเทศนอกจากนี้ก็มักมีการเก็บภาษีอากรขอออกอัตราสูงๆ ในภาคเกษตรและภาคเหมืองแร่่
ต่อมได้เกิดความนิยมในการใช้นโยบายภาษีเพื่อเป็นเครื่องมือในการลบดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้โดยในช่วงประมณทศวรษ 1950-1960 นักวิชาการส่วนใหญ่มักมีควมเห้ฯว่า การใช้ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในอัตราก้าวหน้าสูงๆ และการใช้ภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตาสูงๆ เป็นนโยายภาษีในอุดมคติ อีกทั้งยังมองว่าการจัดเก็บภาษีทางอ้อมมีความจำเป็นอยู่้างเพื่อเป็นแหล่งรายได้ของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม รัฐบาลควรออกแบบนโยบายภาษีโดยให้ภาษีเงินไ้เข้ามาทอแทนภาษีทางอ้อมให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ นอกจากนี้ การออกแบบนโยยายภาษีในขณะนั้นไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงนโยายภาษีที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ กล่าวคือ ถือว่าการออกแบบนโยบายภาษีเป็นเรื่องภายในประเทศ โดยแท้ึ่งอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า นโยบายภาษีในขณะนั้นมีเป้าหมายเพืยง 2 ประการ คือ เพื่อหารายได้มาสนับสนุนบทบยาทของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจ และเพื่อกระจายรายไ้และความมั่งคั่ง ว฿่งการจัดเก็บภาษีในอัตราสูงมากทำให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ ในขณะนั้นสามารถใช้การลดหย่อนและยกเว้นภาษีมาเป็นเครื่องมือในการชักจูงให้ภาคเอกชนเข้ามาลงทุนในภาคการผลิตที่จำเป็นต่อการพัฒนาเศรษฐกิจได้
ด้วยเหตุนี้แนวคิดในการใช้นโยบายภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการกระจยรายได้มักให้ความสำคัญกับบทบาทของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การออกแบบนโยายภาษีจึงเน้นไปที่การใช้อัตราภาษีก้าวหน้า และการปรับปรุงระบบการบริหารจัดเก็บภาษีให้ภาระภาษีกระจายไปยังบุคคลกลุ่มต่างๆ ในสังคมอย่างเปฯธรรมตามหลักความสามารถในการเสียภาษี ดังแนวคิดของ เฮจ ไซมอนส์ ที่มอวา "เงินได้" เป้นตัวชี้วัดความสามารถในการเสียภาษีที่ดีที่สุด ด้วยเหตุนี้นักวิชาการในขณะน้ั้นจึงมักเสนอให้รัฐบาลพยายามนำภาษีเงินได้บุคคบลธรรมดามาใช้แทนภาษีทางอ้อมขณะเดียวกันก็เสนอว่ ข้อดีของการใช้ภาษีเงินได้ในโครงสร้างอัตรก้าวหน้านั้น นอกจากจะช่วยลดความเหลื่อล้ำในการกระจายรายได้แล้ว ยังจะช่วยให้รัฐบาลมีรายได้เพ่ิมข้นมากเพียงพอที่จะทำให้รายจ่ายของรัฐบาลเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่าอัตราการเจริญิเติบโตของเศราฐกิจ โดยมีนักชิวาการได้เสนอว่า การเจะเปลี่ยนจากประเทศกำลังพัฒนาไปสู่ประเทศพัฒนาแล้วนั้น รัฐบาบต้องมีการเก็บภาษี (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอัตราก้าวหน้า ) ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ นั่นคือ ในระดับรายได้ภาษีที่ประมาณ 25-30 ของ GDP
ต่อมาเมื่อเกิดปรากฎการณ์เศณาฐกิจตกต่ำทั่วโลกในทศวรรษ 1970 นักเศรษฐศาสตร์เร่ิมเปลี่ยนการให้ความสำคัญของเป้าหมายการดำเนินนโยบยายภาษีจากเดิมที่เน้นการสร้างความเท่าเที่ยมกันไปเน้นที่การสร้างความเจริญเติบโตทางเศราฐกิจแทนแนวคิดดังกล่าวได้กลายเป็นแนวคิดกระแสหลักจนกระทั่งปัจจุบัน กล่าวคือ นักเศรษฐศาสตร์และผุ้กำหนดนดยาบยเศราฐกิจในแต่ละประเทศมักมีความเชื่อว่ อัตราภาษีที่สูงไม่เพียงแต่จะลอแรงจูงจในการทำงานและบิดเบือนกิจกรรมทางเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังไม่สามารถทำให้บรรลุเป้าหมายในการสร้างความเท่าเที่ยมกันในการกระจายรายได้ได้ นนอกจากนี้ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศต่างๆ และแรงกดดันในกาดึงดูดเงินลททุนจากต่างประเทศ (ซึ่งมีลักษณะไร้พรมแดนมากขึ้น) ได้ทำให้ทั้งประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาหัสมาให้ความสำคัญกับผลกระทบของระบบภาษีที่มีต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศมากขึ้น..
ในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน นโยบายเศณาฐกิจทีมุ่งเน้นความเจริญเติบโต ได้รับการยอมรับยมกขึ้น และแนวคิดเกี่ยกับบทบาทของรัฐบาลได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เน้นให้รัฐบาลมีบทยบาทในระบบเศรษฐกิจมาก ไปสู่แนวคิดตลาดเสรี ที่ต้องการให้รัฐบาบมีบทบาทในระบบเศณาฐกิจน้อยที่สุด โดยให้มีการลดขนาดของภาครัฐและให้มีการเปลี่ยนองค์กรของรัฐไปเป็นเอกชน มากขึ้น...
ทิศทางของนโยบายภาษีรประการสุดท้ายที่เกิดขึ้นตั้งแต่ประมาณทศวรรษ 1980 เป้ฯต้นมา คือ การลดความสำคัญของการจัดเก็ฐภาษีในอัตราก้าวหน้ามากๆ เพื่อเป้าหมายในกากระจายรายได้ กล่าวคือ แนวคิดกระแสหลักมักมุ่งไปที่การเก็บภาษีเงินได้ที่มีโครงสร้างอัตราก้าวหน้าเพียงเล็กน้อย หรือเก็บในอัตราเดียว รวมตลอดจนการมุ่งเน้นเก็บภาษีมูลค่าเพ่ิมซึ่งมีฐานภาษีกว้างเป็นสำคัญ และเพื่อไม่ให้ภาษีมูลค่าเพ่ิมโดยให้มีกายกเว้นภาษีแก่สินค้าและบริการที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตของประชาชน แนวคิดข้างต้นทำให้ภาษีมูลค่าเพ่ิมกลายเป็นรายไ้สำคัญของรัฐบาลของประเทศต่างๆ เกือบทั่วโฃกในปัจจุบัน ขณะเดียวกันก็ทำให้อัตราภาษีเงินได้ทั้เงประเภทบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลในประเทศต่างๆ ปรับลดลงมาก....http://v-reform.org/tax-reform-for-equity/
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น