ตามนิยามในการศึกษาของ ลี โมเรโน่ ดอดสัน และ โรจชัย ชนินทร ประเทศไทยจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศรายได้ปานกลาง ซึ่งจากข้อมูลเมื่อเปรียบเทียบกันแล้วจะเห็นว่าประเทศไทยมีการจัดเก็ฐภาษีในระดบที่ตำ่กว่าค่าเฉลียของกลุ่มประเทศที่มีรายได้ในระดับปานกลาง ซึ่งภาพรวมการจัดเก็บภาษีที่ไม่ได้แสดงถึงลักษระของการจัดเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้า ยังคงเป้นลักษระร่วมกันของกลุ่มปรเทศรายได้ปานกลางนี้
เราสามารถคาดการณ์ได้ระดับหนึ่งว่า ผลกระทบจากการปรับตัวลดลงของอากรน้ำเข้-ส่งออกของประเทศไทยนั้นจะอยู่ในระดับที่ลดลงในอนาคต เนื่องจากสัดส่วนการจัดเก็บอากรนำเข้า-ส่งออำดังกล่าวในปัจจุบันมีระดับที่ลดลงดังกล่าวอาจสามารถทดแทนได้โดยการปรับตัวเพ่ิมขึ้นของภาษีมูลค่าเพ่ิม ตาการเติบโตของระบบเศณษฐกิจ
การปรบโครงสร้างระบบภาษีของประเทศไทยเพื่อนำไปสู่การจัดเก็บในลักาณะอัจราก้ายหน้ามากขึ้นนั้นจำเป็นจะต้องพุ่งเป้าความสนใจไปที่การปรับโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคลเป้นหลัก
ในส่วนของโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดานั้น ประเด็นที่น่าสใจน่าจะอยุ่ที่การสร้างความมีส่วนร่วมที่เพิ่มมากขึ้น โดยผ่านเครื่องมือ อาทิ
- ยกเลิกรายการต่าลดหย่อหลายๆ ประเภททิ้งไป
- ยกเลิกการยกเว้นการเก็บภาษีในขั้นรายได้แรกของผุ้มีเงินได้
- การปรับเพิ่มฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมของประเทศ
การปรับตัวเพ่ิมขึ้นของรายการค่าลดหย่อนประเภทต่างๆ ในขช่วงเวลาราว 20 ปีที่ผ่านมาได้มีส่วนทำให้ลักษรของการจัดเก็บภาษีในอัตราก้าหน้าของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาไม่าสามารถทำหน้าที่ของมันได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นแล้วยังเป้ฯที่เข้าใจได้ว่าผุ้ที่ใช้สิทธิค่าลดหย่อนหลายๆ ประเภท อาทิ การซื้อกองทุน การหักค่าดอกเบี้ยเงินกู้ซื้อบ้าน หรือการหักเบี้ยจ่ายกรมธรรม์ประกันชีวิต จะต้องเป้นผู้ที่มีรายได้สูงกวย่า สองหมื่นบาทต่อเดือนซึ่ง จากข้อมูลเป็นกลุ่มผู้มีรายได้สูงสุดร้อยละ 30 ของประเทศไทย การยกเลิกค่าลดหย่อนประเภทต่างๆ จะทำให้กลไกของการจัดเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้าามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งน่าจะมี่ส่วนช่วยให้ระบบภาษีของประเทศไทยสามารถทำหน้าที่ในการบกความเหลื่อมล้ำให้กับประเทศได้ส่วนหนึ่ง
การยกเลิกการยกเว้นการเก็บภาษีในชั้นเงินได้สุทธิแรกขอผุ้มีเงินได้ ก็เป็นอีกองคประกอบหนึ่งที่น่าจะช่วยเพ่ิมการมีส่วนร่วมในกาจ่ายภาษีของผุ้มีรายได้ในประเทศไทยได้ โดยเนื่องจากเงินได้ที่จะถูกนำมาคำนวณเพื่อเป็นฐานนการคำนสณภาษีเวินได้บุคคลธรรมดานั้น จะอยุ่ใรูปของ เงินได้สุทธิ ภายหังการหักค่าใช้จ่าย ออกไปแล้วเงินได้สุทธิในส่วนนี้น่าจะเป้นส่วนที่เกินมาจากการใช้จ่ายต่างๆ ที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน ในกรณีที่รัฐบาลเห็นว่าค่าใช้จ่ายของประชาชนมีการปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น ก็น่าจะทำการปรับเงินหักค่าใช้จ่าย หรือค่าลดหย่อนส่วนบุคคลออกไปให้ัดเจนมากว่า
การยกเว้นการเก็บภาษีในขั้นเงินได้สุทธิแรกนี้แท้จริงแล้วให้ประโยชน์กับกลุ่มผุ้มีรายได้สุทธิแรกนี้แท้จริงแล้วให้ประโยชน์กับกลุ่มผุ้มีรายได้สุงในระดับสูงกว่ากลุ่มผุ้มีรายได้ต่ำ นั่นคื อในกรณีที่ผุ้มีเงินได้สุทธิในปีนั้นเกินกว่า หนึ่งแสนห้าหมืนบาท จะได้รับการยกเว้นภาาีในขั้นเงินได้สุทธิแรกเต็มจำนวนเงิน ในขณะที่ผุ้มีเงินได้สุทธิในปีนั้นในระดับต่ำกว่า แสนห้าหมื่นบาทจะได้รับการยกเว้นภาษีในขั้นเงินได้ดังกล่าวเป้นจำวนเงินที่น้อยกว่า
จากการศึกษาของ แทนนิ และ ซี (2000) มีข้อสรุปประการหนึ่งว่า จากประสบกาณ์ของหลายๆ ประเทศการเพ่ิมประสิทะิภาพการทำงานของลักษระการจัดเก็บภาษีอัตราก้าวหน้า สามารถทำได้ผ่าการลดจำนวนขั้นของภาษีลง ในขณะที่ลดรายการต่าลดหย่อนประเภทต่างๆ ลงไปพร้อมกันด้วย การลดความยุ่งยากในการคำนวณมูลค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในลักาณดังกล่าว จะช่วยให้การจัดเก็บภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพซึ่งจะช่วยเสริมลักษระการจัดเก็บภาษีอัตราก้าวหน้าในโคงสร้างการจัดเก็บภาษีดังกล่าวได้
การปรับเพิ่มฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ในที่นี้ หมายถงการพยายามชักจูงให้ผุ้ที่มีรายได้ในระดับที่เขาข่ายการจายภาษีเงินได้บุคคลธรรม แต่อาจมีเงินได้จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจนอกระบบ ให้หันมยื่นแบบแสดงรายการนี้จะช่วยสร้างความเป้ฯธรรมในแนวนอนของระบบการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้เพิ่มมากขึ้น การปรับเพิ่มฐานภาษีในลักาณะนี้สามารถทำได้ผ่านการให้สิทธิประโยชน์บางประการแก่ผุ้ยืนแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษี อาทิก การเสนอบริการสาธารณะที่สำคัญบางประเภทให้กับผุ้ที่ยื่นแบบเสียภาษีเงินไ้ด้บุคคลธรรมดาเท่านั้น หรือ การเพ่ิมบทลงโทษและเพ่ิมการกวดขันในการตรจสอบผุ้ที่หลีกเลี่ยงกรยื่นแบบเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป้นต้น
ในส่วนของการปรับปรุงโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้น มีประเด็นสำคัญอยู่สองประการ
- ปรับปรุงการให้สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีให้กับนักลงุทนประเภทต่างๆ
- การปิดกั้นช่องทางการหลบเลี่ยงภาษีผ่านความเหลื่อล้ำระห่างโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล
จากประสบการณ์ของหลายประเทศน้น การให้สิทธิประดยชน์างก้านภาษีไม่ได้ก่อให้เกิกดการไหลเข้าของการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพมากนักนอกจานั้นในปัจจุบนยงดุเหมือนว่ามีการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนให้กับนักลงทุนหรือนิติบุคคลภายใน
ประเทศอีกด้วย สิทธิประดยชน์ทางภาษีดังกล่วก่อให้เกิดความไม่เป้นธรรมทางภาษีทั้งในแนวตั้งและแนวนอนโดยเจ้าของกิจการหรือผุ้ถือหุ้นสามัญในนิติตบุคคลที่ได้สิทธิประโยชน์ดังกล่าว ซึ่งมักจะเป้นกลุ่มผุ้มีรายได้สูงของประเทศสามารถได้รับรายได้จำนวนมกที่ได้รับการยกเว้นภาษีท้งจำนวน จากเงินปันผลของกิจการดังกล่าว
ความแตกต่างระหว่างอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลกับอัตราภาษีขั้นสุงสุดของภาษีเงินได้บุคคลธรมดา อาจเป็นอีกขช่องทางหนึ่งที่ก่อให้เกิดการโอนย้ายถ่ายเทรายได้เพื่อการหลีกเลี่ยงภาษี ซึ่งกาารหลีกเลี่ยงในลักษณะนี้เป็นต้นเหตุของความไม่เป้นธรรมตามแนวนอนของระบบภาษีไทยนอกจากนั้นแล้วการหลีกเลี่ยงภาษีลักษณะดังกล่าวยังลดประสิทธภาพของลักษรการจัดเก็บภาษีอัตรก้าวหน้าอีกด้วย การปรับเปลี่ยนอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคคลจึงควคำนึงถึงช่องว่างระหว่งอัตราภาษีดังกล่าวกับอัตราข้นสูงสุดของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วยhttp://v-reform.org/tax-reform-for-equity/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น