วันศุกร์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2560

ASEAN : Economic Inequality

            ธ.โลก และสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ได้วิเคาะห์แนวโน้มและพัฒนาการด้านความเลหื่อล้ำทางเศราฐกิจ ของบรระดาประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งรายงานในปี 2555 ระบุวง่า กลุ่มประเทศอาเซียนกำลังเผชิญกับแนวโน้มสำคั 2 ประการกล่าวคือ อาเว๊ยนมีความั่งคั่งที่สูงขึ้น และความเหลื่อล้ำทางเศณาฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกมีแนวโน้มลดลง แม้ว่าช่องว่างระหว่างกลุ่มประเทศที่มีรายได้ตอหัวประชารในระดับสูงและต่ำ จะยังความระดัยสุง กล่าวคื อกลุ่มประเทศรายได้สูงมีรายได้ต่อหัวประชากรสูงกว่ากลุ่มประเทศรายได้ต่ำถึงปรมาณ 15 เท่า แต่ช่อง่างดังกล่าวได้ทยอยลดความถ่างลงเรื่อยมาในข่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมาอย่างไรก็ตาม แนวโน้มอีกประการที่ต้องตระหนักและหาแนวทางแก้ไขต้อไปคือ ความเหลื่อล้ำภายในประเทศของสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศกลับมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูงจะประสบกับปัญหามากกว่ากลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่ำกว่าสิ่งนี้เป็นนัยแสดงว่า กลุ่มประเทศที่มีรายได้สูงมีการเพ่ิมขึ้นของรายได้ในอัตรเร่งที่สูงกว่าประเทศสมชิกอื่นๆ
            
                 ข้อมูลและสถิติบางส่วนที่เก่ยวข้องได้สะท้อนให้เห็นถึงพื้นฐานและระดับการพัฒนาที่แตกต่างและเหลื่อมล้ำกันของประเทศสมาชิกอาเวียน ดังมีสาระสำคัญเบื้องต้นต่อไปนี้ จากสถิติในตารางพบว่าประเทศสมาชิกมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนในด้านจำนวนประชากรและพื้นฐานทางเศราฐกิจ กล่าวคือ ประเทศสมาิชิกของปาเวียนสามาชิกมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนในด้านจำนวนประชากรและพื้นฐานทางเศรษฐกิจ กล่าวคือ ประเทศสมาชิกของอาเวียนสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
              กลุ่มที่ 1  คือ ประเทศที่มีขนาดเล็กมาก ทั้งในเชิงจำนวนประชากรและขนาดของเศราฐกิจ แตะประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวในระดับสูง ประเทศที่อยู่ในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย สิงคโปร์และบรูไน
              กลุ่มที่ 2 คือ ประเทสที่มีขนาดเล็ก แต่มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากรในระดับปานกลางค่อนไปทางสูง ประเทศที่อยู่ในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย มาเลเซยน และไทย 
             กลุ่มที่ 3 คือ ประเทศที่มีประชากรจำนวนมก แต่ประชากรมีรายได้เบแียยต่อหัวใรระดับปานกลางค่อนไปทางต่ำ เนื่องจากมีประชากรจำนวนมากเข้ามาขอแบ่งส่วนจากรายได้รวมทของระบบเศณาฐกิจ หรือเป็นประเทศที่กำลังปรับบริบทและอยุ่ในช่วงเปลี่ยนผ่านของการพัฒนา ประเทศที่อยุ่ในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
            กลุ่มที่ 4 คือ ประเทศที่ยังค่อนข้างล้าหลังทางการพัฒนา และมีรายได้ต่อหัวประชากรในระดับต่ำถึงต่ำมาก ประเทศที่อยุ่ในกลุ่มนี้ประกอบด้วย เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ และกัมพุชา
            หากพิจารณาความเหลื่อมล้ำภายในของแต่ละประทศ พบว่า สิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน และไทย ถือเว่าประสบปัญหาค่อนข้างมากประเทศอื่น ๆ ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา และในบรรดาประเทศเหล่านี้ มีเพียงฟิลิปปินส์เท่าน้นมที่มีพัฒนาการที่ดีขึ้น ขณะที่ไทยกับมาเลเซียมีพัฒนาการในชักษรค่อยเป็นค่อยไป ส่วนประเทศ ลาว เวียดนาม และอินโดนีเซีย มีปัญหาความเลหื่อมล้ำทางเศณาฐกิจที่มีความรุนแรงน้อยกล่าวประเทศก่อนหน้านี้ แต่หามองที่พัฒนากรของการแก้ปขปัญหา จะเห็นว่าอนิโดนีเซียนและลาวมีปัญหาความความเหลื่อมล้ำที่สูงขึ้น ขณะที่เวียดนามมีพัฒนากรควที่ แต่ที่น่าสนใจคือ กัมพุชามีพัฒนาการทีชัดเจนมากที่สุด 
           อาเซียนยัวต้องให้ความสำคัญในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อล้ำทางเศราฐฏิจอย่างต่อเนื่องโยอาจพิจารณากรณีศึกษาของบางประเทศ เช่น ฟินแลนด์ สวีเดน เบลเยียนแลนอเวย์ ซึ่งมีนโยบายภาษีและสวัสดิการภาครัฐที่เข้มแข็ง และนโยบายส่งเสริมควาเท่ารเที่ยมในเชิงโอาสด้านการการออม การศึกษา และการสาธารณสุข เพื่อเรียนรู้บทเรียนจากการพัฒนา และสามารถนำมาปรับประยุกต์กับบริบทของอาเวยนตามความเหมาะสมได้ http://www.itd.or.th/th/%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B9%89/


วันพฤหัสบดีที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Disadvantages and Inequality of ASEAN

             ใต้กระแสอาเซียน (ด้านอ้ยของ AEC และความเหลือมล้ำ
             การเกิดขึ้นของประชาคมเศราฐกิจอาเว๊ยนเป้นแรงผลักดันจากมหาอำนาจทางเสณาฐกิจและกลุ่มทุนภายในประเทศอาเว๊ยนเืพ่อที่จะสร้าง/ขยาย "ตลาด" ให้กว้างขวางมากขึ้น ดดยที่ไม่ได้แยแสผบกระทบต่อผุ้คนส่วนใหญ่ในกลุ่มประเทศอาเวียนแม้แต่น้อย ขณะเดียวกัน กระแสการผลักดันประชาคมเศราฐกิจอาเซียนก็ได้สร้างกระแสการรับรู้างสังคมทีทำให้คิดและรู้สึกไปได้ว่าปัยหาต่างๆ ที่หมักหมดในสังคมอาเซียนจะแก้ไขลุล่วงไป้ดวยการเปิด "ตลาด" อาเซียน
            เราจะมองเห็นแนวโน้มของผลกระทบจาก "ตลาดอาเซียน" ได้ก็ต่อเมื่อเราเข้าใจและมองเห็นปัญหาทางเศรษฐกิจสำคัญของผุ้คนในกลุ่มประเทศอาเวียน ซึ่งจะมองเห็นได้ว่าปัญหาทีหมักหมมนี้จะแก้ไขได้ด้วย "ตลาดอาเซียน" หรือไม่ อย่างไร
         
 ความเปลี่ยนแปลงทางเศราฐกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน โดยเฉาพะในกลุ่มประเทศที่สังกัดโลกเสรีในช่วงสงครามเย็นได้ทำให้เกิดความเหลื่อล้ำทางเศรษฐกิจสูงมาก และในช่วงสองทศวรรษหลบังจากที่สงครามเย็ฯยุตลง การปรับตัวของการดำรงอยู่างเศรษฐกิจของผุ้คน่วนใหย่ในกลุ่มประเทศอาเซียนได้สร้างระบบการผลิตสำคัญขึ้นมา ได้แก่ กาผลิตภาคไม่เป็นทางการ ซึงเป็นฐานทางเศราฐกิจทีสำคัญที่สุดที่รองรับผุ้คนในอาเซียน หากเราพิจารณาความสำคัญของภาคการผลิตไม่เป็นทางกรจากแง่มุมของแรงงา จะพบว่าสัดส่วนของแรงงานที่มีอยุ่ใสภคาการผลิตไม่เป้นทางการในแต่ละประเทศนั้นสูงมากทีเียว ประเทศไทยมีสัดส่วนแรงงานในภาคการผลิตไม่เป้นทากงารประมาณร้อยละ 65 ของกำลังแรงงาน ประเทศมาเลเซียอยุทีประมาณร้อยละ 62 ของกำลังเรงงานประเทศ
           อินโดนีเซียอยู่ทีประมารร้อยละ 60 ของกำลังแรงงาน ประเทศฟิลิปปินส์นั้นมีปัญหาความเตริญเติบโตทางเศณาฐกิจหนักมกหน่อย เพราะสัดส่วนแรงงานภาคไม่เป้นทางการถึงร้อยละ 70 จองกกำลัง
แรงงาน ส่วนในกลุ่มที่เพ่ิงเปิประเทศเข้าสู่ระบบทุนนิยม เข่น เขมร ลาว เวียดนาม พม่าแม้วา ตัวเลขสถิติยังมีไม่ชัดเจนแน่นอนนัก แต่จากการประเมินดูจากข่าวสารทั่วไปก็พอจะเดาได้ว่าแรงงานภาคไม่เป้ฯทางกรในประเทศเหล่านี้น่าจะเกินรอ้ยละ 70 ของกำลัีงทำงานโดยทั่วไป วงจรารดำเนินชีวิตทางเศรษฐกิจของภาคการผลิตไม่เป้ฯทางการนั้นมีขอบเขตของตลาดที่ไม่กว้างขวางมากนักและโดยมากแล้วก็จะเป้นตลาดเล็ก ในพื้นที่ที่จำกัดหนึ่ง ขณะเดียวกันประเภทของสินค้าก็จะตอบสนองความต้องการหรือความจำเป้นในชีวิตประจำวันของผุ้คนในพื้นที่นั้น ศักยภาพจองภาคการผลิตภาคไม่เป็นทางการได้แก่ ความยืดหยุ่นเพื่อการปรับตัวอยางรวดเร้ซเพื่อตอบสนองความต้องการในชีวิตประจำวนในแต่และช่วงฤดูกาล
           การดำรงอยู่ในภาคการผลิตไม่เปนทางการของผุ้คนที่มีสัดส่วนโดยเฉลี่ยร้อยละ 60 ของกำลังแรงงานนกลุ่มประเทศอเาซียนเช่นที่กล่าวใมานี้ จะไม่ไ้รับผลทางด้านดคจากการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแต่อยางใด หากจะได้รับผลดีอยู่่บ้างก็เป็นกลุ่มที่สัมพันะ์อยู่กับการท่องเที่ยว ซึงนักท่องเที่ยวที่จะมารซื้อ-ขายกับภาคการผลิตไม่เป้นทางการก็จะเป้นนักท่องเที่ยวระดับล่างที่ใช้เงินต่อวันไม่มากนัก การได้ประดยชน์จึงมีไม่มากนัก
         
 พร้อมกันน้น การขยายตัวของกลุ่มทุรท่ะเข้าไปในแต่ละประเทศก็ไม่ได้เป้นอุตสาหกรรมท่ใช้แรงงานเข้มข้นทั้งหมด ในบางประเทศที่เพิ่งเปิดประเทศก็มีโอกาสที่จะได้การจ้างงานในอุตสาหกรรมแรงงาเข้มข้น และปรับแรงงานภาคไม่เป้นทางการมาสู่ภาคอุตสาหกรรมสูงขึน ในประเทศที่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมระดับทุนและควมรุ้เข้าข้น ก็จะประสบปัญหาการย้ายฐานการผลิต ึ่งก็จะส่งผลให้การจ้างงานลดน้อยลงทันที่ ตัวอย่าของการปิดโรงงานผลิตรถยนต์ของมาด้า/ฟอร์ด ในประเทศฟิลิปปินส์เพื่อมาเป็นโรงงานในประเทศไทย ก็ย่้อมส่งต่อการจ้างงานในฟิลิปปินส์ทันที่
          ความผันผวนของการจ้างงานในภาคการผลิตทีเ่ป้นทางการจะทวีสูงมากขึ้นการไหลเวียนของแรงงานที่มีทักษะเฉพาะตัวจะเร็วและถี่มากขึ้น คนย้ายถ่ินที่โดนบีบบังคับ ด้วยเหตุผลทางเศณาฐกิจจะมีมากขึ้น และคุณกลุ่มนี้จะเป้นกลุ่มคนไร้ความสุจกลุ่มใหญ่ของอาเซียน
           การขยายตัวของการลงทุนในประเทศที่มีทรัพยกรเหมาะสมกับอุตสาหกรรมของทุนจะมีผลโดยตรงต่อการเก็บภาษีของแต่ละรัฐ รายได้ของแต่ละบริษัทของกลุ่มทุนจะสูงขึ้น และรายได้ของรัฐที่เป้นรากฐานขอวทุนกลุ่มนั้น จะลดลงทัที่ เพราะกลุ่มทุนจะเลือกลงทุนในประเทศที่ระบบภาาีอ่อนแอและมีกาเก็บภาษีน้อยที่สุดเพื่อที่กลุ่ททุนจเก็บกำไรไว้แจกจ่ายผุ้ถือหุ้นกรือผุ้บริหารโดยไม่ต้องหรือหาทางไม่ยอมเสียให้แก่รัฐ
          รัฐแต่ละรัฐในประชาคมอาเวียนจะประสบปัญหารายได้ลดต่ำลงอย่างมากพลเมืองทั่วไปของอาเว๊ยนจะยากจนมากขึ้นแต่ว่านักการเมืองในรัฐบาลของแต่ละประเทศจะร่ำรวยขึนอย่งทันตาเห้น ปัญหาความเลหื่อล้ำของแต่ละประเทศจะสูงมากขึ้นไปอีก พร้อมกันนั้น รัฐบาลก็จะเล่นเกมประชานิยมแบบมักง่ายมากขึ้น เพื่อซื้อเวบาให้แก่กลุ่มตนเองได้กอบโดนได้มากที่สุด
         อนาคตของประชาคมเศรษบกิจอาเซียนจึงเป้นทางคุ่ขนานรหว่าความเจ็บปวดรวดร้าวของคนตัวเล็กตัวน้อยในทุกประเทศกับควารำรวยมหาศาลของกลุ่มทุนและนกการเมือง กลุ่มทุนจะเลื้อกลงทุนในประเทศที่ระบบภาาษีอ่อนแอและมีการเก็บภาษีน้อยที่สุด..http://www.thai-aec.com/423/
         
           

วันพุธที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Concept to Reduce inequality

           แนวคิดในการลดความเหลื่อมล้ำ
           - ด้านเศรษฐกิจ การลดความเหลื่อล้ำด้านเศราฐกิจในระบบเศราฐกิจแบบทุนนิยม ซึ่งต้องเคาระสิทธิและเสรีภาพทางเศณาฐกิจของประชาชนทุกหมู่เหล่าเป็นสำคญ สามารถทได้โดยการลดความเหลื่อล้ำด้านราได้และลดความเหลื่อล้ำด้านโครงสร้างภาษี ควบคู่กันไป
           1. รัฐบาลปล่อยให้ประชาชนทุกภาคส่วนแข่งขันกันเองภายใต้กลไกตลาดที่เป็นโอกาสให้ทุกคนสามารถสะสมความม่งคั่งจาการทำงานและการประกอบธุรกิจ ทว่าวิะีนี้จะสำเร็จได้ก็ต่อเมื่อประชาชนมีรายได้สุทธิหลงจากหักค่าใช้จ่ายต่างๆ แล้ว ที่เพียงพอต่อการออกม ยิ่งไปกว่านั้นโครงสร้างการแข่งขันในตลาดจะต้องเสรีและเป(็นธรรมซึงหมายความว่ารัฐบาลรัฐควรปรับปรุงกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายแข่งขันทางการต้าให้ใช้การได้จริงเพื่อลดโอกาสที่ความมั่งคั่
จะกระจุกตัวอยุ่แต่เฉพาะในหลุ่มผุ้มีอำนาจผุกขาดหรือเหนือตลาด และควรเนน้นการส่งเสริมผุ้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมมากวาผุ้ประกอบการขนาดใหญ่ที่าี "สายป่านยาว" อยุ่แล้ว นอกจากนี้ทุกคนในสังคมก็ควรมีโอากสเข้าถึงปัจจัยต่างๆ ที่จำเป็นต่อการสร้างสเสริมสมรรถภาพในการดำรงชีพหรือแขช่งขนอย่างเท่าเที่ยมกัน
       
2, ส่งเสริมระบบการเงินฐานราก (การเงินชุมชน เช่น กลุ่มสัจจะออมทรัพย์สัจจะสะสมทรัพย์ สหกรณืออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป้นต้น) ที่ชาวบ้านจัดการกันดอง ซึ่งปัจจุบันมีอยู่นับแสนแห่งทั่วประเทศ หลายแห่งสามารถระดมเงินออมและเปผ้นแหล่งทุนให้สมาชิกกู้ไปประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้โดยไม่ต้องอาศัยสถาบันการเงิน
        3, ผลักดันและสงเสริมสถาบัน "การเงินขนาดจิ๋ว" (ไม่โครไฟแนนซ์) ในไทย ซึงอาจใช้หลายวิะีผสมผสามกัน ระหว่างการยกระดับองค์กรการเงินฐานรากที่ชาวบ้านจัดการกันดองและมีความเข้มแข็งแล้วระดับหนึ่ง กับการส่งเสริมให้ธนาคารของรัฐและธนาคารพาณิชย์ริเริ่มธุรกิจไม่โครไฟแนนซ์ ตามแนวทาง" ธุรกิจเพื่อสังคม" ที่มุ่งให้คนยากจนมีโอากสเข้าถึงแหล่งเงินทุน เพื่อนำเงินกุ้ไปปรับปรุงชีวิตความเป้นอยู่ดังตัวอย่าง "ธนาคารกรามีน"ในบงังคลาเทศ ที่ทำให้ มูฮัมหมันยูนุส ผุ้ก่อตั้งธ.ได้รับรางวัลโนเบลเสาขาสันติภาพประจำปี 2549 ร่วมกับธ. จากคำแปบคำอธิบายของยูนุสในเว็บไซต์ ธ.กรามีน ได้ความว่า กรามีนเชื่อว่า "มนุษย์ทุกคน รวมทั้งนที่จนที่สุด ล้วนมีศักยภาพ" นั่นทให้แม้แต่ขอทานก็ยังสามารถเป็ฯลูกค้าของธนาารการมีนได้
        4. ควรมีการขยายฐานภษาีตามหลักความเสมอภาคทางภาษีที่ว่า "ผู้มีฐานะใกล้เคยงกัน สภาพแวดล้อมคล้ายกัน ควรจ่ายภาษีแบบเดียวกัน ในอัตราเท่ากัน และไม่สามารถผลักภาระภาษีไปสู่ผุ้อื่นได้"  เพื่อครอบคุลมกลุ่มผุ้ที่มีความสามารถในการเสียภาษี แต้นะวไ้ม่ได้เสียภาษีด้วยสาเหตุต่างๆ (ไ่ยื่นแบบ
ฟอร์มการเสียภาษี, ยื่นต่ำกว่าความเป็นจริง, หลบเลี่ยงภาษีด้วยวิะีต่าง ๆ เป็นต้น) และเพื่อลดภาระภาษที่กระจุกตัวอยุ่แต่เฉพาะในบางกลุ่ม ในการนี้ สิงที่ต้องพัฒนาควบคู่กนไปก็คือ ระบบการประเมินการเรียกเก็บภาษีทีมีประสิทธิภาพ และควรมีการทบทวนพิจารณาแก้ไขการลดหย่อนภาษีที่มีอยู่ ให้มีความเป็นธรรมมากขึ้น
        5, รัฐควรผลักดันภาษีใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงและปัญหาใหญ่ในสังคมปัจุบัน อาทิ ภาษีมลพิษ (ตามหลัก "ผุก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย") ตลอดจนภาษีก้าวหน้าทีช่วยบลดความเลหื่อล้ำและสร้างแรงจูงใจให้ผุ้มีฐานะดีใช้ทรัพยากรอยาคุ้มค่า อาทิ ภาษีมรดก ภาษีกำหรส่วนเกินทุน หมายถึงภาษีที่เก็บจากกำไรที่ได้รับจากการขายทรัพย์สินหรือหลักทรัพย์) และภาษีที่ดินและทรัพย์สินที่มีโครงสร้างที่เป็นธรรมและเหมาะสม
         - ด้านทรัพยากร การลดความเลื่อล้ำด้านทรัพยากร ควรเริ่มจาการคำนึงถึงความต้องการของผุ้มีส่วนไ้เสียฝ่ายต่างๆ โดยยึดหลักความเสมอภาคและเท่าเที่ยมของสิทะิพลเมืง สิทธิในการประกอบธุรกิจ และสิทธิของชุมชนตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ การภกเถียงกันว่าใครควรเป้น "เจ้าของ" ทรัพยากรต่าๆ ยั่นไม่สำคัญเท่าไรนัก ประเด็นสำคัญอยู่ที่ว่า ใครบ้างที่ควรมีสิทธิ "ใช้ทรัพยากรเหล่านั้น และเราจะมี "วิธีบริหารจัดการ" ทรัพยากรนั้นอยางไรให้เกิดความสมดุลระหวางเศราฐกิจ สิ่งแวดล้อมและสังคม
         
ที่ดินและป่าไม่ การแก้ไขปัญหาที่ดินกระจุกตัว ด้วยกาปฏิรูปการถือครองที่ดิน เพื่อลดความเหลื่อล้ำในการเข้าถึงหรือถือครองที่ดินนั้น นอกจากจะทำให้ประชาชนที่ต้องการที่ดินทำกินสามารถมีที่ดินเป็นของตัวเองแล้ว ยังสามารถช่วยบดความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ (ซึ่งดังที่กล่าวไปแล้วว่า ความเหลื้่อมล้ำด้านรายได้ก็เป็นผลให้กิดความเหลื่อมล้ำด้านการถือครองที่ดินด้วย เพราะทำให้คนบางกลุ่มสามารถซื้อที่ดินสะสมไว้เก็งกำไร ในขณะที่คนอีกมากมายได้อาจซื้อที่ดินเป็นของตัวเองไ้ดแม้แต่เพียงแปลงเดียว) สร้างทางเลือกให้แก่การดำรงชีวิตแทนที่จะต้องย้ายเข้ามาทำงานในเขตเมืองอย่างเดียว ยิงไปกว่านั้น บางวิธีในการปฏิรูปที่ดิน อย่งเช่น "โฉนดชุมชน" และ "ธนาคารที่ดิน" ยังเป้นการกระจายอำนาจการปกคอรงออาจากรัฐส่วนกลาวได้ด้วย
           ภาษี เป็นเครื่องมือหน่งของการปฏิรูปที่ดินที่มีการพูดถึงกนมาก ซึ่งเพื่อให้เกิดการกระจายตัวของการถือครองที่ดินทีเป็นธรรมแล้ว ต้องมีการออกแบบโรงสร้างภาษีที่จะเปลียน "ที่ดินที่ถือครองไว้โดยไม่ได้ใช้ประโยชน์" ให้มีสถานะป้ฯทรพย์สินที่มีภาระต้อนทุนในการถือครองสูงกว่าผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากากรถือครองไว้เพื่อการเก็งกำไร วึ่งในการณ์นี้ต้องกำหนดเกณฑ์ในการพิจารณานิยามความหมายของ "ที่ดินที่ถือครองไวโดยไม่ได้ใช้ประโยชน์" ให้ชัดเจนและมีความเ้ป้ฯธรรมและสร้างระบบการจัดเก็ยภาษีในการณีดังกล่วที่มีประสิทธิภาพนอกจากนี้  ยังควรมีการเก็บภาษีที่ดินในอัตราคงที่ ในอัตราที่สุงมากเพียงพอจะสร้างภาระต่อการถือครองที่ดินจำนวนมาก (การเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้าตามขนาดของการถือครองที่ดินที่ทำให้ใรถือครองมกเสียในอัตรสูงกว่า ใครถือครองน้อยเสียในอัตราต่ำกว่า เป้ฯข้อเสนอหนึงที่ได้รับการพูดถึงแต่ในทางปฏิบัติแล้วตรวจสอบยากมาก)
       
             ความไม่สมมาตรของข้อมูลข่าวสาร เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่ทำให้เกิดความเหลื่อล้ำในการเข้าถื่อครองที่ดิน กลุ่มนักธุรกิจบางกลุ่มเป็น "คนใน" ที่สามาถรู้ล่วงหน้าว่าดครงการสาธารณณูปโภคองรัฐจะเกิดขึ้นที่หน ทำให้สามารถไปซื้อหรือกว้านซื้อที่ดินในบริเวณที่ดครงการรฐเหล่านั้นจะเกิขึ้นได้ก่อนคนอื่น ซึงนอกจากจะทำให้เกิดปัญหาในเรื่องการกระจุกตัวของการถือครองที่ดินแล้วยังเป้ฯการขัดขวางการแข่งขันกันอย่างเสรีในตลาด ทำให้ความเลหื่อบล้ำด้านเศรษฐกิจแย่ลงอีกด้วย การมีเครืองมือที่จะช่ยวยให้เกิดรหือย่างน้อยในช้นเริมต้น คือช่วยเพ่ิมระดับ "ความสามมาตรของข้อมูบข่าวสาร" จึงเป้ฯส่ิงจำเป็น ซึ่งอสตทำใได้ส่วนหนึ่งด้วยการเปิดเผยข้อมูลการถือครองที่ดินให้เป็นข้อมูลสาธารณะ และการยกระดับการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับโครงการของรัฐ...(to be comttnoue..)   http://v-reform.org/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%81%E0%B8%9E%E0%B8%B2/
         

วันอังคารที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Tax system for Reduce inequality

           โดยหลักการแล้ว การวิเคราะห์ระบบภาษีของประเทสใดประเทศหนึ่งจำเป้ฯจะต้องวิเคราห์ควบคู่ไปกับโครงสร้างรายจ่าของรัฐบาลในประทเศนั้นๆ ด้วยเนื่องจากโดยปกติแล้ว ภาษีคือแหล่งรายได้ที่สำคัญทีสุดของรัฐบาล ซคึ่งในกรณีที่รัฐบาลมีความต้องการจะใชจ่ายเพ่ิมเติม รัฐบาลจำเป้นต้องเพีิามการจัดเก็บภาษีตามไปด้วย
           เราทุกคนควรพึงระลึกไว้เสมอว่ารายจ่ายต่างๆ ของรัฐบาลนั้นแท้จริงแล้วมีต้นทางมาจากภาษีที่จัดเก็บจากพวกเราทุกคนนั่นเง อังนั้นการใช้จ่ายต่างๆ ของรัฐบาลควรจะถุกควบคุมให้อยู่ในการอบที่พิจรณาเป้นอย่างดีแล้ว เห้ฯควรให้รัฐบาลเข้าไปบริการจัดการ
           อย่างไรก็ดี วัตถุประสงค์ของบทความนี้มุ่งเน้นไปที่การวิเคราะห์ระบบภาษีของประเทศไทยแต่เพียงประการเดียว โดยประ็นในการพิจารณาระบบภาษีจะมีด้วยการหลบยรประเด็น ได้แก่
          1. ระบบภาษีดังกล่าวควรสร้างรายได้ที่เพียงพอต่อการใช้จ่ายของรัฐาล
          2. ระบบภาษีควรมีความเป้ฯธรรมต่อประชาชนในประเทศทุกคน
          3. ระบบภาษีควรก่อให้เกิดความบิเบื่นต่อระบบเศษบกิจน้อยที่สุด
          4. ระบบดังกล่าวควรเื้อต่อการรักษาเสถียรภาพของระบบเสราฐกิจ
          5. ระบบดังกล่าวควรเรียบง่ายและก่อให้เกิต้นทุนในการบนิหารจัดการน้อยที่สุด
         
 บทความนี้จะมุ่งพิจารณาที่ประเด็นระบบภาษีเพื่อความเป็นธรรม ซึ่งมีความสอดคล้องกับหน้าที่ในการลดความเหลื่อมล้ำของรัฐบาล โดยมุ่งเน้นการออกแบบระบบภาษีเพื่อเป็นเครื่องมือหนึ่งในการลดความเหลื่อมล้ำเป้นสำคัญ ไม่ใช่การออกแบบระบบาษีเพื่อการะดมทุนของทางภาครัฐเพ่ิมเติม เพื่อนำมาใช้จ่ายในมาตรการเพื่อลดความเหลื่อล้ำต่างๆ แนวคิดเกี่ยวกับระบบภาษีที่เป้นธรรมสามารถจัดแบ่งออกได้เป็น ๒ รูปแบบหลัก คือ
          1 แนวคิดการจัดเกฐ้ภาษีตามหลักผลประดยชน์
          2 แนวคิดการจัดเก็บภษีตามความสามารถในการจ่าย
          ทั้งสองแนวคิดมีเหตุผลสนับสนุนที่แตกต่างกัน ตามแนวคิดการจัดเก็บภาษีตามหลักผลประยชน์นั้น ผู้เสียภาษีควรเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์จากรัฐบาล ดดยผู้ที่ได้รับประดยชน์ในระดับสูงจากสินค้าและบริการต่างๆ ที่รัฐญยาลบจัดหาให้ ควรเสียภาษีในระดับที่สูงกว่าผุ้ที่ได้รัยประโยชน์จากสินค้าและบริการต่างๆ จากรัฐบาบลในระดับที่น้อยกว่าจึงจะถือว่ามีความเป้นธรรม
           อย่างไรก็ตาม แนวคิดในการจัดเก็บภาษีลักษระนี้จะมีความขัดแย้งกับบทบาทในการลดความเลหื่อมดล้ำของรัญบาลจึงมีความยัดแย้งกับจุดสนใจหลักของบทความนี้ด้วยเช่นเดียวกัน ดังนั้นบทความนี้จึงมุ่งให้ความสนใจกัยแนวคิดในลักษณะที่สองมากกว่า
            ระบบภาษีที่มีความเป็นธรรมนั้น ควรที่จะมีลกษณะของความเป็นธรรมทั้งในและแนวนอนและแนวดิ่ง นั่นคือ ผุ้ที่มีความสามารถในการจ่ายเท่าเทียมกันก็ควรจะมีภาระในการจ่ายภาษีในระดับเดียวกัน ในขณะนท่ผุ้ที่มีความสามารถในการจ่ายสูงก่ว่าควรที่จะมีภาระในการจ่ายภาษีในระัดบสูกว่า นอกจากนั้นในกรณีที่รัฐบาบต้องการใช้ระบบภาษีเพื่อเป็นเครืองมือในการลดความเหลื่อล้ำนั้น ระบบภาษีควรที่จะมีัลักษณะของการจัดเก็ฐในอัตราก้าวหน้าอีกด้วย
           จากข้อมูลภาพรวมในข่วงสองทศวรรษที่ผานมา จะเห็นได้ว่าระบบภาาีของไทยมีลักษระของควสามเป็นธรรมในแนวนอน แต่ไม่มีลักษณะของการประยุกต์ใช้อัตราภาษีในลักาณะก้าวหน้าแต่อย่างใด อัตาภาษีที่จัดเก็บจริงในช่่วงตัวแต่ปี 2535 เป็นต้นมานั้นอยู่ใระดับที่คงที่ ถึงแม้ว่าข้อมูลรายได้ประชากรของประเทศไทยจะปรับตัวเพ่ิมขึ้นอยย่างชัดเจนราวหนึ่งเท่าตัว
       
จากการพิจารณาโครงสร้งรายไดจัดเกบของรัญบาลบไย จะเห็นได้ว่ารายได้ส่วนใหญ่จะมาจากฐานการบริโภคของประชากรไทย ในขณะที่ฌครงส้ร้างที่ประยุกต์ใช้อัตราภาษีแบบก้าวหน้าอย่างชัดเจนเพียงอย่างเดียวของประเทศไทยนั้น (ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา) คิดเป็นสัดส่วนเพียงราวร้อยละ 10-12 ในช่วงราว 20 ปีที่ผ่านมา
         การพิจารณาโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในรายลเอียด จะเห้ฯได้ว่า มีการลดหย่อยภาษี หลายๆ ประเภท และการยกเว้นภาษี ซึ่งทำให้แม้แต่ผุ้ทีมีเงินได้ในระดับสูงกว่าค่าเฉลี่ยยังอาจไดรับยกเว้นการจ่ายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทั้งจำนวน นอกจากนั้นจะเห็นได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของอัตราภาษีและดครงสร้างกาลดหย่อที่ผ่านมาน่าจะมรีส่วนทำให้ภาระการจ่ายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของประชากรไทยลดลง
        นอกจากนั้นแล้ว ระะภาษีไทยยังมีส่วนประกอบหลายๆ อย่างที่ขาดหายไป ดังที่ได้อธิบายไว้ในส่วนที่ 2.2 ระบบภาษีที่มีความเป้ฯธรรมตาแนวนอน อาจำเป็นจะต้องมีส่วนประกอบของ "ภาษีมรดก เพื่อที่จะเป็นเครื่องมือในการจัดการกับการโอนย้ายความสามารถในการจ่ายไปสู่รู่นลุกหรือรุ่นหลายโดยเพื่อไม่ให้เกิดการชะลอการจ่ายภาษีออกไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุดนั้น การจัดเก็บภาษีมรดกควรจะอยุ่ในลักระของการจัดเก็บ ณ ช่วงเวลาของการถ่ายโอนมรดกโดยทันที่อีกด้วย
        เพื่อความเป้ฯธรรมของระบบภาษีทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง ฐานภาษีที่ใช้ในการคำนวฯณภาระภาษีของผุ้จ่ายภาษีแต่ละคนควรที่จะมีลักษณะที่ครอบคลุม ในประเด็นนี้ภาาีเงินได้บุคคลธรรดาของประเทศไทยยังมีช่องโหว่อยู่โดยในส่วนที่เห็นได้อย่างชัดเจน คือ ยังไม่มีการจัดเก็บภาษีดังกล่าวบนฐานกำไรของส่วนเกินทุน หรือ แคปปิตอบล เกนน์ จากเงินลุทุนในตลาดหลักทรัพย์
        ภาษีบนฐานทรัพย์สินของประเทศไทยยังมีการประยุกต์ใช้ไม่มากนัก และอาจเป้นขช่องทางในการเพ่ิมรายได้ภาษีให้กับรัฐบาลเป็นจำนวนมากhttp://v-reform.org/tax-reform-for-equity/
       

วันจันทร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Tax for Reduce the distribution in revenue II

             ระบบภาษีของไทยในภาพรวมไม่มีลักาณะของการจัดเก็บภาษีของประเทศไทยในภาพรวมไม่มีลักษณะของการจัดเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้าแต่อย่างใด การวิเคราะห์ในส่วนจองงานศึกษา จะพบว่าสาเหตุหลักอย่างหนึ่งที่ทำให้อัตราการจัดเ็ฐภาษีที่แท้จริงในภาพรวมของประเทไทยไม่มีการปรับตัวเพ่มขึนในช่วงราว 20 ปี ที่ผ่านมา น่าจะมีสาเหตุมาจากการปรับตัวลดลงของอากรนำเข้า-ส่งออก และโครงสร้างกาจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในช่วงเวลาดังกล่าวของประเทศไทยเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ลักษณะของการปรับตัวในอัตราจัดเก็บภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดาในช่วงเวลาดังกล่าวของประเทศไทยเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ลักษระของการปรับตัวในอัตราการจัดเก็บภาษีที่แท้จริงในภาพรวมดังกล่าว มิได้เกิดขึ้นกับประเทศไทยแต่เพียงประเพทศเดียวเท่าน้น
            ตามนิยามในการศึกษาของ ลี โมเรโน่ ดอดสัน และ โรจชัย ชนินทร ประเทศไทยจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศรายได้ปานกลาง ซึ่งจากข้อมูลเมื่อเปรียบเทียบกันแล้วจะเห็นว่าประเทศไทยมีการจัดเก็ฐภาษีในระดบที่ตำ่กว่าค่าเฉลียของกลุ่มประเทศที่มีรายได้ในระดับปานกลาง ซึ่งภาพรวมการจัดเก็บภาษีที่ไม่ได้แสดงถึงลักษระของการจัดเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้า ยังคงเป้นลักษระร่วมกันของกลุ่มปรเทศรายได้ปานกลางนี้
         
เราสามารถคาดการณ์ได้ระดับหนึ่งว่า ผลกระทบจากการปรับตัวลดลงของอากรน้ำเข้-ส่งออกของประเทศไทยนั้นจะอยู่ในระดับที่ลดลงในอนาคต เนื่องจากสัดส่วนการจัดเก็บอากรนำเข้า-ส่งออำดังกล่าวในปัจจุบันมีระดับที่ลดลงดังกล่าวอาจสามารถทดแทนได้โดยการปรับตัวเพ่ิมขึ้นของภาษีมูลค่าเพ่ิม ตาการเติบโตของระบบเศณษฐกิจ
           การปรบโครงสร้างระบบภาษีของประเทศไทยเพื่อนำไปสู่การจัดเก็บในลักาณะอัจราก้ายหน้ามากขึ้นนั้นจำเป็นจะต้องพุ่งเป้าความสนใจไปที่การปรับโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคลเป้นหลัก
           ในส่วนของโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดานั้น ประเด็นที่น่าสใจน่าจะอยุ่ที่การสร้างความมีส่วนร่วมที่เพิ่มมากขึ้น โดยผ่านเครื่องมือ อาทิ
           - ยกเลิกรายการต่าลดหย่อหลายๆ ประเภททิ้งไป
           - ยกเลิกการยกเว้นการเก็บภาษีในขั้นรายได้แรกของผุ้มีเงินได้
           - การปรับเพิ่มฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมของประเทศ
           การปรับตัวเพ่ิมขึ้นของรายการค่าลดหย่อนประเภทต่างๆ ในขช่วงเวลาราว 20 ปีที่ผ่านมาได้มีส่วนทำให้ลักษรของการจัดเก็บภาษีในอัตราก้าหน้าของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาไม่าสามารถทำหน้าที่ของมันได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นแล้วยังเป้ฯที่เข้าใจได้ว่าผุ้ที่ใช้สิทธิค่าลดหย่อนหลายๆ ประเภท อาทิ การซื้อกองทุน การหักค่าดอกเบี้ยเงินกู้ซื้อบ้าน หรือการหักเบี้ยจ่ายกรมธรรม์ประกันชีวิต จะต้องเป้นผู้ที่มีรายได้สูงกวย่า สองหมื่นบาทต่อเดือนซึ่ง จากข้อมูลเป็นกลุ่มผู้มีรายได้สูงสุดร้อยละ 30 ของประเทศไทย การยกเลิกค่าลดหย่อนประเภทต่างๆ จะทำให้กลไกของการจัดเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้าามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งน่าจะมี่ส่วนช่วยให้ระบบภาษีของประเทศไทยสามารถทำหน้าที่ในการบกความเหลื่อมล้ำให้กับประเทศได้ส่วนหนึ่ง
           การยกเลิกการยกเว้นการเก็บภาษีในชั้นเงินได้สุทธิแรกขอผุ้มีเงินได้ ก็เป็นอีกองคประกอบหนึ่งที่น่าจะช่วยเพ่ิมการมีส่วนร่วมในกาจ่ายภาษีของผุ้มีรายได้ในประเทศไทยได้ โดยเนื่องจากเงินได้ที่จะถูกนำมาคำนวณเพื่อเป็นฐานนการคำนสณภาษีเวินได้บุคคลธรรมดานั้น จะอยุ่ใรูปของ เงินได้สุทธิ ภายหังการหักค่าใช้จ่าย ออกไปแล้วเงินได้สุทธิในส่วนนี้น่าจะเป้นส่วนที่เกินมาจากการใช้จ่ายต่างๆ ที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน ในกรณีที่รัฐบาลเห็นว่าค่าใช้จ่ายของประชาชนมีการปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น ก็น่าจะทำการปรับเงินหักค่าใช้จ่าย หรือค่าลดหย่อนส่วนบุคคลออกไปให้ัดเจนมากว่า
          การยกเว้นการเก็บภาษีในขั้นเงินได้สุทธิแรกนี้แท้จริงแล้วให้ประโยชน์กับกลุ่มผุ้มีรายได้สุทธิแรกนี้แท้จริงแล้วให้ประโยชน์กับกลุ่มผุ้มีรายได้สุงในระดับสูงกว่ากลุ่มผุ้มีรายได้ต่ำ นั่นคื อในกรณีที่ผุ้มีเงินได้สุทธิในปีนั้นเกินกว่า หนึ่งแสนห้าหมืนบาท จะได้รับการยกเว้นภาาีในขั้นเงินได้สุทธิแรกเต็มจำนวนเงิน ในขณะที่ผุ้มีเงินได้สุทธิในปีนั้นในระดับต่ำกว่า แสนห้าหมื่นบาทจะได้รับการยกเว้นภาษีในขั้นเงินได้ดังกล่าวเป้นจำวนเงินที่น้อยกว่า
         
จากการศึกษาของ แทนนิ และ ซี (2000) มีข้อสรุปประการหนึ่งว่า จากประสบกาณ์ของหลายๆ ประเทศการเพ่ิมประสิทะิภาพการทำงานของลักษระการจัดเก็บภาษีอัตราก้าวหน้า สามารถทำได้ผ่าการลดจำนวนขั้นของภาษีลง ในขณะที่ลดรายการต่าลดหย่อนประเภทต่างๆ ลงไปพร้อมกันด้วย การลดความยุ่งยากในการคำนวณมูลค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในลักาณดังกล่าว จะช่วยให้การจัดเก็บภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพซึ่งจะช่วยเสริมลักษระการจัดเก็บภาษีอัตราก้าวหน้าในโคงสร้างการจัดเก็บภาษีดังกล่าวได้
           การปรับเพิ่มฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ในที่นี้ หมายถงการพยายามชักจูงให้ผุ้ที่มีรายได้ในระดับที่เขาข่ายการจายภาษีเงินได้บุคคลธรรม แต่อาจมีเงินได้จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจนอกระบบ ให้หันมยื่นแบบแสดงรายการนี้จะช่วยสร้างความเป้ฯธรรมในแนวนอนของระบบการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้เพิ่มมากขึ้น การปรับเพิ่มฐานภาษีในลักาณะนี้สามารถทำได้ผ่านการให้สิทธิประโยชน์บางประการแก่ผุ้ยืนแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษี อาทิก การเสนอบริการสาธารณะที่สำคัญบางประเภทให้กับผุ้ที่ยื่นแบบเสียภาษีเงินไ้ด้บุคคลธรรมดาเท่านั้น หรือ การเพ่ิมบทลงโทษและเพ่ิมการกวดขันในการตรจสอบผุ้ที่หลีกเลี่ยงกรยื่นแบบเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป้นต้น
            ในส่วนของการปรับปรุงโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้น มีประเด็นสำคัญอยู่สองประการ
            - ปรับปรุงการให้สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีให้กับนักลงุทนประเภทต่างๆ
            - การปิดกั้นช่องทางการหลบเลี่ยงภาษีผ่านความเหลื่อล้ำระห่างโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล
            จากประสบการณ์ของหลายประเทศน้น การให้สิทธิประดยชน์างก้านภาษีไม่ได้ก่อให้เกิกดการไหลเข้าของการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพมากนักนอกจานั้นในปัจจุบนยงดุเหมือนว่ามีการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนให้กับนักลงทุนหรือนิติบุคคลภายใน
ประเทศอีกด้วย สิทธิประดยชน์ทางภาษีดังกล่วก่อให้เกิดความไม่เป้นธรรมทางภาษีทั้งในแนวตั้งและแนวนอนโดยเจ้าของกิจการหรือผุ้ถือหุ้นสามัญในนิติตบุคคลที่ได้สิทธิประโยชน์ดังกล่าว ซึ่งมักจะเป้นกลุ่มผุ้มีรายได้สูงของประเทศสามารถได้รับรายได้จำนวนมกที่ได้รับการยกเว้นภาษีท้งจำนวน จากเงินปันผลของกิจการดังกล่าว
           ความแตกต่างระหว่างอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลกับอัตราภาษีขั้นสุงสุดของภาษีเงินได้บุคคลธรมดา อาจเป็นอีกขช่องทางหนึ่งที่ก่อให้เกิดการโอนย้ายถ่ายเทรายได้เพื่อการหลีกเลี่ยงภาษี ซึ่งกาารหลีกเลี่ยงในลักษณะนี้เป็นต้นเหตุของความไม่เป้นธรรมตามแนวนอนของระบบภาษีไทยนอกจากนั้นแล้วการหลีกเลี่ยงภาษีลักษณะดังกล่าวยังลดประสิทธภาพของลักษรการจัดเก็บภาษีอัตรก้าวหน้าอีกด้วย การปรับเปลี่ยนอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคคลจึงควคำนึงถึงช่องว่างระหว่งอัตราภาษีดังกล่าวกับอัตราข้นสูงสุดของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วยhttp://v-reform.org/tax-reform-for-equity/
             
            
           

วันอาทิตย์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Tax for Reduce the distribution in revenue

          โดยทั่วไปแล้วภาษีเป็เนครืองมือของรัฐบาลเืพ่อให้บรรลุเป้าหมายหลายประการ เช่น เพื่อหารายไ้ด้ให้แก่รัฐบาล เพื่อส่งเสริมและจำกัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจบางประเภท เพื่อรักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจนอกจากนี้ ภาษียังถูกใช้เป็นเครื่องมือในการลดความเลหื่อมล้ำในการกระจายรายได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม ความสำคัญของแต่ละเป้าหมายได้มีการเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละข่วงเวลา ในส่วนนี้จึงเป้นการพิจารณาถึงแนวโน้มของวิวัฒนาการของนโยบายภาษีที่เกิขึ้นทั่วโลก
          นโยบายภาษีีพันาการอย่างชัดเจนในช่วงทศวรรษ 1980 โดยเป็นผลสืบเนื่องมาจากกรเปลี่ยนแปลงบริบทของการพัฒนาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นม การพัฒนาเศราฐกิจของประเทศต่างๆ มักดำเนินการโดยใช้นดยบายภาษีเป้นสำคัญกล่าวคือ รัฐบาบจะเข้าไปมีส่วนร่วมของประเทศต่างๆ มักดำเนินการโดยใช้นโยบายภาษีเป็นสำคัญ กล่าวคือ รัฐบาลจะเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจโดยให้ความสำคัญกับกระบวนการทำให้เป้นอุตสาหกรรม จึงต้องใช้นโยบายภาษีต่างๆ เข้ามาจัดการในฐานะที่เป็เนครื่องมือองนโบายกาพัฒนา เช่น การตั้งกำแพงภาษี โดยเพ่ิมอากรขาเข้าเพื่อปกป้องอุตสาหกรรมภายในประเทศ การให้เงินอุดหนุนแก่ผุ้ผลิตวัตถุดิบ รวมตลอดจนการยเกว้นและลดหย่อนภาษีแก่บางภาคอุตสาหกรรมเป็นพิเศษ (เพื่อจูงใจให้มีการดำเนินกิจกรรมทางเศณาฐกิจในภาคอุตสาหกรรมที่รัฐบาลเห็นว่าจำเป้ฯต่อการพัฒนาประเทศนอกจากนี้ก็มักมีการเก็บภาษีอากรขอออกอัตราสูงๆ ในภาคเกษตรและภาคเหมืองแร่่
           
ต่อมได้เกิดความนิยมในการใช้นโยบายภาษีเพื่อเป็นเครื่องมือในการลบดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้โดยในช่วงประมณทศวรษ 1950-1960 นักวิชาการส่วนใหญ่มักมีควมเห้ฯว่า การใช้ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในอัตราก้าวหน้าสูงๆ และการใช้ภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตาสูงๆ เป็นนโยายภาษีในอุดมคติ อีกทั้งยังมองว่าการจัดเก็บภาษีทางอ้อมมีความจำเป็นอยู่้างเพื่อเป็นแหล่งรายได้ของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม รัฐบาลควรออกแบบนโยบายภาษีโดยให้ภาษีเงินไ้เข้ามาทอแทนภาษีทางอ้อมให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ นอกจากนี้ การออกแบบนโยยายภาษีในขณะนั้นไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงนโยายภาษีที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ กล่าวคือ ถือว่าการออกแบบนโยบายภาษีเป็นเรื่องภายในประเทศ โดยแท้ึ่งอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า นโยบายภาษีในขณะนั้นมีเป้าหมายเพืยง 2 ประการ คือ เพื่อหารายได้มาสนับสนุนบทบยาทของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจ และเพื่อกระจายรายไ้และความมั่งคั่ง ว฿่งการจัดเก็บภาษีในอัตราสูงมากทำให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ ในขณะนั้นสามารถใช้การลดหย่อนและยกเว้นภาษีมาเป็นเครื่องมือในการชักจูงให้ภาคเอกชนเข้ามาลงทุนในภาคการผลิตที่จำเป็นต่อการพัฒนาเศรษฐกิจได้
           ด้วยเหตุนี้แนวคิดในการใช้นโยบายภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการกระจยรายได้มักให้ความสำคัญกับบทบาทของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การออกแบบนโยายภาษีจึงเน้นไปที่การใช้อัตราภาษีก้าวหน้า และการปรับปรุงระบบการบริหารจัดเก็บภาษีให้ภาระภาษีกระจายไปยังบุคคลกลุ่มต่างๆ ในสังคมอย่างเปฯธรรมตามหลักความสามารถในการเสียภาษี ดังแนวคิดของ เฮจ ไซมอนส์ ที่มอวา "เงินได้" เป้นตัวชี้วัดความสามารถในการเสียภาษีที่ดีที่สุด ด้วยเหตุนี้นักวิชาการในขณะน้ั้นจึงมักเสนอให้รัฐบาลพยายามนำภาษีเงินได้บุคคบลธรรมดามาใช้แทนภาษีทางอ้อมขณะเดียวกันก็เสนอว่ ข้อดีของการใช้ภาษีเงินได้ในโครงสร้างอัตรก้าวหน้านั้น นอกจากจะช่วยลดความเหลื่อล้ำในการกระจายรายได้แล้ว ยังจะช่วยให้รัฐบาลมีรายได้เพ่ิมข้นมากเพียงพอที่จะทำให้รายจ่ายของรัฐบาลเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่าอัตราการเจริญิเติบโตของเศราฐกิจ โดยมีนักชิวาการได้เสนอว่า การเจะเปลี่ยนจากประเทศกำลังพัฒนาไปสู่ประเทศพัฒนาแล้วนั้น รัฐบาบต้องมีการเก็บภาษี (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอัตราก้าวหน้า ) ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ นั่นคือ ในระดับรายได้ภาษีที่ประมาณ 25-30 ของ GDP
            ต่อมาเมื่อเกิดปรากฎการณ์เศณาฐกิจตกต่ำทั่วโลกในทศวรรษ 1970 นักเศรษฐศาสตร์เร่ิมเปลี่ยนการให้ความสำคัญของเป้าหมายการดำเนินนโยบยายภาษีจากเดิมที่เน้นการสร้างความเท่าเที่ยมกันไปเน้นที่การสร้างความเจริญเติบโตทางเศราฐกิจแทนแนวคิดดังกล่าวได้กลายเป็นแนวคิดกระแสหลักจนกระทั่งปัจจุบัน กล่าวคือ นักเศรษฐศาสตร์และผุ้กำหนดนดยาบยเศราฐกิจในแต่ละประเทศมักมีความเชื่อว่ อัตราภาษีที่สูงไม่เพียงแต่จะลอแรงจูงจในการทำงานและบิดเบือนกิจกรรมทางเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังไม่สามารถทำให้บรรลุเป้าหมายในการสร้างความเท่าเที่ยมกันในการกระจายรายได้ได้ นนอกจากนี้ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศต่างๆ และแรงกดดันในกาดึงดูดเงินลททุนจากต่างประเทศ (ซึ่งมีลักษณะไร้พรมแดนมากขึ้น) ได้ทำให้ทั้งประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาหัสมาให้ความสำคัญกับผลกระทบของระบบภาษีที่มีต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศมากขึ้น..
           
ในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน นโยบายเศณาฐกิจทีมุ่งเน้นความเจริญเติบโต ได้รับการยอมรับยมกขึ้น และแนวคิดเกี่ยกับบทบาทของรัฐบาลได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เน้นให้รัฐบาลมีบทยบาทในระบบเศรษฐกิจมาก ไปสู่แนวคิดตลาดเสรี ที่ต้องการให้รัฐบาบมีบทบาทในระบบเศณาฐกิจน้อยที่สุด โดยให้มีการลดขนาดของภาครัฐและให้มีการเปลี่ยนองค์กรของรัฐไปเป็นเอกชน มากขึ้น...
             ทิศทางของนโยบายภาษีรประการสุดท้ายที่เกิดขึ้นตั้งแต่ประมาณทศวรรษ 1980 เป้ฯต้นมา คือ การลดความสำคัญของการจัดเก็ฐภาษีในอัตราก้าวหน้ามากๆ เพื่อเป้าหมายในกากระจายรายได้ กล่าวคือ แนวคิดกระแสหลักมักมุ่งไปที่การเก็บภาษีเงินได้ที่มีโครงสร้างอัตราก้าวหน้าเพียงเล็กน้อย หรือเก็บในอัตราเดียว รวมตลอดจนการมุ่งเน้นเก็บภาษีมูลค่าเพ่ิมซึ่งมีฐานภาษีกว้างเป็นสำคัญ และเพื่อไม่ให้ภาษีมูลค่าเพ่ิมโดยให้มีกายกเว้นภาษีแก่สินค้าและบริการที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตของประชาชน แนวคิดข้างต้นทำให้ภาษีมูลค่าเพ่ิมกลายเป็นรายไ้สำคัญของรัฐบาลของประเทศต่างๆ เกือบทั่วโฃกในปัจจุบัน ขณะเดียวกันก็ทำให้อัตราภาษีเงินได้ทั้เงประเภทบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลในประเทศต่างๆ ปรับลดลงมาก....http://v-reform.org/tax-reform-for-equity/

Progressive tax

          นักเศรษฐศาสตร์กระแสหลักส่วนใหย่ให้ความสำคัญกับการเจริญเติบโตทางเศราฐกิจโดยละเลยการแก้ไขปัญหาการกระจายรายได้ ซึ่งแนวความคิดดังกล่าวได้รับอิทธิพลมาจากงานยวิจัยคลาสนสิคของ ซิมมอน คัซเนทซ์ (1955) ซึ่งเสนอว่าแมื่อประเทศมีการพัฒนาทางเศราฐกิจและรายไ้ประชาชาาติต่อหัวเพ่ิมขึ้น ควาามไม่เท่าเที่ยมกันของการกระตสยรายได้จะเพ่ิมขึ้นเรื่องๆย จนกระทั่งรายได้เพ่ิมขึ้นถึงระดับหนึ่ง  การหระจายรวนได้จะเริ่มดีขึ้น เนื่องจากประทเศนั้นๆ จะมีการกำหนดนโยบายสาะารณะที่จะแก้ไขความไม่เท่าเที่ยมกันของการหระจายรายได้ แบบแผนความสัมพันะ์ที่อธิบายโดย คัซเนทซ์ นี้มักเรียกว่าความสัมพันธ์แบบ คัสเนทซ์
          ในกรณีของไทยนั้น ปราณี ทินกา (2545) ซึ่งทำการศึกษาคงามเลหื่อล้ำของการกระจายรายได้ในช่วง 2504 - 2544 พบว่า ลักษณะการกระจายรายไ้ของไทยมลักษณะเป็นส่นแรกของตัวยูหัวกลับเช่นเดียวกัน แต่เป้ฯตัวยูที่ลึกมากพอควร จนกระทั่งถึงระดับที่รัฐฐาลควรมีนโยบายและมาตรการการกระจายรายได้อย่างจริงจังแทนที่จะคิดอาศยกฃำกการไหลรินลงสู่เบื้องล่างจากการเติบโตของระบบเศรษฐกจแต่เพียงอย่งเดียวเหมือนช่นในอดีตที่ผ่านมา
          โดยทั่วไปแล้วนักเศรษฐศาสตร์เสรีนิยมักเห็นว่า สังคมไม่มีรายได้ แต่ปัจเจกบุคคลเป็นผุ้สร้างรายได้ให้ตนเองรัฐบาลจึงไมควรเาทรัพยกากรจากบุคคลหนึ่งไปดอนให้แก่อีกบุคคลหนึ่งเืพ่อวัตถุประสงค์ในการกระจายรายได้ อันจะทไใ้หความมุ่งมั่นนลใการทำงานลดลง (เพราะเมื่อทำงานมาก มีรายได้มาก ก็ถูกเก็บภาษีมาก) อีกทั้งยังเป็นการสร้งแรงจูงใจให้หนีและเลี่ยงภาษีอีกด้วย นอกจากนั้นในบางกรณีที่ระบบประกันสังคมกว้างขวาง เกินไป  ก็จะทำให้คนในสังคมขี้เกี่ยจและไม่ประสงค์จะทำงน (เพราะถึงไม่ทำงานก็สามรถดำรงชีวิตอยู่ได้) นักเศรษฐศาสตร์กลุ่มนี้ซึ่งเชื่อในเสรีภาพของแต่ละบุคคล มักมีความเห็นว่า รัฐบาลไม่ควรมีบลทยาทในการกระจายรายได้ แต่ควรมีบทบาทในการคคุ้มครองกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินเท่านั้น เช่น ป้องกันแและควบคุมมิให้มีการก่ออารชญากรรมและการผิดสัญญา อีกทั้งยังเชื่อว่า ความเท่าเที่ยมกันในด้านโอกาส มีความสำคัญมากกว่าควาทเท่าเที่ยมกันในด้านรายได้โดยนักเศรษฐศาสตร์กลุ่มนี้บางส่วนเชื่อว่า ความเป็นธรรมในการกระจายรายได้สามารถเกิดขึ้นได้หากตลาดมีการแข่งขันสมบูรณ์
           
อย่างไรก็ตาม นักเศรษฐกศาตรืกลุ่มนี้มัก๔ุกโจมตีในประเด็นสำคัญ กล่าวคือ ในสภาพความเป็นจริง ตลาดมีการผุกขาดนอกจากนี้ ผุ้ผลิตด ผุ้บริโภค และแรงงานต่างก็มิไดมีข้อมุลอย่งสมบุร์ ดังนั้น กาสร้างความเป็นธรรในการกระจายรายได้จึงควรเป้นเป้าหมายหนึ่งที่สำคัญในการดำเนินนโยบายโศรษบกิจของรัฐบาล ซึ่ง ธีรนาภ กาญจนอักษร ผุ้ล่วงลับไปแล้ว เคยให้ความเห็นว่า
           " เชื่อว่า ระบบทุนนิยมเสรีนั้นดี แต่การแข่งขันในปัจจุบันนั้นเร่ิมจากจุดที่ไมเ่ท่เที่ยมกัน ดังนั้นต้องมีกลไกบางอบย่างที่จะทำให้เกิดความสมดุลในบางเรื่อง คนที่มีโอกาสมาก เมื่อจะเข้าแข่งขันในสังคมก็จะได้เปรียบกว่าคนอื่นๆ มาก แต่จะทำอย่างไรให้คนอ้อยโอกาสเข้ามาบ้างในวที่จะมีสิทธิ์ มีเสียง มีส่วยนร่วม การพึ่งกลไกการแข่งขชันเสรีอย่างเดียบางที่ก็ไม่ได้ผล "
            การหันมในใจควาแตกต่างของรายได้แสดงว่ นักศรษฐศาตร์มีคุณค่าบางอย่างที่ทำให้รู้สึกว่ากระกระจายรายได้ที่ไม่เทาเที่ยมกันหรือเลื่อมล้ำกันจนเกินไปนั้นเป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสม นักปรัชญาที่สำคัญในกลุ่มนี ซึ่งถือว่าเป้นผุ้ให้กำเนิดแนวคิดอรรถประโยชน์นิยม ซึ่งมองว่า เป้าหมายของรัฐบาลควรจะเป็นการแสดวงหาอรรถประดยชน์สูงสุดให้แก่ทุกคนในสงคมรวมกัน ดังนั้น รัฐควรทำหน้าทีในการกระจยรายได้ โดยการอดนเงินจากผุ้มีรายได้สูงมาให้ผุ้มีรายได้ต่ำ เนืองจากเชื่อในสมมติญฐานของการบลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์ส่วนเพ่ิม นั่นคือ  การเสียสละเงิน 12 หน่วยจากผุ้มีรายได้สูง (อรรถประโยชน์ลดลงเพียงเล็กน้อย) มาให้ผุ้มีรายได้ต่ำ (อรรประดยชน์เพ่ิมขึ้นมาก ) จากทำให้สวัสดิการในสังคมดีขึ้น แนวคิดของนักปรัชญาอีกท่านหึ่งคอ จอห์น รอว์ ซึงมีความเห็นว่า ควมเป็นธรรมควรมีลักาณปลอดจากความคิดแบบอัตวิสัย ของแต่ละบุคคล และเห็นว่า ควรจะต้องให้ความช่วยเหลือแก่คนที่อยุ่ในฐานะที่ยากจนที่สุดในสังคมก่อน นั่นคือ แนวคิดนี้ให้นำ้หนึกกับกลุ่มคนจนที่สุดของสังคมมากว่าที่จะมาคำนึงถึงอรรประดยชน์โดยรวม
            การกระจายรายได้เป็นการสร้างความสมดุลระหว่างการยอมูญเสียประสิทธิภาพไปบางส่วน เพื่่อหใ้ได้มาซึ่งความเ่ท่าเที่ยมกัน ซึ่งการระบุจุดสมดุลดังกล่วสามารถถกเถียงกันได้อย่างไม่มีทางจบสิ้น หล่าวคือ นักเศรษฐศาสตร์เสรีนิยม ซึ่งชื่นชอบกับมิติด้านความมีประสทิธิภาย่อมประสงค์จะให้รับบาลมีบทบาทน้อยที่สุด
           ในระบบเศรษฐกิจ ในทางกลับกันนักเศรษฐศาสตร์พัมนาการมักประสงค์จะให้รัฐบาลเข้ามามีบทบาทในการสร้างโอากสให้แก่ประชาชนโดยการเพร่ิมโอากาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการศึกษา การสาธารณสุข และการจ้างงานได้
            ในประการสำคัญ ความเหลื่อล้ำในการกระจายราไ้ไม่ใช่กระบวการกติ แต่เป็นส่ิงที่สัคมเลื่อก ังนั้นจึงเกี่ยว้องกับปรัชญาและอุดมการณืของผุ้คนในสังคม ดังเช่นที่ อาร์โนว์ ฮาเบอเกอร์ ได้ขชี้ว่า การใช้นดยบายเืพ่อสร้างความเท่าเที่ยมในการกระจายรายได้ในแต่ละประเทศนั้น สวนหคึ่งก็ขึ้นอยุ่กับการสนับสนนุนของชนชั้นกลางในสังคมว่า เห้นความสำคัญของการลดความเลหื่อล้ำในการกระจายรายไ้หรือไม่
             อาทิ ผุ้จนในประเทศสหรัฐอเมริกาเชขื่อว่าความเหลื่อล้ำเป็นแรงจุงใจให้เศราฐกิจเจริญเติบโตจึง ไม่ได้ดำเนินมาตการลดความเลื่อมล้ำใ ในทางตรงกันข้าม หากพิจารณาประเทศที่เป้นตัวอย่งของการกระจายรายไ้ที่ดียุโรปเหนือ เช่น นอร์เวย์ สวีเดน เดนมาร์ก เยอรมนี ประเทศเหล่านี้ล้วนแต่มีกระบวนการทางประวัติศาสตร์ของการต่อสู้ตั้งแต่การตอสู้ทางอุดมการณ์ของขยวนการต่าง ๆทั้งฝ่ายสังคมนิยมและทุนนิยมโดยมีการปรับเลปี่ยนตลอดเวลา ทั้งนี้ ความเข้มแข็งของขวบนการรแรงงาน ของเกษตรกร ของกลุ่มต่างๆ ในสังคม ลวนเกี่ยวข้องกับการต่อสู้ทางความคิดทั้งส้ิน อาจกล่าวได้ว่า ประเทศเหล่านี้เลหื่อกที่จะสร้างสัคมที่มีความเท่าเที่ยมกัน โดยผ่านกานรใช้นโยบายประกันสังคม นโยบายสุขภาพ นโยบายภาษี ฯลฯ ดังที่ ผาสุก พงษ์ไพจิต ได้ชี้ว่า ญี่ปุ่นและยุโรปเหนือเลื่อกที่จะมุ่งไปสู่ "สังคมเสมอหน้า" ด้วยสังคมเชื่อว่ ควาาเสมอหน้าทำให้สังคมมีสัจติสุขมากว่าดดยที่ในกรณีของญีปุ่น นั้น ความเจริญเติบโตทางเศราฐกิจก็ไม่ย่ิงหย่อนกว่ากรณีของสหรัฐอเมริกา
           
 หากพิจารณาเปฑาะเครื่องมือทางด้านภาษีนั้น นโยบายภาษีไม่ว่าจะเป็นในช่วงเวลาใดหรือในสถานที่ใดก็ตามล้วนแล้วแต่เป็นเรื่องของการสร้างสมดุลใหห้เกิดขึ้นระห่างเงื่อนไขของความมีประสิทธภาและความเท่าเที่ยมกันทั้งส้ิน ดังเช่นที่งานเขียนจำนวนมากได้พยายามจะตอบคำถามเกี่ยกับการออกแบบภาษีเพื่อนำไปสู่ความสมดุลดังกล่ว ซึงในทางปฏิบัติแล้ว ปัจจัยทางการเมืองไมเ่พียงแต่จะเป็นปัจจัยหนึงในการสร้างคึวามสมดุลเท่านั้น หากแต่เป็นปัจจัยที่คีอบงำทังหลักการของประสิทะิภาพและลัการของความเท่าเที่ยมกันอีกด้วย
            ด้วยเหตุนี้การพิจารณาในมิติเชิงเศรษฐศาสตร์การเมืองของภาษีอากรจึงเป็นเรื่องสำคัญ ดังตัวอย่างของการก่อกำเนินดระบบภาษีก้าวหน้าในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่ง สติฟ เวีซแมน ได้ชี้ให้เห็นว่า วิกฤตเศรษฐกิจและสงครามต่างก็เป็นปัจจัยทีก่อกำเนินภาษีเงินได้ที่มีโครงสร้างกาวหน้า ดดยการสร้างความเห็นพ้อง ได้มีการพัฒนามาเป็นลำดับในช่วงทศวรรษ และที่สำคัญข้อถกเถียงที่เกิดขึ้น ในช่วงเวลาดังกล่าว มิใช่เป็นการถกเถียงเกี่ยวกับระบบภาษีโดยตรง หากแต่เป็นการภกเถียงเกี่ยวกับคำภถามที่ว่า สังคมแบบใดที่ชาวอเมริกันต้องการ....
         http://v-reform.org/wp-content/uploads/2012/10/Full-Paper_tax_pan.pdf

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...