สนธิสัญญาลิสบอน เป็นความตกลงระหว่างประเทศซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมสนธิสัญญาสองฉบัยที่เป็นรากฐานทางกฎหมายของสหภาพยุโรป "อียู" อันได้แก่สนธิสัญญามาสทราิชท์ (พ.ศ. 2536 ) และสนธิสัญญาโรม (พ.ศ. 2501) สนธิสัญญาลิสบอนได้รับการลงนามโดยผุ้แทนจาก 28 รัฐสมาชิกในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และเริ่มบังคับใช้ในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552
สาระสำคัญที่เปลี่ยนแปลงไป อาทิ การลงมติในคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปจากเดมใช้ระบบแบ่งช่วงประชากรเพื่อกำหนดจำนนวนเสียงลงคะแนน มาเป็นระบบคะแนนเสียงถ่วงน้ำหนักตามประชากรของแต่ละประเทศ การใช้ระบบใหม่นี้ทำให้บรรดาชาติที่มีประชารเป็นอันดับต้นๆ อย่าง เยอรมนี, ฝรั่งเศส, สหราชอาณาจักร, อิตาลี, สเปน ได้รับผลประโยชน์จากอำนาจลงคะแนนที่เพ่ิมชึ้น ในขณะที่ชาติที่มีประชากรน้อยสูญเสียอำนาจในการลงคะแนบางส่วนไป สธิสัญญาฉบับนี้ยังเปิดทางให้มีร่างกฎหมายสหภาพว่าด้วยสิทธิ ซึ่งบับคับยใช้เป็นกฎบัตรสิทธิขั้นพื้นฐาน และยังระบุถึงสิทธิของรัฐสมาชิกที่จะออกจากการเป็นสมาชิกภาพไว้อย่างชัดแจ้งhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%99
สนธิสัญญาลิสบอน...
ประเทศสมาชิก EU ตระหนักถึงความจำเป็ฯในการปรับปรุงโครงสร้างเพื่อตอบสนองกระบวนการบูรณาการภายใจ EU ที่ก้าวหน้าขึ้นและความประสงค์ที่จะขยายบทบาทของ EU ในประชาคมโลก โดยในขั้นแรกเห็นควรให้จัดทำ "ธรรมนูญยุโรป" แต่แนวคิดังกล่าวต้องล้มเลิกไปเนื่องจากประชาชนงั่งเศ และประชาชนเนเธอร์แลนด์ได้ปฏิเสธรางธรรมนูญยุโรปในการจัทำประชามติในทั้ง 2 ประเทศ เมือ ค.ศ. 2004 และ ค.ศ. 2005 ตามลำดับ ต่อมาเมื่อวันที่ 18-19 ตุลาคม ค.ศ. 2007 ประมุขแห่งรั, ผู้นำรัฐบาลของประเทศสมาชิก อียู สามารถบรรลุข้อตกลงระหวา่งกันให้เปลี่ยนจาการจัดทำธรรมนูญยุโรปเป็นการจัดทำสนธิสัญญา แทน โดยเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 2007 ประมุขแห่งรับ ผู้นำรัฐบาลของประทศสมาชิก อียู ท้ง 27 ประเทศ ได้ร่วลงนาในสนธิสัญญาลิสบอน ที่กรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส ทั้ง ทั้งี้ สนธิสัญญาลิสบอนมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 2009
สาระสำคัญของสนธิสัญญาลิสบอนได้แก่
- เป็นสนธิสัญญาระห่างรัฐสมาชิก อียู ที่ให้ความเห็นชอบในการสละอำนาจอธิปไตยบางส่วนให้แก่ความร่วมมือเหนือชาติ โดย ย่อหน้าที่ 3 ของสญญาลิสบอนระบุว่า อียู มีอำนาจเบ็ดเสร็จ ในเรื่อง สหภาพสุลกากร, การออกกฎระเบียบด้านการแข่งขัน ที่จำเป็นต่อการทำหน้าที่ตลาดภายใน, นโยบายด้านกาเงนสำหรับรัฐสมาชิก อียู ที่ใช้สกุลเงินยูโร การอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพทางทะเล และ นโยบายการต้าร่วม
- สนธิสัญญาฯ กำหนดให้สร้างตำแหน่งผุ้บริหารึ้น 2 ตำแหน่งใหม่ คือ
1. ประธานคณะมนตรียุดรป (เที่ยบเท่าผู้นำรัฐบาล/ประมุขแห่งรัฐ)
2. ผู้แทนระดับสูงของสหภาพยุโรปด้านการต่างประเทศและนโยบายความมั่นคง (เที่ยบเท่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ อียู) มีหน้าที่คือ ดูและเรื่องนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงที่มาจากการตัดสินใจร่วมกันของ ประเทศสมาชิก และเป็นประธานในการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิก อียู (แทนระบบประเทศสมาชิกผลัดกันเป็นประธาน วาระละ 6 เดือน
การขยายสมาชิกภาพของ อียู และการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเท่าภัยพิบัติ ซึ่งทำให้บุคคลที่รับหน้าที่ี้มีอำนาจหน้าที่ท้งในคณะกรรมธิการยุโปร และคณะมรจรีแห่งสหภาพยุโรป
อย่างไรก็ดี ประเทศสมาชิก อียู ยังคงมีอำนาจในการดำเนินนโยบายต่างประเทศและนโยบายด้านการทหาร ความมั่นคงเชืนเ ดิมโดยการสนับสนุนด้านทรัพยการบุคคลท้งพลเรือนและทหารแก่ อียู เพื่อการดำเนินการด้านการป้องกันและความปลอดภัยร่วม ขึ้นอยู่กับความสมัครใจของแต่ละประเทศสมาชิก
3. สนธิสัญญาลิสบอนกำหนดให้มีการจัดตั้ง ยูโรเปี้ยน เอ็กเทอร์นอล แอคชั่น เซอร์วิส เพื่อทำหน้าที่เป้น "กระทรวงการต่างประเทศ" ของ อียู โดยมีการคัดสรรบุคลากรจากระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกและสถาบนอื่นๆ ของ อียู มาปฏิบัติราชการเืพ่อสนับสนุนการทำงานของผุ้แทรระดับสูงของ อียู ด้านการต่างประเทศ ฯ และ เริ่มปฏิบัิตการเมือวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2011 โดยขึ้นตรงต่อผุ้แทนระดับสูงของ อียู ด้านการต่างประเทศฯและดำเนินานเป็นอิสระจากคณะกรรมาธิการยุดรปและคณะมนตรียุโรป โดยมีสำนักงานใหญ่ ณ กรุงบรัสเซลส์
การจัดตั้ง "กระทรวงการต่างประเทศ" ของ อียู ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อเรียกของสำนักงานคณะผู้แทนคณะกรรมาธิการยุโป เป็นสำนักงานคณะผู้แทน อียู โดยอยู่ภายใต้สังกัน "กระทรวงการต่างประเทศ" ของอียู เอกอัครราชทูตและหัวหร้าคณะผู้แทน อียูทำหน้าที่เป็นผู้แทน อียู ในการดำเนินนโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคงกับประเทศที่สาม
อำนาจห้าที่ของ กระทรวงการต่างประเทศของอียู ได้แก่
-ทำหน้าที่เป็นกระทรวงการต่างประเทศของ อียู ในด้านนโยบายร่วมด้านการต่างประเทสและความั่นคง
-รับผิดชอบในเรื่องการยุติความขัดแย้งระหว่างประเทศแลการสร้างสันติภาพ ส่วนคณะกรรมาธิการยุโรปรับผิดชอบงานด้านการให้ความช่วยเหลื่อเพื่อการพัฒนา พลังงาน การขยายสมาชิกาภพของ อียู และการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งให้ความสำคัญเป็นพิเศษกับความสัมพันธ์กับประเทศเืพ่อบ้านของ อียู และความสัมพันธ์กับประเ?สที่ อียูมองว่ามีศักยภาพในด้านการเมืองและเศราฐกิจ อาทิ บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน แอฟริการ และสาธารณรัฐเกาหลี โดย อียู จะขยายคาชวามร่วมมือกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเฉพาะในกรอบ อาเซียน และอาเซยน รีเจียลแนล ฟอร์รัม
- สนธิสัญญาลิสบอนเป็นสนธิสัญญาฉบับแรกที่ให้พื้นฐานทางกฎหมายแก่ อียู ในการดเนินการด้านความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ดดยมีการระบุอย่างชัดเจน่า การลดและขจัดคามยากจนในประเทศที่สามาเป้นวัตถุประสงค์สำคัญของนโยบายความร่วมมือเพื่อากรพัฒนาของ อียู อย่างไรก็ดี การดำเนินนโบายนี้ยังขึ้นอยุ่กับดุลพินิจของแต่ละประเทศสมาชิก อียู เนื่องจาไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายรวมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง
- สนธิสัญญาบิสบอนให้ความสำคัญต่อส่ิงแวดล้อม และการจัดการปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ โดยกำหนดว่า เป้าหมายหนึ่งของ อียู ได้แก การพัฒนาที่ยั่งยืนบนพื้นฐานของการปกป้องและพัฒนาคุณภาพของสิ่งแวดล้ม โดยการจัดการกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอากาศเป็นเป้าหมายที่สำคัญ ประการหนึ่งภายใต้นโยบายสิ่งแวดล้องของ อียู นอกจานี้ สนธิสัญญาลิสบอนยังระบุว่า การพัฒนาที่ยั่งยืนเป้นเป้าหมายหนึ่งของ อียู ในการดำเนินความสัมพันธ์กับประเทศที่สาม
- สนธิสัญยาลิสบอนไกำหนดให้สภายุโรปมีบทบาทมากขึ้นเนื่องจากไ้รับอำนาจากขึ้นในการ่วมพิจารณาร่างกฎหมายของ อียู เกือบทั้งหมด เช่น เกษตรกรรม พลังงาน ความมั่นคง การตรวจคนเข้าเมือง ยุติธรรม มหาดไทย และสาธารณสุข สนธิสัญญาลิสบอนยังกำหนดให้สภายุโรปต้องหารือกับรัฐสภาของประเทศสมาชิก เกี่ยวกับร่างกฎหมาย ตั้งแต่เร่ิมต้นกระบวนการพิจารณาร่างกฎหมาย ซึงจะทำใหการทำงานของ อียู มีลักษณะเป็นประชาธิปไตย มากขึ้น และใขณะเดียวกัน จะมีความคาดหวังจากสภยุโรปสูงขึ้นเชนกัน นอกจากนี้ มีการเพ่ิมจำนวนสมาชิกสภาประชาธิปไตย มากขึ้น และในขณเดียวกัน จะมีความคาดหวังจากสภายุโรปสูงขึ้นเช่นกัน นอกจากนี้ มีการเพ่ิมจำนวนสมาชิกสภาพยุโรปจากเดิมจำนวน 736 คน เป็นจำนวนไม่เกิน 750 คน ดดยแต่ละประเทศสมาชิกจะมีสมาชิกสภายุโรปได้สูงสุดไม่เกิน 96 คน...http://thaiembassy.dk/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD-%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2/
วันเสาร์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2561
EU
สหภาพยุโรประกอบไปด้วยรัฐอิสระ 28 ประเทศ เป็นที่รู้จักกันในสถานะรัฐสมาชิก : ออสเตรีย เบลเยียม บัลแกเรีย โครเอเชีย ไซปรัส สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ฮังการี ไอร์แลนด์ อิตาลี ลัตเวีย ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก มอลตา เนเธอแลนด์ โปแล้นด์ โปรตุเกส โรมาเนีย สโลวาเกี่ย สโลวีเนีย สเปน สวีเดน และสหราชอาณาจักร
ปัจจุบันมีประเทศสมัครเข้าเป็นสมาชิก 28 ประเทศคือ มาชิโดเนียและตุรกี ส่วนประเทศแถบคาบสมุทรบอลข่านตะวันตก เช่น แอลเบเนีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกรและเซอร์เบีย ถูกจัดให้เป็นประเทศที่สามารถสมัครเข้าเป้นสมาชิกได้โคโซโวเองก็ได้สถานนีเช่นเดียวกัน
ปี 1950 ประเทศฝรั่งเศสมีโครงการจะก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กล้ายุโรป ขึ้น เพราะนอกจากจะเป็นการช่วยยกฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศในยุโรปแล้ว ยัวเป้นการสร้างพื้นฐานในการที่จะก้าวไปสู่การเป็นสหพันธ์รัฐในอนาคตด้วย ฝรั่งเศสจึงขอความร่วมมือจากประเทศต่างๆ ในทวิปยุโรป โดยการแถลงการณ์ต่อบรรดผู้แทนของหนังสือพิมพ์ทั่วดลก และเมืองฝรั่งเศสแถงการณ์ออกไปแล้ว ประเทศเยอรมนี เบลเยียม อิตาลี ลักเซมเบอร์ก และเนเธอร์แลนด์ ได้ตกลงร่วมมือสมัครเข้าเป็นสมาชิก และได้จัดตั้งเป็นองค์การ ECSC อย่างเป็นทางการเมืองวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1951
ต่อมาผู้นำประเทศทั้ง 6 ได้ร่วมกันจัดตั้งองค์การป้องกันยุโรป ขึ้นอีกองค์การหนึ่งเพื่อให้ประเทศสมาชิกได้มีความร่วมมือกนทางการเมือง (EDC) และเพื่อเป้นการสนับสนุนองค์การนาโตด้วย และในการจัดตั้งองค์การนี้จะทำให้ยุโรปมีกองทัพที่สมบุรณ์ แต่ EDC ก็ไม่สามารถดำเนินงานไปได้ เรพาะรัฐสภาพของฝรั่งเศสไม่ยอมให้สัตยาบัน แต่ด้วยความจำเป็นที่ยุโรปจะต้องมีนโยบายต่างประเทศร่วมกัน เพื่อจะให้มีกองทัพมีบูรณภาพ รัฐมนตรีต่างปรเทศของประเทศสมาชิกทั้ง 6 จึงมอบหมายหน้าที่ให้สภาของ ECSC เตรียมดครงการจัดตั้งประชาคมการเมืองยุดรป ขึ้น เพื่อเสนอต่อรัฐบาลของประเทศทั้ง 6 ซึ่งมีจุดประสงคืที่จะดำเนินนโยบายทางการต่างประเทศและการป้องกันประเทศ ต่อมาประเทศทั้ง 6 ก็เปลี่ยนแนวทางจากการรวมตัวทางการเมืองมาเป็นการรวมตัวทางเศณาฐกิจแทน และได้ร่วมมือกันก่อตั้งกลุ่มประชาคมเศราฐกิจยุโรป หรือตลาดร่วมยุโรป และประชาคมพลังงานปรมาณู ยุโรป หรือยูเรตอน ขึ้นเมือง ปี 1957
การก่อตั้งองค์กรท้ง 2 นี้เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จในการรวมกลุ่มทางเศราฐกิจที่สำคัญของยุโรปตะวันตก
ต่อมาเพื่อเป็นการสร้างเสริมความมั่นคงให้แก่ทวีปยุโรป จึงมการรวมองค์กรบริหารเข้าด้วยกัน ใช้ชื่อว่า ประชาคมยุโรป ในปี 1967 เพื่อประโยชน์ทางด้านเศราฐกิจ และในวันที่ 1 พฤศจิกายน 1993 EC เปลี่ยนชืื่อเป็นสหภาพยุโรป (EU) เพราะนอกจากจะร่วมือกันทางเศษรฐกิจแล้ว ยังเป็นองค์การความร่วมมือทางด้านการเมืองระหว่างประเทศสมาชิกด้วย
การรวมตัว สนธิสัญญามาสทริชท์ เน้น "เสาหลัก" 3 ประการ คือ
1. การรวมตัวด้านเศรษฐกิจ ยุโปรตลาดเดียว ให้มีการเคลื่อนที่ปัจจัย 4 ประการ โดยเสรี คือ บุคคล, สินค้า, การบริการ, ทุน มีนโยบายรวมกัน ในด้านการต้า การเกษตร พลงงาน สิ่งแวดล้อม ประมง และด้านสังคมเป็นต้น สหภาพเศราฐกิจแลการเงิน ได้เข้าสู่ขั้นตอนสุดท้ายของ EMU เมื่อวันที่ 1 มกราคม 1999 ซึ่งมีเงินสกุลเดียวคือ เงินยูโร และมีธนาคารกลางของสหภาพ
2. นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศ และความมั่นคง และนโยบายด้านความมั่นคงและการป้องกันประเทศ
3. ความร่วมมือด้านกระบวนการยุติธรรมและกิจการภายใน (มหาดไทย) รวมทังการตรวจคนเข้าเมือง การปราบปรามอาชญากรรมและยาเสพติด การจัดตั้งกองตำรวจร่วม "ยูโรโปล" และการดำเนินการร่วมด้านความมั่นคงภายใน ฯลฯ
กลไกการบริหารจัดการของสหภาพยุโรป มีดังนี้
1. คณะกรรมกาธิการยุโรป เป็นองคการฝ่าบบริหาร ดูแลประโยชน์ของประชาคมโดยส่วนรวม มีความเป้นอิสระไม่ขึ้นต่อตัฐใดรัฐหนึ่ง
2. คณะทนตรี ประกอบด้วย ตัวแทนจากรัฐสมาชิก
3. ศาลตุลาการยุโรป
4. สภายุโรป ประกอบด้วย สมาชิกสภายุโรปจำนวน 731 คนมาจาการเลื่อกตั้งโดยตรงทุกๆ 5 ปี โดยสมาชิกสภายุโรปเหล่านี้มิได้แบ่งตามประเทศ แต่สังกัดอยุ่กับพรรคการเมืองในระดับยุโรปที่มีแนวคิดทางการเมืองสอดคล้องกับพรรคการเมืองในระดับประเทศที่ตนสังกัดมากที่สุ ยังมีสมาชิกสภายุโรปบางส่วนที่ไม่ได้สังกัดพรรคการเมืองใด ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ สภาพยุโรป คือ เสียงแห่งประชาธิปไตยของประชาชนยุโรป ทั้งนี้ ประธานสภายุโรป ณ พฤษภาคม 2006 คือ นาย โจเซฟ โบเรล
กล่าวโดยสรุป สหภาพยุโรปเป็นการรวมกลุ่มของประเทศในภูมิภาคยุโรปท้้งด้านการมเืง อเสณาฐกิจ และสังคมในลักษณะสภาบันแบบ "เหนือรัฐ" ที่ใหญ่ที่สุดและก้าวหน้าที่สุดในโลก โดยมีวัถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างสันติภาพเป็นการถาวะระหว่งประเทศในภุมิภาคยุโรปภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 รวมไปถึงการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศราฐกิจแก่ประเทศสมาชิกและการมีบทบาทนำของ "อียู" ในประชาคมโลก
กระบวนการถ่ายโอนอำนาจการบริหารจากประเทศสมาชิกไปสู่การเป็นองค์การเหนือรัฐของสหภาพยุโรปมีขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป การรวมกลุ่มอย่างเป็นรูปธรรมเกิดขึ้นครั้งแรกเมือปี 1950 ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยประเทศยุโรปตะวันตก 6 ประเทศ โดยร่ามกันจัดตั้งประชคมถ่านหินและหล็กล้ายุโรป ขึ้น ซึ่งแม้เป้าหมายสูงสุดของการรวมกลุ่มจะมีขึ้นเพื่อผลประดยชน์างด้านการเมือง แต่ได้เลือกวิธีการร่วมกลุ่มทางเศณา๙กิจเป็นตัวนำเพื่อคลายความระแวงสงสัยของประเทศต่างๆ ในเรื่องการสูญเสียอำนาจอธิปไตย การรวมกลุ่มดังกล่าวประสบผลสำเร็จด้วยดี ทำให้ต่อมาในปี 1957 การรวมกลุ่มได้ขยายตัวครอบคลุมภาคเศราฐกิจอื่นๆ โดยแต่ละประเทสได้ลงนาในสนะิสัญญากรุงโรม เพื่อจัดต้งประชาคมเศณาฐกิจยุโรป เพื่อให้เป็นทั้งสหภายสุลกากร และตลาดร่วม กระบวนารรวมกลุ่มประสบความสำเร็จอย่างมากในด้านเศรษฐกิจ
ปี 1990 หลังช่วงสงครามเย็น ฝรั่วเศสและเยอรมันเสนอให้มีการจัดตั้งสหภาพการเมืองของยุโรปเพื่อให้มีการกำหนดนโยบายด้านการต่างประเทศและความมั่นคงร่วมกัน ซึ่งท้ายที่สุด นำไปสู่การลงนามในสนธิสัญญากรุงมสตริดต์ เืพ่อจัดตั้งสหภาพยุโรป ขึ้นในปี 1992 รวมไปถึงการใช้เงินสกุลยูโรร่วมกันด้วย ต่อมา ปี 2007 ประเทศสมาชิก EU ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับปรุงโครงสร้างเพื่อตอบสนองกระบวนการบูรณาการภายใน EU ที่ก้าวหน้าขึ้นและบทบาทที่เพ่มมากขึ้นของ EU ในประชาคมโลก จึงได้ร่วมลงนาในสนธิสัญญาลิสบอน โดยประเทศสมาชิกให้ความเห้นชอบในการสละอำนาจอธิไตยบางส่นให้แก่ความ่วมมือเหนือชาติ ในเรื่อง 1. สหภาพสุลการกร, 2. การออกกฎระเบียบด้านการแข่งขัน 3. นโยบายด้านการเงิน สำหรับรัฐสมาชิก EU ที่ใช้เงินสกุลยูดร 4. การอนุรักษทรัพยากรชีวภาพทางทะเล ภายใต้นโยบายร่วมด้านประมง และ 5. นโยบายการต้าร่วม ทั้งนี้ สนธิสัญญาลิสบอนมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009
ปัจจุบัน EU มีรัฐสมาชิกจำนวน 28 ประเทศ มีระบบตลาดร่วม ระบบภาษีศุลกากรร่วม การใช้เงินสกุลยุดรร่วมกันใน 17 ประเทศสมาชิก และมีศุย์กลางการบริหารอยุ่ที่กรงุบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม
- http://www.apecthai.org/index.php/คลังความรู้/องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่สำคัญ
- http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%9B
- http://www.europetouch.in.th/main/OrganizationDetail/สหภาพยุโรป%20(The%20European%20Union%20-%20EU)=94l84l84l84l35l94l28l97l.htm
- https://kung44.wordpress.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3/
ปัจจุบันมีประเทศสมัครเข้าเป็นสมาชิก 28 ประเทศคือ มาชิโดเนียและตุรกี ส่วนประเทศแถบคาบสมุทรบอลข่านตะวันตก เช่น แอลเบเนีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกรและเซอร์เบีย ถูกจัดให้เป็นประเทศที่สามารถสมัครเข้าเป้นสมาชิกได้โคโซโวเองก็ได้สถานนีเช่นเดียวกัน
ปี 1950 ประเทศฝรั่งเศสมีโครงการจะก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กล้ายุโรป ขึ้น เพราะนอกจากจะเป็นการช่วยยกฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศในยุโรปแล้ว ยัวเป้นการสร้างพื้นฐานในการที่จะก้าวไปสู่การเป็นสหพันธ์รัฐในอนาคตด้วย ฝรั่งเศสจึงขอความร่วมมือจากประเทศต่างๆ ในทวิปยุโรป โดยการแถลงการณ์ต่อบรรดผู้แทนของหนังสือพิมพ์ทั่วดลก และเมืองฝรั่งเศสแถงการณ์ออกไปแล้ว ประเทศเยอรมนี เบลเยียม อิตาลี ลักเซมเบอร์ก และเนเธอร์แลนด์ ได้ตกลงร่วมมือสมัครเข้าเป็นสมาชิก และได้จัดตั้งเป็นองค์การ ECSC อย่างเป็นทางการเมืองวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1951
ต่อมาผู้นำประเทศทั้ง 6 ได้ร่วมกันจัดตั้งองค์การป้องกันยุโรป ขึ้นอีกองค์การหนึ่งเพื่อให้ประเทศสมาชิกได้มีความร่วมมือกนทางการเมือง (EDC) และเพื่อเป้นการสนับสนุนองค์การนาโตด้วย และในการจัดตั้งองค์การนี้จะทำให้ยุโรปมีกองทัพที่สมบุรณ์ แต่ EDC ก็ไม่สามารถดำเนินงานไปได้ เรพาะรัฐสภาพของฝรั่งเศสไม่ยอมให้สัตยาบัน แต่ด้วยความจำเป็นที่ยุโรปจะต้องมีนโยบายต่างประเทศร่วมกัน เพื่อจะให้มีกองทัพมีบูรณภาพ รัฐมนตรีต่างปรเทศของประเทศสมาชิกทั้ง 6 จึงมอบหมายหน้าที่ให้สภาของ ECSC เตรียมดครงการจัดตั้งประชาคมการเมืองยุดรป ขึ้น เพื่อเสนอต่อรัฐบาลของประเทศทั้ง 6 ซึ่งมีจุดประสงคืที่จะดำเนินนโยบายทางการต่างประเทศและการป้องกันประเทศ ต่อมาประเทศทั้ง 6 ก็เปลี่ยนแนวทางจากการรวมตัวทางการเมืองมาเป็นการรวมตัวทางเศณาฐกิจแทน และได้ร่วมมือกันก่อตั้งกลุ่มประชาคมเศราฐกิจยุโรป หรือตลาดร่วมยุโรป และประชาคมพลังงานปรมาณู ยุโรป หรือยูเรตอน ขึ้นเมือง ปี 1957
การก่อตั้งองค์กรท้ง 2 นี้เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จในการรวมกลุ่มทางเศราฐกิจที่สำคัญของยุโรปตะวันตก
ต่อมาเพื่อเป็นการสร้างเสริมความมั่นคงให้แก่ทวีปยุโรป จึงมการรวมองค์กรบริหารเข้าด้วยกัน ใช้ชื่อว่า ประชาคมยุโรป ในปี 1967 เพื่อประโยชน์ทางด้านเศราฐกิจ และในวันที่ 1 พฤศจิกายน 1993 EC เปลี่ยนชืื่อเป็นสหภาพยุโรป (EU) เพราะนอกจากจะร่วมือกันทางเศษรฐกิจแล้ว ยังเป็นองค์การความร่วมมือทางด้านการเมืองระหว่างประเทศสมาชิกด้วย
การรวมตัว สนธิสัญญามาสทริชท์ เน้น "เสาหลัก" 3 ประการ คือ
1. การรวมตัวด้านเศรษฐกิจ ยุโปรตลาดเดียว ให้มีการเคลื่อนที่ปัจจัย 4 ประการ โดยเสรี คือ บุคคล, สินค้า, การบริการ, ทุน มีนโยบายรวมกัน ในด้านการต้า การเกษตร พลงงาน สิ่งแวดล้อม ประมง และด้านสังคมเป็นต้น สหภาพเศราฐกิจแลการเงิน ได้เข้าสู่ขั้นตอนสุดท้ายของ EMU เมื่อวันที่ 1 มกราคม 1999 ซึ่งมีเงินสกุลเดียวคือ เงินยูโร และมีธนาคารกลางของสหภาพ
2. นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศ และความมั่นคง และนโยบายด้านความมั่นคงและการป้องกันประเทศ
3. ความร่วมมือด้านกระบวนการยุติธรรมและกิจการภายใน (มหาดไทย) รวมทังการตรวจคนเข้าเมือง การปราบปรามอาชญากรรมและยาเสพติด การจัดตั้งกองตำรวจร่วม "ยูโรโปล" และการดำเนินการร่วมด้านความมั่นคงภายใน ฯลฯ
กลไกการบริหารจัดการของสหภาพยุโรป มีดังนี้
1. คณะกรรมกาธิการยุโรป เป็นองคการฝ่าบบริหาร ดูแลประโยชน์ของประชาคมโดยส่วนรวม มีความเป้นอิสระไม่ขึ้นต่อตัฐใดรัฐหนึ่ง
2. คณะทนตรี ประกอบด้วย ตัวแทนจากรัฐสมาชิก
3. ศาลตุลาการยุโรป
4. สภายุโรป ประกอบด้วย สมาชิกสภายุโรปจำนวน 731 คนมาจาการเลื่อกตั้งโดยตรงทุกๆ 5 ปี โดยสมาชิกสภายุโรปเหล่านี้มิได้แบ่งตามประเทศ แต่สังกัดอยุ่กับพรรคการเมืองในระดับยุโรปที่มีแนวคิดทางการเมืองสอดคล้องกับพรรคการเมืองในระดับประเทศที่ตนสังกัดมากที่สุ ยังมีสมาชิกสภายุโรปบางส่วนที่ไม่ได้สังกัดพรรคการเมืองใด ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ สภาพยุโรป คือ เสียงแห่งประชาธิปไตยของประชาชนยุโรป ทั้งนี้ ประธานสภายุโรป ณ พฤษภาคม 2006 คือ นาย โจเซฟ โบเรล
กล่าวโดยสรุป สหภาพยุโรปเป็นการรวมกลุ่มของประเทศในภูมิภาคยุโรปท้้งด้านการมเืง อเสณาฐกิจ และสังคมในลักษณะสภาบันแบบ "เหนือรัฐ" ที่ใหญ่ที่สุดและก้าวหน้าที่สุดในโลก โดยมีวัถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างสันติภาพเป็นการถาวะระหว่งประเทศในภุมิภาคยุโรปภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 รวมไปถึงการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศราฐกิจแก่ประเทศสมาชิกและการมีบทบาทนำของ "อียู" ในประชาคมโลก
กระบวนการถ่ายโอนอำนาจการบริหารจากประเทศสมาชิกไปสู่การเป็นองค์การเหนือรัฐของสหภาพยุโรปมีขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป การรวมกลุ่มอย่างเป็นรูปธรรมเกิดขึ้นครั้งแรกเมือปี 1950 ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยประเทศยุโรปตะวันตก 6 ประเทศ โดยร่ามกันจัดตั้งประชคมถ่านหินและหล็กล้ายุโรป ขึ้น ซึ่งแม้เป้าหมายสูงสุดของการรวมกลุ่มจะมีขึ้นเพื่อผลประดยชน์างด้านการเมือง แต่ได้เลือกวิธีการร่วมกลุ่มทางเศณา๙กิจเป็นตัวนำเพื่อคลายความระแวงสงสัยของประเทศต่างๆ ในเรื่องการสูญเสียอำนาจอธิปไตย การรวมกลุ่มดังกล่าวประสบผลสำเร็จด้วยดี ทำให้ต่อมาในปี 1957 การรวมกลุ่มได้ขยายตัวครอบคลุมภาคเศราฐกิจอื่นๆ โดยแต่ละประเทสได้ลงนาในสนะิสัญญากรุงโรม เพื่อจัดต้งประชาคมเศณาฐกิจยุโรป เพื่อให้เป็นทั้งสหภายสุลกากร และตลาดร่วม กระบวนารรวมกลุ่มประสบความสำเร็จอย่างมากในด้านเศรษฐกิจ
ปี 1990 หลังช่วงสงครามเย็น ฝรั่วเศสและเยอรมันเสนอให้มีการจัดตั้งสหภาพการเมืองของยุโรปเพื่อให้มีการกำหนดนโยบายด้านการต่างประเทศและความมั่นคงร่วมกัน ซึ่งท้ายที่สุด นำไปสู่การลงนามในสนธิสัญญากรุงมสตริดต์ เืพ่อจัดตั้งสหภาพยุโรป ขึ้นในปี 1992 รวมไปถึงการใช้เงินสกุลยูโรร่วมกันด้วย ต่อมา ปี 2007 ประเทศสมาชิก EU ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับปรุงโครงสร้างเพื่อตอบสนองกระบวนการบูรณาการภายใน EU ที่ก้าวหน้าขึ้นและบทบาทที่เพ่มมากขึ้นของ EU ในประชาคมโลก จึงได้ร่วมลงนาในสนธิสัญญาลิสบอน โดยประเทศสมาชิกให้ความเห้นชอบในการสละอำนาจอธิไตยบางส่นให้แก่ความ่วมมือเหนือชาติ ในเรื่อง 1. สหภาพสุลการกร, 2. การออกกฎระเบียบด้านการแข่งขัน 3. นโยบายด้านการเงิน สำหรับรัฐสมาชิก EU ที่ใช้เงินสกุลยูดร 4. การอนุรักษทรัพยากรชีวภาพทางทะเล ภายใต้นโยบายร่วมด้านประมง และ 5. นโยบายการต้าร่วม ทั้งนี้ สนธิสัญญาลิสบอนมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009
ปัจจุบัน EU มีรัฐสมาชิกจำนวน 28 ประเทศ มีระบบตลาดร่วม ระบบภาษีศุลกากรร่วม การใช้เงินสกุลยุดรร่วมกันใน 17 ประเทศสมาชิก และมีศุย์กลางการบริหารอยุ่ที่กรงุบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม
- http://www.apecthai.org/index.php/คลังความรู้/องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่สำคัญ
- http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%9B
- http://www.europetouch.in.th/main/OrganizationDetail/สหภาพยุโรป%20(The%20European%20Union%20-%20EU)=94l84l84l84l35l94l28l97l.htm
- https://kung44.wordpress.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3/
วันศุกร์ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2561
European Union : EU
สหภาพยุโรป เป็นสหภาพทางเศราฐกิจและการเมืองประกอดบ้กวยรัฐสมาชิก 28 ประเทศ ซึ่งสวนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตรมีปะชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุก
ประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อน้ายบุคคลสินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า การเกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต้ฒที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้เงินสกุล "ยูโร"
สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กรเรียก สถาบันของสหภาพยุดรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภาพยุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรป และศาลผุ้สอบบัญชียุโรป
สหภาพยุโรปกำเินดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและหล็กลาแห่งยุโรป และปรชาคมเศราฐกิจยุโรป ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับดดยประเทศอินเนอร์ซกิส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพ่ิมขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท็ สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเืองยุโรปการแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552
สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิต ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายใน 16,477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป้ฯ 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ควาทเท่าเที่ยมกันของอำนาซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์
สูงมาก ตามข้อมูลของโรงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรปได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผุ้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผุ้แทนในสหภาพประชาชาติ องค์การการค้าดลก จี 7 และ จี-20 เนื่องจากมีอิทะิพลทั่วดล จึงมีการอธิบายสหภาพยุดรปเป็นอภิมหาอำนาจ ปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต....
- https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%9B
ประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อน้ายบุคคลสินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า การเกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต้ฒที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้เงินสกุล "ยูโร"
สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กรเรียก สถาบันของสหภาพยุดรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภาพยุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรป และศาลผุ้สอบบัญชียุโรป
สหภาพยุโรปกำเินดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและหล็กลาแห่งยุโรป และปรชาคมเศราฐกิจยุโรป ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับดดยประเทศอินเนอร์ซกิส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพ่ิมขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท็ สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเืองยุโรปการแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552
สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิต ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายใน 16,477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป้ฯ 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ควาทเท่าเที่ยมกันของอำนาซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์
สูงมาก ตามข้อมูลของโรงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรปได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผุ้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผุ้แทนในสหภาพประชาชาติ องค์การการค้าดลก จี 7 และ จี-20 เนื่องจากมีอิทะิพลทั่วดล จึงมีการอธิบายสหภาพยุดรปเป็นอภิมหาอำนาจ ปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต....
- https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%9B
วันศุกร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2560
ASEAN new generation Part 2
นูร์ ฮุดา อสมาอิล นักวิจารความขัดแย้งรุ่นใหม่ชาวอินโดนีเซีย
อินโนีเซีย : การก่อตัวของกลุ่มหัวรุนแรง กับมุมมองใหม่เพื่อต่อสู้ปัญหาก่อการร้ายจากระดับรากหญ้า
อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซี และสิงคโปร์ คือกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่พบความเคลื่อนไหวของคนรุ่นใหม่ที่เดินทางไปร่วมรบกับกลุ่มหัวรุนแรงในตะวันออกกล่างอย่างต่อเนื่อง และอินโดนีเซียคืออีประเทศที่กำลังเผชิ(ญกับความขักแย้งทาง เชื้อชาติ ศาสนรา และการก่อการร้าย
นูร์ ฮุดา อสมาอิล คือนักวิจัยด้านความขัดแย้งรุ่นให่ช่าว อินโนีเซีย ที่เลือกที่จะแก้ไขปัญหาความคิดรุนแรงและากรก่อการร้ายในภูมิภาคนี้ด้วย มุมมองและวิธีการใหม่
การสัมผัสกับความตายและความรุนแรงที่เกิดขึ้นในภูมิภาคนี้ทำให้อิสมาอิลตั้งคำถามต่อสิ่งที่เกิดขึ้นว่า หากปัญหาเดิม ๆ ยังคงเกิดขึ้น แสดงว่าวิธีการแก้ไขปัญหาที่ใช้อยุ่อาจจะไม่ใช่ทางออก จากข้อสัวงเกตนี้ทำให้เขาตัดินใจไปศึกษาต่ด้านความมั่นคงและความขัดแย้ง แล้วกลับมาตั้งสถาบันวิจัยด้านสันติภาพและการแก้ปัญหาการร้ายในอินโดนีเซียน และเริ่มวิจัยและค้นคว้าถึงสาเหตุที่คนธรรมดาตัดสินใจเข้าร่วมกลุ่มหัว รุนแรง จนท้ายที่สุดนำปสู่การลงมือก่อเหตุ กระทั่งเขาพบค่าตอบว่า ไม่มีใครเกิดมาเป็นผุ้ก่อการร้าย
การค้นคว้าและวิจัยข้างต้นทไใ้กเขาพยายามแก้ปัญหาการก่อการร้ายแบบล่างสู่บน คือการเยียวยาความคิดของคนที่ก่อเหตุรุนแงให้กลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้อีกค้ง และงเสริมสถาบันหน่วยล็กที่สุดอย่างครอบครัวและชุมชนให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา
"ตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา ทีมงานของเราได้ลงพื้นที่ไปศึกษาใน 32 เมืองทั่วทุกหมู่เกาะของอินโนีเซีย รวมไปถึงผุ้มีแนวคิดรุนแรงหลายร้อยคนทั่วมาเลเซียและสิงคโปร์ และพบว่าหนทางที่ดีที่สุดในการป้งกันและเยียวยาความคิดรุนแรงคือการเข้าใจที่มาที่ไปของความคิดพวกเขาผ่านมการสัมผัสและพุดคุย รวมถึงสังเกตุกิจกรรมที่พวกเขาทำ
"ผมไม่ได้เข้าไปแล้วบอกให้พวกเขาเปลี่ยนอุดมการณืหรือความเชื่อ เพราะพวกเขาจะยิ่งต่อต้านทันที่ แต่เราพยายามเข้าใจกิจกรรมี่พวกเขาทำ รวมถึงทำให้ครอบครัวและชุมชนตระหนักว่านี้คือปัญหาของพวกเขาด้วย ซึ่งเป้นการแก้ไขปัญหาจากระดับรากหญ้า"
"ผมจำแนกการเข้าร่วมออกเป็น 3 สาเหตุ หนึ่ง ผุ้ก่อการร้ายที่ตัดสินใจเข้าร่วมหรือก่อเหตุเพราะอุดมกาณ์ สอง ผุ้ก่อการร้ายที่ตัดสินใจลงมือเพราะต้องการแก้แค้น ซึ่งสาเหตุยนี้กำลังมีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ " ซึ่งที่ผ่านมาเขาได้เยียวยาความคิดของนักรบกลุ่มญิฮัดบางคนแล้ว
จากการพูดคุยกับอิสมาอิล เราสามารถกล่าวได้ว่า เขาเลื่อกที่จะเข้าใจ โครงสร้เางของปัญหา ก่อนที่จะลงเมือแก้ไขปัญหาก่อการ้ายที่เกิดขึ้น ซึ่งขณะนี้กำลังลุกลามบานปลายไปทุกภูมิภาคของโลก และครอบคลุมไปทั้งบริบททางการเมือง วัฒนธรรม และศาสนา
"ผมอย่างผลักดันแนวทางนี้ในระดับภูมิภาคและนานาชาติในภายภาคหน้า ขณะที่อาเซียนถูกมองว่าเป็นภูมิภาคแห่งความหวัง เรพาะเรายังไม่เผชิญกับสงครามรุนแรงเท่ากับภูมิภาคอื่น การที่พ้นที่นี้กลายเป็นพื้นที่เฝ้าระวังที่สำคัญนั้นจึงหมายความว่าโลกกำลังเผชิญปัญหานีอย่างแท้จริง
ในปี 2016 กรุงจากร์ตาของอินโดนีเซียเจอกับเหตุดจมตีด้วยระเบิดฆ่าตั้วตาย 6 ครั้ง และเหตุดจมตีล่าสุดในฟิลิปปินส์ ที่มีผุ้เสียชีวิตไป 22 คน ดดยผุ้ลงมือได้ประกาศสวามิภักดิ์ต่อกลุ่ม ไอ เอส
เมียนมา : สร้าง "การศึกษา" เสาหลักคานอำนาจรัฐที่ไม่เป้นธรรม
ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนและการใช้อำนาจในทางที่ผิดของรัฐ คือปัญหาที่เกือบทุกประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้เผชิญร่วมกันมาเป้นเวานราน และส่งผลกระทบต่อ
กระบวนการสร้างประชาธิไตยของแต่ละประเทศจนเกิดภาวะชะงัก ชะลอ หรือสะดุด ซึงบทบาทของ "องค์กรอิสระ" มีความสำคัญอย่างยิง เมื่อประชาชนเร่ิมตั้งคำถามกับความชอบธรรมของรัฐ
"ลิน เต็ต เน" คือนักศึกษาชาวเมียนมาที่ตัดสินใจก่อตั้งสหพันธ์นักศึกษาเมียนมา และ โครงการสนับนุการศึกษาทางเลือกใหกับเยาวชนในเมียนมา ก่อนหน้านี้เขาถูกรัฐบาลทหารเมียนมจับกุม 2 ครั้งครั้งแรกในปี 2007 จากการร่วมประท้วงเพื่อต่อต้านรัฐบาลทหารเมียนมา และครั้งที่สองในปี 2015 จากการประท้วงต่อต้าน พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ (เร่ิมมีการบังคับใช้ในปี 2004) ที่ถูกนักศึกษาและภาคประชาสังคมมองว่ารัฐบาลทหารใช้อำนาจเบ็ดเสร็จในการควบคุมระบอบการศึกษา ไม่เปิดโอกาสให้ครุนักศึกษ และภาคประชาสังคมเข้าไปมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อหลักสูตรและเนื้อหาวิชา ที่พวกเขามองว่ารัฐบาลละเลยวัฒนธรรมและภาษาของกลุ่มชาติพันธ์ุอื่นๆ รวมถึงปิดกั้นสิทธิเสรีภาพกาก่อตั้งองค์กรนักศึกษาอย่างเป็นอิสระ
"เผด็จการทหารต้องการควบคุมทุกภาคส่วน เพราะต้องการให้อำนาจยังอยุในมือพวกเขาพวกเขาจึงพยายามล้างสมองคนรุ่นใหม่อย่างเป้ฯระบบผ่านนโยบายการศึกษา อย่างเชนส่ิงที่เราเรียนในห้องเรียน หรือการรวมตัวของนักศึกษ และน่คือสาเหตุว่าทำไมพวกเขาจึงต้องมี พ.ร.บ.การศึาษาแห่งชาติ มีรวมอำนาจไว้ที่สูนย์กลาง ซึค่งทำให้พวกเขาควบคุมกฎหมายเกี่ยวกับระบบการศึกษาได้เบ็ดเสร็จ และการศึกาษคือส่วนสำคัญที่จะทำให้ทหารสามารควบคุมประทศได้ง่ายขึ้น"
แม้วาวันนี้เมียนมาจะเปลี่ยนมาสุ่ระบอบประชาธิปไตยที่นำโยพรรค "เนชั่น ลีค ออฟ เดโมแครต" อำนาาจของทหารยังคงแทรกซึมผ่านรัฐรรมนูญ และเนื้อหาบางส่วนใน พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติฉบับนี้ที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข
"รัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2008 ที่อำนาจของทหารยังแทรกแซงอยู่ในการเมือง ทำให้รัฐบาลของพรรค NLD ยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนอะไรไ้ดมาก และเชื่อว่าการปฏิรูปการศึกษานั้นเป็นเรื่องยากเกนไปทีจะเปลียนในตอนนี้"
เมื่อประชาชนไม่อาจฝากความหวังทั้งหมดไว้กับนโยบายและการปฏิบัตของรัฐ การผลักดันความเปลี่ยนแปลงด้วยภาคประชาชนจึงสำคัญ และนี้คือสาเหตุที่ลินเลือกที่จะผลักดันการศึกษาต่อผ่าน "เดอะ วิงส์ แคปปิซิตั้ บิวดิ้ง สคูล" โครงการสนับสนุนการศึกษาทางเลือกให้กับเยาชนในเมียนมา เรพาะเขาเชื่อว่าการศึกษาจะช่วยสร้างสันตุภาพและสังคมประชาธิปไตยขณะที่สหพัฯธ์นักศึกาาเมียนมาที่เขาได้ก่อตั้งนั้นยังคงเกินหน้าต่อสู่เพื่อให้รัฐบาลเปลี่ยน พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติฉบับนี้ โดยมีเป้าหมายให้คำนึงถึงภาษาและวัฒนธรรมขอวกล่มุชาติพันธุ์อื่นๆ มากขึ้น รวมถึงให้อำนาจกับภาคการศึกษาได้เข้าไปมีบทบาทในการกำหนดลักสูตและเนื้อหาวิชา
"ประเทศที่มีคุณภาพการศึกษาต่ำ ประชาธปิไตยไม่สามารถงอกเงยได้ การศึกษาควรถูกพัฒนาให้เป้ฯพื้นที่ที่สร้างวัฒนธรรมแห่งประชาธิปไตยให้กับประชาชน
กัมพูชา : ต่อกรภาครับด้วยการเปิพื้นที่การแสดงออกและให้ความรุ้ด้านสิทธิมนุษยชน
สุภาพ จัก ชาวกัมพูชา วัย 29 ปี เลือกที่จะชับเคฃื่อเรื่องสิทธิมนุษยชนในกัมพูชาผ่านองค์กรอิสระเช่นเดียวกัน เธอดำรงตำแหน่งผู้อำนวยกรบริหารศูนย์สิทธิมนุษยชนแห่งกัมพุชา เืพ่อต่อสู้และลบล้างความกลัวในการแสดงออกทงความคิด โดยเฉพาะการวิพากวิจารณ์การใช้อำนาจของรัฐบาลเนื่องจากกัมพุชาเป้นอีกประเทศที่ถุกปกครองโดยพรรค "คอมโบเดียน พีเพิล ปาตีย์" มาตั้งแต่ปี 1979 หรือเป็นเวลาทั้งหมด 38 ปี การเลือกต้้งที่เกิดขึ้นตลอกเวลาที่ผ่านมาจึงถภูกทั้งประชาชนและต่างชาติวิพากษวิจารณืว่าเป้นการเลือกตั้งที่ไม่โปร่งในและไม่ยุติธรรม
"การที่รัฐบาลกัมพุชาจำกัดเสรีภาพในการแสดงออกและการรวมตัวของภาคประชาสังคมรวมถึงกวาดล้างและจับกุมนักเคลื่อนไหวได้สร้งบรรยากาศแห่งความหวาดกลัว สิ่งนี้ทำให้นักเคลื่อนไหวหลายคนถอดใจหรือหวาดกล้วที่จะรณรงค์เรื่องนี้" ซึ่งกัมพูชาได้ออกกฎหมายที่สามารถสั่งยุบองค์กรอิสระ และห้ามทำกิจกรรมเคลื่อไหวต่างๆ
กัมพุชากำลังจะมีการเลื่อกต้งทั่วไปในปี 2018 ซึ่งแน่นอนว่ารัฐบาลกัมพุชาพยายามรักษาอำนาจด้วยการจำกัดเสรีภาพการแสดงออก จักได้พยายามต่อสู้ให้กัมพูชามีการเลื่อกตั้งที่มีคุณภาพให้ได้มากที่สุด้วยการเปิดโอากสให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง เพราะจะเป็น "รากฐาน" สำคัญที่นำไปสู่การเลื่อกตั้งที่โปร่งใสและยุติธรรม
"องค์กรเราจัดรายการวิทยุ ที่เปิดโอกาสให้นักการเมืองจากทุกพรรคได้มานำเสนอนโยบายและถกเถียงกับผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั่วประเทศ เพื่อเปิดพื้นที่ให้กับฝ่ายอื่นๆ นอกเหนือจากฝ่ายรัฐบาล รายการนี้กระจายเสียงไปทั่วประเทศและได้รับการตอบรับที่ดีมาก นอกจากนี้เรายังจะส่งเจ้าหน้าที่ไประจำการตามคูหาเลือกตั้งเพื่อป้องกันการทุจริต
ภารกิจและกลยุทธ์ของศูนย์สิทธิมนุษยชนแห่งกัมพุชาคือากรสร้างสังคมที่ตระหนักและเคารพต่อสิทธิมนุษยชนโดยการปูพื้นสิ่งเหล่านี้จากรากฐาน และเดินหน้าทำวิจัยสะท้อนการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกัมพูชา ทั้งเรื่องการครอบครองที่ดิน สิทธิของชนกลุ่มนอยในกัมพุชา ผุ้หยิ่ง ไปจนถึงกลุ่ม LGBT
"เราให้ข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในชุมชน และยังส่งเสริมให้พวกเขาร่วมสร้างความเปลี่ยนแปลงด้วยการแนะแนววิธีการ กลยุทธ์ และเครื่องมือที่จะสามารถขับเคลื่อนเรียองต่างๆ ได้ พวกเขาจะตระหนักตอเรืองการละเมิดสิทธิมนุษยชนมากขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การเคลื่อนไหวที่มีพลังมากขึ้น
"ท้ายที่สุด เมื่อสิทะิมนุษยชนได้รับการเคารพ ประชาธิปไตยที่เข้มแข็งและยังยืนจะตามมา"
นี่คือเสียงจากคนรุ่ใหม่ 5 คน 5 ประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเียงต้ที่สะท้อนว่า ภายใต้ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและศาสา เราต่างเผชิญกับความ ท้าทายและปัญหารที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน
เสียงสะท้อนเหล่านี้ไม่เพียงทำให้เราเห็นความจริงและปัญหาชัดขึ้น แต่ยังช่วยส่งเสียงของประชาชนให้ดังและไกลออกไปจนถึงจุดที่ฐานเสียงของประชาชนซึ่งเป็นหัวใจของประชาธิปไตยเ้มแข็งและหนักแน่นมากพอ...https://thestandard.co/news-world-asean-democracy-human-right-education-and-terrorism/
"
ASEAN new generation
ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เมื่อสำรวจความเป้นไปในแต่ละภูมิภาคทั่วโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้คือภูมิภาคิที่หลายๆ ประเทศอยากจะกระชับความสัมพันธ์และขยายความร่วมมือ เพราะมองว่่าเป้นภูมิภาคแห่งความหวัง เนื่องจากปลดสงครามกลาางเมืองรุนแรงอย่างที่กำลังเกิดขึ้นในตะวันออกกลาง และยังเป็นภูมิภาคที่ขับเคลื่อนด้วยความรู้และพลังใหม่ๆ จนเป็นเขตเศราฐกิจน่าจับตามอง
แต่ภายใต้พลังใหม่ๆ ภูมิภาคนี้กำลังเผชิญปัญหาด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน ความเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติและชาติพันธุื การใช้อำนาจในทางที่ผิดของรัฐบาล และสิทะิเสรีภาพในการแสดงออกที่ถูกลิดรอน มีท้งประเทศที่กำลังเป้นประเทศประชาธิปไตยใหม่ ประเทศที่ประชาธิไตยยัคงสะดุด และประเทศที่ประชาธิปไตยยังถูกตั้งคำถาม แม้จะม่การเลือกตั้งเป้นประจำก็ตามรวมถึงยังเป็นภูมิภาคที่พบว่ามีคนเดินทางไปร่วมรบกับกลุ่มหัวรุนแรงอย่างต่อเนื่องจนกลายเป้นอีกพื้นที่ที่เฝ้าระวังกลุ่มก่อการร้ายที่สำคัญ
สิ่งเหล่านนี้คือความท้าทายที่ภูมภาคเรากำลังเผชิญร่วมกัน และ THE STANDARD เลือกที่จะสะท้อนความเป็นไปที่เกิดขึ้นผ่านการพูดคุญกับคนรุ่นใหม่ 5 ประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซย เมียนมา และกัมพุชา ที่เลือกเผชิญหน้าความท้าทายเหล่านี้ผ่านหมวกแต่ละใบที่พวกเขาสวม ตั้งแต่ นักข่าว นักวิจัย นักรณรงค์ ไปจนถึงนักการเมือง...
เคิร์สเทน ฮาน นักขาวออนไลน์รุ่นใหม่ของสิงคโปร์
สิงคโปร์ : "เสียงทางเลือก" ในวันที่ พ.ร.บ.การออกอากาศ กดทบการมีส่วนร่วมของประชาชน
สิงคโปร์และมาเลเซีย คือสองประเทศที่ถูกปกครองโดยพรรคกาการเมืองเพียงพรรคเดียวมาอย่างยาวนาน ขณะที่สิงคโปร์ถูกปกครองโดยพรรค People's Action Party (PAP) มาตั้งแต่เป็นเอราชจากอังกฤษ มาเลเซยถูกปกครองโดยพรรค United Malas Nation Organisation (UMNO) ตั้งแต่เป็นเอกราชจากอังกฤษเช่นกัน จนประชาธิไตยของสองประเทศนี้ถูกตั้งคำถามจากการที่มีระบบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาด ถึงแม้จะมีการเลือกตั้งเกิดขึ้นเป็นประจำก็ตาม หรือท่นักวิชาการ อธิบายลักษณะระบอบการเมืองของสิงคโปร์และมาเลเซียว่่าเป้นประชาธิปไตยครึ่งใบ ระบอบการเมืองของสิงคโปร์และมาเลเซียสะท้อนไปถึงเรื่องของการเมืองแบบอัตลักษณ์ ที่ส่งผลใก้สองประเทศนี้เผชิญกับความเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติภายในประเทศ
การมี "เสียงทางเลือก" จึงสำคัญในระบอบประชาธิปไตย โดยเฉาพะในเวลาที่สิทธิในการออกเสียงของผระชาชนหรือ่ฝ่ายตรงข้ามรัฐบาลถูกลิดรอน ซึ่ง เคิร์สเทน ฮาน เลือกที่จะป็นกระบอกเสียงนี้ผ่านบทบาทของนักข่าว เธอได้สะท้อนปัญหาเรื่องการลิดรอนเสรีภาพในการแสดงออกของประชาชนและความเหลื่อมล้ำทางชาติพันธ์ในสิงคโปร์ โดยเฉพาะเช้อชาติมาเลย์และอินเดียวทีนับว่าเป้นคนกลุ่มน้อยในสิงคโปร์ จนรายงานข่าวของเธอหลายชิ้นถูกเผยแพร่ผ่านเสื่อต่างชติ เพราะเธอเชื่อว่าข้อมูลที่เพียงพอและหลากหลายจะสร้างสังคมแห่งการถกเถียงและคิดวิเคราะห์
"ฉันไม่คิดว่าสิงคโปร์ต้องการ คนใดคนหนึ่ง ที่จะมาสร้างความเลี่ยนแปลง ฉันคิดว่ามันจะมีความมหยมากกว่าหากมีชาวสิงคโปร์ตระหนักสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศมากขึ้นเรื่อยๆ และมีการต้งคำถามกับสิ่งที่เกิดขึ้น
"ฉันมองว่าการคิดวิเคราะห์นั้นแตกต่างจากการเยาะเย้ยถากถาง แต่คือการเปิดกว้างต่อคำวิพากษืวิจารณ์ เพราะเราไม่สามารถที่จะฝากความหวังไวกับใครคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มคนเพียงกลุ่มเดียวได้ แต่มันคอกาเรเปิดโอกาสให้คนเข้ามามีส่วนร่วมมกที่สุด"
เครื่องมือหนึ่งที่รัฐบาลสิงคโปร์ใช้เพื่อกดทับการมีส่วรวมของประชาชน คือ พ.ร.บ. การออกอากาศที่ควบคุมเนื้อหาที่เผยแพร่บนสื่อต่างๆ และจับกุมนักข่าวที่เผยแพร่เนื้อหาที่รัฐมองว่าเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ จนกฎหมายฉบับนี้ถูกวิพากษ์วิจารณืจากทั้งในและต่างประเทศว่ารัฐบาลสิงคโปร์ลิดรอนสิทธิปละเสรีภาพของฝ่ายตรงข้าม รวมถึงประชาชนเองในการตรวจสอบและวิพากษืวิจารณืรัฐบาลของพรรค ได้เต็มที่ ซึ่งแท้จริงแล้วสิ่งนี้เป็น "บรรทัพฐาน" ที่สำคัญในสังคมประชาธิปไตย จนองค์กรผุ้สื่อข่าวไร้พรมแดนจัดอันดับเสรีภาพสื่อของสิงคโปร์อยู่ที่อันดับ 151 จาก ทั้งหมด 180 ประเทศ
ฮาน มองว่า หัวใจของการเป้ฯนักข่าวนั้นไม่ใช่เีพยงแค่การวิพากษืวิจารณ์รัฐบาล แต่คือการคำ้จุนหลักการแลยึดถือคุณค่าในสังคมประชาธิปไตย
"ความน่าเชื่อถือและความโปร่งใสคือสิ่งสำคัญในระบอบการปกครอง เพราะประชาชนมีสิทธิที่จะรู้ว่าคนที่อยู่ในอำนาจนั้บริหารจัดการกับเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตพวกเขาอย่างไร หากทุกอย่างเป็นไปด้วยดี สิ่งเหล่านีก็จะช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้กับรัฐบาล แต่สิ่งเหล่านี้ก็จะสะท้อนออกมาเช่นกันหากมีความไม่ชอบมาพากลเกิดขึ้น และนี่คือสาเหตุว่าทำไมเราถึงจำเป็นต้องมีองค์กรอิสระ ไม่ว่าจะเป้นสื่อมวลชนหรือภาคส่วนอื่นๆ ก็ตาม"
มาถึงวันนี้ แม้ พ.ร.บ.การออกอากาศจะยังถุกบังคับใช้อยู่ในสิ.คโปร์ แต่เสียงของคนรุ่นใหม่ในสิงคโปร์ก็เร่ิมสะท้อนก้องดังมากขึ้นผ่านสื่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาพยนตร์หรือสื่อออนไลน์ และสิ่งที่สะท้อนออกมาในการเลือกตั้งทั่วไปของสิคโปร์ครั้งล่าสุดในปี 2015 ที่พรคการเมืองอื่นๆ เร่ิมมีพื้นที่และได้รับคะแนนเสียงมากขึ้น...
ดีอานา ซอฟยา นักการเมืองผู้หญิงรุ่นใหม่ในพรรคผ่ายค้าน มาเลเซีย
มาเลเซีย : ความกลัวของประชาขน - คอร์รัปชั่น ของนักการเมืองภายใตระบบการเมืองพรรคเพียวแบบผุกขาด
เช่นเดียวกับ ดีอานา ซอฟยา หญิงสาวชาวมาเลเซีย วัย 29 ปีเลือกจะเป็น "เสียงทางเลือก" ท่ามกลางกลุ่มอำนาจที่ปกครองประเทศมาอย่างยาวนานผ่านบทบาทของัการเมืองผุ้หญิงรุ่นใหม่ในพรรฝ่ายค้าน ที่สมาชิกพรรคมีความหลาหลายทางเชื้อชติมากที่สุด หลังจากมาเลเซียเผชิญกับปัญหาระบบพรรคการเมืองผุกขาดคล้ายคลึงกับสิงคโปร์ และควาเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติระหว่างมาเลย์ จีน และอินเดีย
"ระบบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาดสร้างความกลัวให้กับประชาชน ประชาธิปไตยไม่สามารถทำงานได้อย่างมประสิทธิภาพ หากระบอบกาเรมืองออแบบให้พรรคโดพรรคหนึ่งเป็นผุ้ชนะเสมอโดยใช้ประเด็นเรื่องเชื้อชาติมาสร้างความหวาดกลัว และระบบนี้ทำให้มีคนเพียงกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านันที่ได้รับผลประดยชน์หรือเลือกที่เจะเข้าข้างรัฐบาลอย่างไม่สนใจความถูกต้องเพราะต้องการผลประโยชน์จากรัฐบาลเช่นกัน และสิงที่นำไปสู่การขาดสังคมที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด และท้ายที่สุดเราจะได้รับฐาลที่ทำเพื่อตัวเองมากว่าประชาชน" ซึ่งปีที่แล้วมีรายงานข่าวที่พบว่ามีการโอนเงินจากองทุนจำนวน 900 ลาดอลลาร์สหรัฐ เข้าบัญชีส่วนตัวของประธานาธิบดี นาจิบ ราซัด
ระบบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาดในมาเลเซียยังนำมาสูปัญหาความไม่เท่าเที่ยมทางเชื้อชาติ เรพาะว่ทกรรมเรื่องเกี่ยวกับเชื้อชาติเป็นอีกปัจจัยที่ส่งผลให้พรรคการเมือง "อันโน่" ปกครองประเทศมายาวนาน ซึ่งดีอานามองว่าการมี ส.ส. ที่เป้นตัวแทนของแต่ละเชื้อชาติให้ได้มากที่สุดนั้น แท้จริงไม่ใช่คำตอง แต่ตัวแทนเหล่านั้นจะต้องเป็นตัวแทนของประชาชนทุกคนโดยไม่จำกัดเชื้อชาติหรือสีผิว
"ฉันคิดว่าวิธีคิดแบบนี้มันไม่ได้ตอบโจทย์อีกต่อไป เชื้อชาติของ ส.ส. ไม่ควรจะเป้นปัจจัยด้วยซ้ำ เพราะตราบใดที่ ส.ส. นั้นเป้นตัวแทนและทำงานเพื่อประชาชนชาวมาเลเซียทุกเชื้อชาติทุกสีผิว และไม่ว่าประชาชนคนนั้นจะมีความเชื่อแบบไหนก็ตาม ตราบใดที่ผุ้ที่ถุกเลือกตั้งเข้าไปทำงานนั้นเป้นกระบอกเสียงให้กับทุกคนอย่างเป็นธรรม รับฟังประชาชนถึงความลำบากและความต้องการของพวกเขา เสียงของทุกคนก็จะได้รับการรับฟังอย่างเท่าเที่ยมเอง"
การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 14 ที่จะเกิดขึ้นในปี 2018 จะเป็นบททดสอบครั้งสำคัญของการเมืองมาเลเซียที่เผชิญกับระบอบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาดประเทศมาอย่างยานาน..to be contineus
https://thestandard.co/news-world-asean-democracy-human-right-education-and-terrorism/
แต่ภายใต้พลังใหม่ๆ ภูมิภาคนี้กำลังเผชิญปัญหาด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน ความเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติและชาติพันธุื การใช้อำนาจในทางที่ผิดของรัฐบาล และสิทะิเสรีภาพในการแสดงออกที่ถูกลิดรอน มีท้งประเทศที่กำลังเป้นประเทศประชาธิปไตยใหม่ ประเทศที่ประชาธิไตยยัคงสะดุด และประเทศที่ประชาธิปไตยยังถูกตั้งคำถาม แม้จะม่การเลือกตั้งเป้นประจำก็ตามรวมถึงยังเป็นภูมิภาคที่พบว่ามีคนเดินทางไปร่วมรบกับกลุ่มหัวรุนแรงอย่างต่อเนื่องจนกลายเป้นอีกพื้นที่ที่เฝ้าระวังกลุ่มก่อการร้ายที่สำคัญ
สิ่งเหล่านนี้คือความท้าทายที่ภูมภาคเรากำลังเผชิญร่วมกัน และ THE STANDARD เลือกที่จะสะท้อนความเป็นไปที่เกิดขึ้นผ่านการพูดคุญกับคนรุ่นใหม่ 5 ประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซย เมียนมา และกัมพุชา ที่เลือกเผชิญหน้าความท้าทายเหล่านี้ผ่านหมวกแต่ละใบที่พวกเขาสวม ตั้งแต่ นักข่าว นักวิจัย นักรณรงค์ ไปจนถึงนักการเมือง...
เคิร์สเทน ฮาน นักขาวออนไลน์รุ่นใหม่ของสิงคโปร์
สิงคโปร์ : "เสียงทางเลือก" ในวันที่ พ.ร.บ.การออกอากาศ กดทบการมีส่วนร่วมของประชาชน
สิงคโปร์และมาเลเซีย คือสองประเทศที่ถูกปกครองโดยพรรคกาการเมืองเพียงพรรคเดียวมาอย่างยาวนาน ขณะที่สิงคโปร์ถูกปกครองโดยพรรค People's Action Party (PAP) มาตั้งแต่เป็นเอราชจากอังกฤษ มาเลเซยถูกปกครองโดยพรรค United Malas Nation Organisation (UMNO) ตั้งแต่เป็นเอกราชจากอังกฤษเช่นกัน จนประชาธิไตยของสองประเทศนี้ถูกตั้งคำถามจากการที่มีระบบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาด ถึงแม้จะมีการเลือกตั้งเกิดขึ้นเป็นประจำก็ตาม หรือท่นักวิชาการ อธิบายลักษณะระบอบการเมืองของสิงคโปร์และมาเลเซียว่่าเป้นประชาธิปไตยครึ่งใบ ระบอบการเมืองของสิงคโปร์และมาเลเซียสะท้อนไปถึงเรื่องของการเมืองแบบอัตลักษณ์ ที่ส่งผลใก้สองประเทศนี้เผชิญกับความเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติภายในประเทศ
การมี "เสียงทางเลือก" จึงสำคัญในระบอบประชาธิปไตย โดยเฉาพะในเวลาที่สิทธิในการออกเสียงของผระชาชนหรือ่ฝ่ายตรงข้ามรัฐบาลถูกลิดรอน ซึ่ง เคิร์สเทน ฮาน เลือกที่จะป็นกระบอกเสียงนี้ผ่านบทบาทของนักข่าว เธอได้สะท้อนปัญหาเรื่องการลิดรอนเสรีภาพในการแสดงออกของประชาชนและความเหลื่อมล้ำทางชาติพันธ์ในสิงคโปร์ โดยเฉพาะเช้อชาติมาเลย์และอินเดียวทีนับว่าเป้นคนกลุ่มน้อยในสิงคโปร์ จนรายงานข่าวของเธอหลายชิ้นถูกเผยแพร่ผ่านเสื่อต่างชติ เพราะเธอเชื่อว่าข้อมูลที่เพียงพอและหลากหลายจะสร้างสังคมแห่งการถกเถียงและคิดวิเคราะห์
"ฉันไม่คิดว่าสิงคโปร์ต้องการ คนใดคนหนึ่ง ที่จะมาสร้างความเลี่ยนแปลง ฉันคิดว่ามันจะมีความมหยมากกว่าหากมีชาวสิงคโปร์ตระหนักสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศมากขึ้นเรื่อยๆ และมีการต้งคำถามกับสิ่งที่เกิดขึ้น
"ฉันมองว่าการคิดวิเคราะห์นั้นแตกต่างจากการเยาะเย้ยถากถาง แต่คือการเปิดกว้างต่อคำวิพากษืวิจารณ์ เพราะเราไม่สามารถที่จะฝากความหวังไวกับใครคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มคนเพียงกลุ่มเดียวได้ แต่มันคอกาเรเปิดโอกาสให้คนเข้ามามีส่วนร่วมมกที่สุด"
เครื่องมือหนึ่งที่รัฐบาลสิงคโปร์ใช้เพื่อกดทับการมีส่วรวมของประชาชน คือ พ.ร.บ. การออกอากาศที่ควบคุมเนื้อหาที่เผยแพร่บนสื่อต่างๆ และจับกุมนักข่าวที่เผยแพร่เนื้อหาที่รัฐมองว่าเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ จนกฎหมายฉบับนี้ถูกวิพากษ์วิจารณืจากทั้งในและต่างประเทศว่ารัฐบาลสิงคโปร์ลิดรอนสิทธิปละเสรีภาพของฝ่ายตรงข้าม รวมถึงประชาชนเองในการตรวจสอบและวิพากษืวิจารณืรัฐบาลของพรรค ได้เต็มที่ ซึ่งแท้จริงแล้วสิ่งนี้เป็น "บรรทัพฐาน" ที่สำคัญในสังคมประชาธิปไตย จนองค์กรผุ้สื่อข่าวไร้พรมแดนจัดอันดับเสรีภาพสื่อของสิงคโปร์อยู่ที่อันดับ 151 จาก ทั้งหมด 180 ประเทศ
ฮาน มองว่า หัวใจของการเป้ฯนักข่าวนั้นไม่ใช่เีพยงแค่การวิพากษืวิจารณ์รัฐบาล แต่คือการคำ้จุนหลักการแลยึดถือคุณค่าในสังคมประชาธิปไตย
"ความน่าเชื่อถือและความโปร่งใสคือสิ่งสำคัญในระบอบการปกครอง เพราะประชาชนมีสิทธิที่จะรู้ว่าคนที่อยู่ในอำนาจนั้บริหารจัดการกับเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตพวกเขาอย่างไร หากทุกอย่างเป็นไปด้วยดี สิ่งเหล่านีก็จะช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้กับรัฐบาล แต่สิ่งเหล่านี้ก็จะสะท้อนออกมาเช่นกันหากมีความไม่ชอบมาพากลเกิดขึ้น และนี่คือสาเหตุว่าทำไมเราถึงจำเป็นต้องมีองค์กรอิสระ ไม่ว่าจะเป้นสื่อมวลชนหรือภาคส่วนอื่นๆ ก็ตาม"
มาถึงวันนี้ แม้ พ.ร.บ.การออกอากาศจะยังถุกบังคับใช้อยู่ในสิ.คโปร์ แต่เสียงของคนรุ่นใหม่ในสิงคโปร์ก็เร่ิมสะท้อนก้องดังมากขึ้นผ่านสื่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาพยนตร์หรือสื่อออนไลน์ และสิ่งที่สะท้อนออกมาในการเลือกตั้งทั่วไปของสิคโปร์ครั้งล่าสุดในปี 2015 ที่พรคการเมืองอื่นๆ เร่ิมมีพื้นที่และได้รับคะแนนเสียงมากขึ้น...
ดีอานา ซอฟยา นักการเมืองผู้หญิงรุ่นใหม่ในพรรคผ่ายค้าน มาเลเซีย
มาเลเซีย : ความกลัวของประชาขน - คอร์รัปชั่น ของนักการเมืองภายใตระบบการเมืองพรรคเพียวแบบผุกขาด
เช่นเดียวกับ ดีอานา ซอฟยา หญิงสาวชาวมาเลเซีย วัย 29 ปีเลือกจะเป็น "เสียงทางเลือก" ท่ามกลางกลุ่มอำนาจที่ปกครองประเทศมาอย่างยาวนานผ่านบทบาทของัการเมืองผุ้หญิงรุ่นใหม่ในพรรฝ่ายค้าน ที่สมาชิกพรรคมีความหลาหลายทางเชื้อชติมากที่สุด หลังจากมาเลเซียเผชิญกับปัญหาระบบพรรคการเมืองผุกขาดคล้ายคลึงกับสิงคโปร์ และควาเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติระหว่างมาเลย์ จีน และอินเดีย
"ระบบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาดสร้างความกลัวให้กับประชาชน ประชาธิปไตยไม่สามารถทำงานได้อย่างมประสิทธิภาพ หากระบอบกาเรมืองออแบบให้พรรคโดพรรคหนึ่งเป็นผุ้ชนะเสมอโดยใช้ประเด็นเรื่องเชื้อชาติมาสร้างความหวาดกลัว และระบบนี้ทำให้มีคนเพียงกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านันที่ได้รับผลประดยชน์หรือเลือกที่เจะเข้าข้างรัฐบาลอย่างไม่สนใจความถูกต้องเพราะต้องการผลประโยชน์จากรัฐบาลเช่นกัน และสิงที่นำไปสู่การขาดสังคมที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด และท้ายที่สุดเราจะได้รับฐาลที่ทำเพื่อตัวเองมากว่าประชาชน" ซึ่งปีที่แล้วมีรายงานข่าวที่พบว่ามีการโอนเงินจากองทุนจำนวน 900 ลาดอลลาร์สหรัฐ เข้าบัญชีส่วนตัวของประธานาธิบดี นาจิบ ราซัด
ระบบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาดในมาเลเซียยังนำมาสูปัญหาความไม่เท่าเที่ยมทางเชื้อชาติ เรพาะว่ทกรรมเรื่องเกี่ยวกับเชื้อชาติเป็นอีกปัจจัยที่ส่งผลให้พรรคการเมือง "อันโน่" ปกครองประเทศมายาวนาน ซึ่งดีอานามองว่าการมี ส.ส. ที่เป้นตัวแทนของแต่ละเชื้อชาติให้ได้มากที่สุดนั้น แท้จริงไม่ใช่คำตอง แต่ตัวแทนเหล่านั้นจะต้องเป็นตัวแทนของประชาชนทุกคนโดยไม่จำกัดเชื้อชาติหรือสีผิว
"ฉันคิดว่าวิธีคิดแบบนี้มันไม่ได้ตอบโจทย์อีกต่อไป เชื้อชาติของ ส.ส. ไม่ควรจะเป้นปัจจัยด้วยซ้ำ เพราะตราบใดที่ ส.ส. นั้นเป้นตัวแทนและทำงานเพื่อประชาชนชาวมาเลเซียทุกเชื้อชาติทุกสีผิว และไม่ว่าประชาชนคนนั้นจะมีความเชื่อแบบไหนก็ตาม ตราบใดที่ผุ้ที่ถุกเลือกตั้งเข้าไปทำงานนั้นเป้นกระบอกเสียงให้กับทุกคนอย่างเป็นธรรม รับฟังประชาชนถึงความลำบากและความต้องการของพวกเขา เสียงของทุกคนก็จะได้รับการรับฟังอย่างเท่าเที่ยมเอง"
การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 14 ที่จะเกิดขึ้นในปี 2018 จะเป็นบททดสอบครั้งสำคัญของการเมืองมาเลเซียที่เผชิญกับระบอบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาดประเทศมาอย่างยานาน..to be contineus
https://thestandard.co/news-world-asean-democracy-human-right-education-and-terrorism/
วันพฤหัสบดีที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Homeless
คนไร้บ้านเพิ่ม ผลสะท้อนความเหลื่่อมล้ำทางสังคม
"คนไร้บ้าน" ยังคมมีให้เห็นอยุ่ทั่วพื้นที่ กทม. ปม้ว่าหลายหน่วยงานจะยื่อมือให้ความเชื่อยเหลื่อ แต่ "คนไร้บ้าน" ก็ยังเป็นหนึ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความเหลื่อมล้ำทางสังคม และผลพวงจากการเข้าไม่ถึงสวัสดิการที่รัฐบาลจัดไว้
เผยสถิตคนไร้บ้าน
ข้อมูลจากมูลนิธิอิสรชน ที่สำรวจนำนวนคนไร้บ้านทั่ว กทม. ปี 2559 พบว่า มีจำนวน 3,486 คน เป็นชาย 2,112 คน หญิง 1,374 คนแยกเป็นปลุ่มเร่รอ่นไปมา 993 คน กลุ่มผุ้ติสุรา 858 กลุ่มผู้นอนหลับชั่วคราว 853 คน ซึ่งมีทั้งเป็นผู้เพิ่งพ้นโทษ เป็นผู้ป่วยข้างถนนถึงมีนไร้บาต่างชาติ 25 คน กลุ่มแรงงานเพื่อนบ้านต่างชาติ 25 คน กลุ่มแรงงานเพื่อนบ้านต่างชาติ 51 คน และผุ้ให้บริการทางเพศ 28 คน
มูลเหตุหนึ่งที่มุลนิธิอิสรชนชีชัดว่าเป็นเหตุผลหลักที่ทำให้จำนวนคนไร้บ้าเพ่ิมขึ้นมากว่า ปี 2558 ถึง 175 คน คือผลกระทบจาก พ.ร.บ.ธุรกิจรักษาความปลดภัย พ.ศ. 2558 ที่กำหนดคุณสมบัติเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ต้องมีวุฒิการศึกษาขั้นต่ำ ระดับ ม. 3 ส่งผลห้มีผุ้ตกงาน หรือต้องออกจากงานมใช้ชีวิตในที่สาธารณะเพ่ิมขึ้น
ปัญหาสูงวัย สุขภาพ ต้องเร่งแก้ไข
ขณะที่สำนกงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำนวจพบว่ มีคนไร้บ้านใน กทม. ทั้งที่อยุ่ในพื้นที่สาธารณะและศูนย์พักพิง ชัวคราวจำนวน 1,307 คน สวนใหย ประมาณ 32.5% มีอายุระหว่าง 40-49 ปี และมีผุ้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) สูงถึง 22% ถือได้ว่าสังคมคนไร้บ้าน เป็นสังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์ก่อนผุ้สูงอายุปกติในสังคม และยังพบว่าคนไร้บ้านเป็นกลุ่มประชากรที่มีปัญหารทงสุขภาพมกกว่าค่าเฉลี่ยของสังคมไทยโยรวม คือมีปัญหาโรคประจำตัวโดยเฉพาะความดันโลหิตสูง ถึง 51% ขณะที่คนทั่วไปอยู่ที่ 20% มีปัญหาสุขภาพจิตที่ไม่รุนแรง (ไม่เป็นอันตรายต่อสังคม) ประมาณ 70% ขณะที่คนทั่วไปอยู่ที่ 17 % มีโรคประจำตัวโดยเฉาพะโรคไม่ติต่อเรื้อรัง 31% ขณะที่คนทั่วไปอยู่ที่ 22% และมีปัญหาสุขภาพช่องปาก 70% ขณะที่คนทั่วไปอยู่ที่ 50%
นอกจากนี้ ยังพบว่าการอยุ่นพื้นที่สาะารณะในระยะเวลานาน เป็นปัจจัยเสียงสำคัญที่ทำให้สุขภาพแย่งลง ดดยมากว่า 50% มีปัญหาการเข้าถึงบริาการสุขภาพที่ครอบคลุมและมีประสทิธภาพ ซึ่งมาจาก 2 ปัจจัยหลักคือ ไม่มีบัตรประชาชน 28% มีปัญหารเรื่องการเข้าถึงบริการสุขภาพ 22%
คนไร้บ้านกระจุกตัวบริเวณเกาะรัตนโกาสินร์
จากสถานะการณืที่คนไร้บ้านที่มีจำนวนเพ่ิมขึ้น รัฐบาลจึงได้มอบหมยให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สำนักงานตำรวจแห่งชติ กรุงเทพมหานคร กรระทรวงสาธารณุข และภาคประชาสังคม ร่วมกันสำรวจผุ้เร่รอน ไร้ที่พึ่ง ขอทาน เพื่อให้ความช่วยเหลือคุ้มครองโดยเร่ิมดำเนินการตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2017
โดยผลสำรวจล่าสุดช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่ารมาพบว่ มีกลุ่มคนไร้ที่พึ่ง จำนวน 484 ราย โดยกลุ่มคนเห่านี้จะอาศัยอยู่ตามสถานีขนส่งสถานีรถไฟ ปและส่วนใหญ่กระจุกตัวอยุ่ในพื้นที่กาะรัตนโกสินทร์ สาเหตุมาจากความยากจน 271 ราย การไม่มีที่อยู่อาศัย 108 ราย ส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 57 ราย และส่งเข้ารับความุคุ้มครองเพื่อฟื้นฟู พัฒนาคุณภาพชีวิต 344 ราย
ทั้งนี้ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดการ (พส.) ในฐานะหน่วยงานหลักที่ขับเบื่อน พ.ร.บ. คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ. 2557 มีการดำเนินในด้านที่พักอาศัยชัวคราว บ้านมิตรไม่ตรี ให้บริการปัจจัย 4 แก่คนไร้ที่พึ่ง มีการช่วยเหลือประสานสืบหาข้อมูลทางทะเบียน ซึ่งหากเป้นบุคคลสัญชาติไทย จะช่วยประสานสืบค้นข้อุลเอกสาร เพื่อคืนสิทธิความเป็นคนไทย และหากข้อมูลไม่เีพยงพอ จะประสานกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เพื่อยื่นทำประวัติทะเบียบในการับสิทะิด้านต่างๆ ตามหลักสิทธิมุนษยชน
รัฐต้องเข้าใจปัญหาและแก้ให้ถุกจุด
อย่างไรกฌค่ททฝุบริธีกระจกเง แดสงความเห้นว่า แนวทางที่รัฐบาทำอยุ่ ยังไม่ตรงจุด การจัดระเบียบของรัฐมีผลกระทบต่อกลุ่มคนไร้บาน บางคนเดิมเลื่อกอยู่อาศัยในจุดที่ใกล้แหล่งอาหารก็ต้องโยกย้าย รัฐใช้ พ.ร.บ. คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ร.บ. รักษาความสอาดเป็นตัวควบคุม มีเจ้าหน้าที่ลงพท้นที่บังคับให้คนไร้บ้านไปอยู่ในสภานพักพิงต่างๆ ซึ่ง 70% เป็นสถานจิตเวช บางแห่งก้็มการฝึกทักษะอาชีพที่ไ่ตรงกับความถนัด
ในต่างประเทศ มีมุองต่อกลุ่มคนไร้บ้าน 2 แบบ แบบแรกมอง่าเป้นกลุ่มคนที่เข้าไม่ถึงสวัสดิการพื้นฐานแบบที่สองคือ มองเป็นวิถีชีวิต เป็นทางเลือกในอีกรูปแบบหนึ่ง แต่ไม่ใช่วิถีชีวิตที่ย่ำแย่ เพราะมีรฐสวัสดการรองรับ ทำให้ยังมีคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งตรงนี้
แตกต่างกับประเทศไทย เพราะคนไทยแม้จะมทำงานมาก แต่ด้วยค่าครองชีพ ภาวะเศราฐกิจทำให้รยได้ไม่เีพยงพอก็ป็นปัญหาหนึ่ง เรื่องการเข้าถึงสิทธิและบริการด้านต่างๆ เรื่องการขาดสถานะทางสังคม หางานไม่ได้ไม่มีบัตรประชาชน ล้วนเป็นปัจจัยที่ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ไม่ดี ส่งผลให้กลายเป้นคนไต้บ้านไร้ที่พึ่ง ซึ่งทางภาครัฐต้องเข้าใจที่มาของปัญหา ต้องหารูปแบบการช่วยเลหือที่เหมาะสม ซึ่งการแก้ปัญหาก็จะแตกต่างไปตามบุคคล เปิดเหว้างรับฟังและให้โอากสให้ภาคสังคม มูนิธิต่างๆ ที่คลุกคลีกับคนไร้บ้านเข้าไปข่วยวางแนวทางและดำเนิการแก้ไขด้วย
ขณะนี้มูลนิธิกระจกเงา ร่วมกันศูนย์วิจัยสังคม สุฆาลงกรณืมหาวิทยาลัย ร่วมกันสำรวจข้อมูล
ความต้องการทั้งด้านที่พักอาศัย และความช่วยเหลือต่างๆ เพื่อนำมาสรุปหาแนวทางทเ่เหมาะสม โดยจะมีการประชุมประมวลผลกันในวันที่ 5 สิงห่คนที่จะถึงนี้ จากนั้นจะรวมข้อมุลนำเสนอในหน่วยงานที่เีก่ยชวข้องับทราบเพื่อที่จะนำไปสู่การแก้ไขปัญาอย่างยั่งยืนต่อไป
เห็นได้ว่า "คนไร้บ้าน " เป็นปรากฎการณืหนึ่ง ที่ไม่ได้ต้องการเพียงควมเข้าจ การให้โอกาสของคนในสังคม แต่ต้องได้รับโอกาสการทำงานการสร้างายได้ที่มั่นคงเพียงพอ ลดช่องว่างจากปัญหาความเลหื่อมล้ำทางสังคม เปิดโอกาใการเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐานให้กว้างขึ้จจากรัฐบาลคนไร้http://www.bltbangkok.com/News/%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1
บ้านจะได้มีชีิวตที่มีคุณภาพที่ดีขึ้นได้.....
วันพุธที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Tax structure
โดยทั่วไปแล้วภาษีเป็นเครื่องมือของรัฐบาลเพื่อบรรลุเป้าหมายหลากหายประการ เช่น เพื่อการายได้ให้แก่รัฐบาล เพื่อส่งเสริมและจำกัดกิจกรรมทงเศราฐกิจบางประเภท เืพ่อรักษาเสถียรภาพของระบบเศราฐกิจเพื่อลดความเหลื่อล้ำในการกระจายรายได้อีกด้วย อย่างไรก็ตามความสำคัยของแต่ละเป้าหมายมีพัฒนาการและเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละช่วงเวลา โดยความสำคัยของเป้ากมายในการดำเนินนโยบายภาษีถูกเปลี่ยนไปจากขช่วงแรกที่เน้นการสร้างความเท่าเที่ยมกนไปเน้นที่การสร้างความเจริญเติบโตทางเศราบกิจ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากแรงกดดันที่มาควบคู่กับกระบวนการโลกาภิวัตน์ึ่งทำให้การเคลื่อนย้ายทรัพยากรมีลักษณะไร้พรมแรนมากขึ้น
ศักยภาพของการใช้ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพื่อเป็นเครื่งอมือในการลดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้มีความแตกต่างกันไปนแต่ละประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศกำลังพัฒนาจะมีข้อจำกัดมาก และสำหรับกรณีของไทนนั้น คึวามสามารถ ของภาาีเงินได้บุคคลธรรมดาในการแก้ไขปัญหากระจายรายได้ยังคงมีข้อจำกัดมาก การมีภาครัฐที่มีขนาดเล็ก ทำให้รัฐบาลไทยไม่สามารถใช้เครื่องมือทางด้านรายจ่ายเพ่อลดวามเหลื่อมล้ำในสงคมได้มากนัก การมีภาครัฐที่มีขนาดเล็ก ทำให้รัฐบลไทยไม่าสามถใช้เคื่องมือทางด้านรายจ่ายเพื่อลดความเหลื่อล้ำในังคมได้มากนัก
ระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของไทยนอกจากจะมีผุ้มีงานทำจำนวนมากที่ไม่อยู่ในระบบภาษีแล้วการกระจายภาระภาษีระหว่งผุ้มีเงินได้สุทธิในชั้นเงินได้ต่างๆ มักมีความเหลื่อมล้ำกันอยู่มาก และภาระภาษีมีการกระจุกตัวอยุ่ที่คนส่วนน้อย ทั้งนี้ การใช้มาตรการทางภาษีเงินได้บุคคลธรรมดเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสงคมจะสามารถทำได้ก็ต่อเมือระบบการจัดเก็บภาษีมีประสิทธิภาพและผุ้มีงานทำส่วนใหญ่ในสังอยู่ในระบบภาษีแต่ด้วยเหตุที่เงื่อนไขดังกล่าวมิได้เกิดขึ้นกับกรณีของประเทสไทย ดังนั้น กรใช้มาตรการภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคมและช่วยเหลือผู้มีรายไ้ด้น้อยจึงควรใช้ควบคู่ไปกับมาตรการทางด้านรายจ่ายด้วย
นักเศรษฐศาสตร์ได้ให้ความสนใจมาเป้นเวลาช้านานเกี่ยวกับบทบาทของเครื่องมือทางภาษีอากรในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้ของไทย ซึ่งแม้ว่าแต่ละประเทศจะมีส่วนปสมขององค์ประกอบระหว่างภาษีชิดต่างๆ แตกต่างกันไป และในปัจจุบันก็ยังคงไม่มีทษฎีเกี่ยวกับส่วนผสมของภาษีที่เหมาะสม ใดที่เป็นที่ยอมรับกันแพร่หลาย แต่อาจกล่าวได้ว่่า ในทางทฤษฎีแล้ว ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็เนครืองมือสำคัญที่สุดในการทำนห้าที่ลดควมเลหื่อมล้ำดังกล่วในสวนนี้จึงมุ่งตรวจสอบว่่า ในทางทฤษฎีแล้ว ภาาีเงินได้บุคคลธรรมดเป็เนครื่องมือสำคัญที่สุดในการทำหน้าที่ลดความเหลื่อมล้ำดังกล่าว ในส่วนนี้จึงมุ่งตรวจอบว่า ในกรณีของประเทศไทยนั้นการใช้ภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดาเพื่อทำหน้าที่กระจายรายไ้ดได้มากน้อยเพียงใดโดยทั่วไปแล้วภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป้นองค์ประกอบที่สำคัญัของระบอบประชาธิปไตยและทุนนิยม ซึ่งแม้ว่าภาษีดังกล่วจะมีข้อจำกัดอยูมาก แต่ก็ถือได้ว่าเป็น "สัญลักษณ์" ที่สำคัญของความใส่ใจในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายรยไ้อนเกิดจกระบบเศราฐกิจแบบตลาด อย่างไรก็ตามผุ้วิจัยมีข้อสังเกตต่อภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอย่างน้อย 2 ประการ คือ
ภาษีเงินได้บุคคลธรรดาของไทยช่วยบลดความเลหื่อมล้ำในการกระจายรายไ้ได้น้อยมา ทั้งนี้เพราะฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดามิได้มีความครอบคลุมผุ้เสียภาษีไ้ด้มากเท่าที่ควรและมิได้มีความก้าวหน้ามากนัก โดยเฉพาะิย่างิย่ง ภาษีดังกล่าวักจำกัดอยุ่ที่การหักภาษี ณ ที่จ่ายจากลูกจ้าง ี่อยู่ในระบบการทำงานที่เป้ทางการ ซึ่งบทบาทอันจำกัดของภาษีดังกล่าวสะท้อนออกมาทั้งในรูปของสัดส่วนของรายได้จากภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อรายได้ภาษีทั้งหมด และสัดส่วนของรายไ้ดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อ GDP
และ จากงานศึกษาในกรณีของประเทศไทยเกี่ยวกับผลของการใช้เครื่องมือทางการคลังต่อากรกระจายรายได้นั้ เกือบทั้งหมดมัจะเน้นไปที่การศึกษาเี่ยวกับระบบภาษี ซึ่งงานเหล่านั้นมัตั้งคภถามว่า ระบบภาษีของไทยเป็นระบบก้าวหน้าหรือถดถอย ซึ่ง "ปีเตอร์ วาว์(2003) ได้ให้ความเห้นว่าการตั้งคำถามในลักษระดังกล่าวเป้นเรื่องที่น่าประหลาดมาก กล่าวคือ รายได้ภาษีของไทยส่วนใหญ่มาจากภาษีทางอ้อม ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นที่คาดหมายได้อยู่แล้วว่า เป็นไปไม่ได้ที่ระบบภาษีของไทยจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อการกระจายรายได้ ซึ่งผลการศึกษาต่างๆ ก็ยนยันปรากฎการณ์ดังกล่ว ด้วยเหตุนี้ผุ้วิจัยเห็นว่า การใช้มาตการทางด้านรายจ่ายเป็นส่ิงสำคัญในการส่งเสริมให้เกิดการกระจายรายได้ โดยรัฐบบาลไทยควรต้องพัฒนาระบบประกันสังคมและพัฒนาสวัสดิการ เช่น การนำระบบการเครดิตภาาีเงินได้เนพื่องจากการทำงาน มาใช้ ซึ่งเป็นการใช้ระบบภาษีควบคู่กับการโอนเงิน อันจะสามารถรบุตัวผุ้รับประโยชน์ ไดอ้ยอ่างมี
ประสิทธิผล เช่น สามารถกำหฟนดรายได้ของครอบครัวจำนวนเด็กในครอบครัว หรือคุณลักษระอื่นๆ
สำหรับประเทศไทย แม้ว่จะมีการปรับโครงส้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรมดหลายครั้ง แต่ก้ยังคงเป็นโครงสร้างอัตราแบบก้ายหนา มาโดยตลอด เพรียงแต่เป็นการปรับช่วงเงินได้ในแต่ละชั้นให้กว้างขึ้น และลดจำนวนชั้นของเงินได้พร้อมทั้งปรับลดอัตราภาษีในแต่ละขึ้นลง การที่ความก้าวหน้าของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาลดต่ำลงเรื่อยๆ ในด้านหนึ่งย่อมเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพ
ของระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพราะเป้นการจูงใจให้ผุ้มีรายได้สุงทำงานมากขึ้น ในทางตรงกันข้ามก้ทำให้ความเลหือล้ำในการกระจายรายได้สูงขึ้น ทั้งนี้เพราะผุ้มีรายได้สุงจะได้รับประโยชน์จาการลดความก้าวหน้าของภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดมากกว่าผุ้มีรายได้ต่ำ
ตลอด 30 ปีที่ผ่านม ประเทศไทยปรับโครงสร้างภาษีอัตราภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดามาแล้ว 4 ครั้ง โดยสามารถแบ่งเป็นช่วงต่างๆ ดังนี้
- ตั้งแต่ปี พ.ศ.2525 ในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ข่วงนั้นโรงร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเน้นหนักไปที่เรื่องการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม โครงสรางอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจึงเป็นระบบภาษีอัตราก้าวหน้าแบบขั้นบันได มีทั้งหมด 13 ขั้นอัตรา โดยเร่ิมเก็บภาษีจากคนจนที่มีรายได้สุทธิไม่เกิน 30,000 บาท เสียภาษีอัตรา 7% จนกระทั่งถึงคนรวยที่มีรายไ้ดสทุธิเกิน 2 ล้านบาทขึ้นไป เสียภาษีที่อัตรา 65%
- ช่วงปี พ.ศ. 2529 - 2531 ได้มีการปรับคึวามหว้างของแต่ละขั้นเงินได้ให้กว้างขึ้น และปับลดขั้นเงินได้สุทธิจาก 13 ขึ้นอัตราเหลือเพียง 11 ชั้น โดยชั้นอัตราภาษีอยู่ระหวาง 7-55%
- ปี พ.ศ. 2529 ช่วงปลายสมัยรัฐบาลพลเอกปรม มีการปรับโครงสร้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรดาอีกครั้ง จากเดิม 13 ขันอัตรา ปรับลดลงมาเหลือ 11 อัตรา โดยผุ้ที่ได้รับประโยชน์สูงสุดจากโครงสร้างภาษีใหม่ เป็นกลุ่มคนที่มีรายได้สูงลงมาจนถึงกลุ่มคนที่มีรายได้ปานกลางได้รับส่วนลดภาษีไป 10% เช่น ผุ้ที่มีรายได้สุทธิเกิน 2 ล้านบาทขึ้นไป เดิมเสียภาษีที่อัตราลดลงจากโครงสร้งางเดิม 10% ขณะที่กลุ่มผู้มีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาท ไ่ได้ประโยชน์จากการปรับคร้งนี้ ยังคงเสียภาษีในอัรา 7% เท่าเดิม
- ปี พ.ศ. 2532 ในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัฒ เป็นนายกรัฐมนตรี มีการปรับโครงร้า
อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครั้งใหญ่ โดยผุ้ที่ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการปรับโครงสร้างภาษีครั้งนี้ยังคงเป็นกลุ่มคนที่มีรายได้สูง เช่น (ุ้ที่มีรายได้เกิน 2 ล้านบาทขึ้นไ เดิมเสียภาาีทีอัตรา 55 % ลดเหลือ 50% ผุ้ที่มีรายได้อยู่ในช่วง 1-2 ล้านบาท จาก 50% ลดเหลือ 40% รายได้ 7.5 แสนบาท - 1 ล้านบ้า จาก 45% ลดเหลือ 30% รายได้ 5.5 แสนบาท -7.5 แสนบาท จาก 40% ลดเหลือ30%1 ...
- ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2535 ในสมัยรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน ประเทศไทยมีการนำระบบภาษีมูลค่าเพิ่มมาใช้แทนภาษีการต้า พร้อมกับปรับโครงสร้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเหลือเพียง 5 ขั้นอัตรา โดยกลุ่มที่ได้รับอานิสงส์มากสุดยังตกอยุ่กับกลุ่มคนที่มีรายได้ดี เช่น มีรายได้ เกิน 4 ล้านบาทขึ้นไป จาก 50% ลดเหลือ่ 37% ...
หลังจากปี พ.ศ. 2535 แม้ว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี หรือช่ว
ของเงินได้สุทธิในแต่ละชั้น แต่ก็ยังมีการออกมาตรการภาษีเพื่อบรรเท่าภาระภาษีของกลุ่มผุ้มีารยได้น้อย และมีการปรับเพ่ิมช่วงเงินได้สุทธิที่ไม่ต้องเสียภาาีมาอย่างต่อเนื่องตามลำดับ..ซึ่งลักษณะดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่า ในกรณีของไทยนั้น ภาษีนอกจากจะเป็นเครื่องมือในการหารายได้ให้แก่รัฐแล้ว ยังเป็นเครื่องือที่สำคัญในการกำหนดนโยบายทางังคมอีกด้วย...http://v-reform.org/u-knowledges/taxreform/
ศักยภาพของการใช้ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพื่อเป็นเครื่งอมือในการลดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้มีความแตกต่างกันไปนแต่ละประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศกำลังพัฒนาจะมีข้อจำกัดมาก และสำหรับกรณีของไทนนั้น คึวามสามารถ ของภาาีเงินได้บุคคลธรรมดาในการแก้ไขปัญหากระจายรายได้ยังคงมีข้อจำกัดมาก การมีภาครัฐที่มีขนาดเล็ก ทำให้รัฐบาลไทยไม่สามารถใช้เครื่องมือทางด้านรายจ่ายเพ่อลดวามเหลื่อมล้ำในสงคมได้มากนัก การมีภาครัฐที่มีขนาดเล็ก ทำให้รัฐบลไทยไม่าสามถใช้เคื่องมือทางด้านรายจ่ายเพื่อลดความเหลื่อล้ำในังคมได้มากนัก
ระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของไทยนอกจากจะมีผุ้มีงานทำจำนวนมากที่ไม่อยู่ในระบบภาษีแล้วการกระจายภาระภาษีระหว่งผุ้มีเงินได้สุทธิในชั้นเงินได้ต่างๆ มักมีความเหลื่อมล้ำกันอยู่มาก และภาระภาษีมีการกระจุกตัวอยุ่ที่คนส่วนน้อย ทั้งนี้ การใช้มาตรการทางภาษีเงินได้บุคคลธรรมดเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสงคมจะสามารถทำได้ก็ต่อเมือระบบการจัดเก็บภาษีมีประสิทธิภาพและผุ้มีงานทำส่วนใหญ่ในสังอยู่ในระบบภาษีแต่ด้วยเหตุที่เงื่อนไขดังกล่าวมิได้เกิดขึ้นกับกรณีของประเทสไทย ดังนั้น กรใช้มาตรการภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคมและช่วยเหลือผู้มีรายไ้ด้น้อยจึงควรใช้ควบคู่ไปกับมาตรการทางด้านรายจ่ายด้วย
นักเศรษฐศาสตร์ได้ให้ความสนใจมาเป้นเวลาช้านานเกี่ยวกับบทบาทของเครื่องมือทางภาษีอากรในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้ของไทย ซึ่งแม้ว่าแต่ละประเทศจะมีส่วนปสมขององค์ประกอบระหว่างภาษีชิดต่างๆ แตกต่างกันไป และในปัจจุบันก็ยังคงไม่มีทษฎีเกี่ยวกับส่วนผสมของภาษีที่เหมาะสม ใดที่เป็นที่ยอมรับกันแพร่หลาย แต่อาจกล่าวได้ว่่า ในทางทฤษฎีแล้ว ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็เนครืองมือสำคัญที่สุดในการทำนห้าที่ลดควมเลหื่อมล้ำดังกล่วในสวนนี้จึงมุ่งตรวจสอบว่่า ในทางทฤษฎีแล้ว ภาาีเงินได้บุคคลธรรมดเป็เนครื่องมือสำคัญที่สุดในการทำหน้าที่ลดความเหลื่อมล้ำดังกล่าว ในส่วนนี้จึงมุ่งตรวจอบว่า ในกรณีของประเทศไทยนั้นการใช้ภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดาเพื่อทำหน้าที่กระจายรายไ้ดได้มากน้อยเพียงใดโดยทั่วไปแล้วภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป้นองค์ประกอบที่สำคัญัของระบอบประชาธิปไตยและทุนนิยม ซึ่งแม้ว่าภาษีดังกล่วจะมีข้อจำกัดอยูมาก แต่ก็ถือได้ว่าเป็น "สัญลักษณ์" ที่สำคัญของความใส่ใจในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายรยไ้อนเกิดจกระบบเศราฐกิจแบบตลาด อย่างไรก็ตามผุ้วิจัยมีข้อสังเกตต่อภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอย่างน้อย 2 ประการ คือ
ภาษีเงินได้บุคคลธรรดาของไทยช่วยบลดความเลหื่อมล้ำในการกระจายรายไ้ได้น้อยมา ทั้งนี้เพราะฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดามิได้มีความครอบคลุมผุ้เสียภาษีไ้ด้มากเท่าที่ควรและมิได้มีความก้าวหน้ามากนัก โดยเฉพาะิย่างิย่ง ภาษีดังกล่าวักจำกัดอยุ่ที่การหักภาษี ณ ที่จ่ายจากลูกจ้าง ี่อยู่ในระบบการทำงานที่เป้ทางการ ซึ่งบทบาทอันจำกัดของภาษีดังกล่าวสะท้อนออกมาทั้งในรูปของสัดส่วนของรายได้จากภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อรายได้ภาษีทั้งหมด และสัดส่วนของรายไ้ดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อ GDP
และ จากงานศึกษาในกรณีของประเทศไทยเกี่ยวกับผลของการใช้เครื่องมือทางการคลังต่อากรกระจายรายได้นั้ เกือบทั้งหมดมัจะเน้นไปที่การศึกษาเี่ยวกับระบบภาษี ซึ่งงานเหล่านั้นมัตั้งคภถามว่า ระบบภาษีของไทยเป็นระบบก้าวหน้าหรือถดถอย ซึ่ง "ปีเตอร์ วาว์(2003) ได้ให้ความเห้นว่าการตั้งคำถามในลักษระดังกล่าวเป้นเรื่องที่น่าประหลาดมาก กล่าวคือ รายได้ภาษีของไทยส่วนใหญ่มาจากภาษีทางอ้อม ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นที่คาดหมายได้อยู่แล้วว่า เป็นไปไม่ได้ที่ระบบภาษีของไทยจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อการกระจายรายได้ ซึ่งผลการศึกษาต่างๆ ก็ยนยันปรากฎการณ์ดังกล่ว ด้วยเหตุนี้ผุ้วิจัยเห็นว่า การใช้มาตการทางด้านรายจ่ายเป็นส่ิงสำคัญในการส่งเสริมให้เกิดการกระจายรายได้ โดยรัฐบบาลไทยควรต้องพัฒนาระบบประกันสังคมและพัฒนาสวัสดิการ เช่น การนำระบบการเครดิตภาาีเงินได้เนพื่องจากการทำงาน มาใช้ ซึ่งเป็นการใช้ระบบภาษีควบคู่กับการโอนเงิน อันจะสามารถรบุตัวผุ้รับประโยชน์ ไดอ้ยอ่างมี
ประสิทธิผล เช่น สามารถกำหฟนดรายได้ของครอบครัวจำนวนเด็กในครอบครัว หรือคุณลักษระอื่นๆ
สำหรับประเทศไทย แม้ว่จะมีการปรับโครงส้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรมดหลายครั้ง แต่ก้ยังคงเป็นโครงสร้างอัตราแบบก้ายหนา มาโดยตลอด เพรียงแต่เป็นการปรับช่วงเงินได้ในแต่ละชั้นให้กว้างขึ้น และลดจำนวนชั้นของเงินได้พร้อมทั้งปรับลดอัตราภาษีในแต่ละขึ้นลง การที่ความก้าวหน้าของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาลดต่ำลงเรื่อยๆ ในด้านหนึ่งย่อมเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพ
ของระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพราะเป้นการจูงใจให้ผุ้มีรายได้สุงทำงานมากขึ้น ในทางตรงกันข้ามก้ทำให้ความเลหือล้ำในการกระจายรายได้สูงขึ้น ทั้งนี้เพราะผุ้มีรายได้สุงจะได้รับประโยชน์จาการลดความก้าวหน้าของภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดมากกว่าผุ้มีรายได้ต่ำ
ตลอด 30 ปีที่ผ่านม ประเทศไทยปรับโครงสร้างภาษีอัตราภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดามาแล้ว 4 ครั้ง โดยสามารถแบ่งเป็นช่วงต่างๆ ดังนี้
- ตั้งแต่ปี พ.ศ.2525 ในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ข่วงนั้นโรงร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเน้นหนักไปที่เรื่องการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม โครงสรางอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจึงเป็นระบบภาษีอัตราก้าวหน้าแบบขั้นบันได มีทั้งหมด 13 ขั้นอัตรา โดยเร่ิมเก็บภาษีจากคนจนที่มีรายได้สุทธิไม่เกิน 30,000 บาท เสียภาษีอัตรา 7% จนกระทั่งถึงคนรวยที่มีรายไ้ดสทุธิเกิน 2 ล้านบาทขึ้นไป เสียภาษีที่อัตรา 65%
- ช่วงปี พ.ศ. 2529 - 2531 ได้มีการปรับคึวามหว้างของแต่ละขั้นเงินได้ให้กว้างขึ้น และปับลดขั้นเงินได้สุทธิจาก 13 ขึ้นอัตราเหลือเพียง 11 ชั้น โดยชั้นอัตราภาษีอยู่ระหวาง 7-55%
- ปี พ.ศ. 2529 ช่วงปลายสมัยรัฐบาลพลเอกปรม มีการปรับโครงสร้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรดาอีกครั้ง จากเดิม 13 ขันอัตรา ปรับลดลงมาเหลือ 11 อัตรา โดยผุ้ที่ได้รับประโยชน์สูงสุดจากโครงสร้างภาษีใหม่ เป็นกลุ่มคนที่มีรายได้สูงลงมาจนถึงกลุ่มคนที่มีรายได้ปานกลางได้รับส่วนลดภาษีไป 10% เช่น ผุ้ที่มีรายได้สุทธิเกิน 2 ล้านบาทขึ้นไป เดิมเสียภาษีที่อัตราลดลงจากโครงสร้งางเดิม 10% ขณะที่กลุ่มผู้มีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาท ไ่ได้ประโยชน์จากการปรับคร้งนี้ ยังคงเสียภาษีในอัรา 7% เท่าเดิม
- ปี พ.ศ. 2532 ในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัฒ เป็นนายกรัฐมนตรี มีการปรับโครงร้า
อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครั้งใหญ่ โดยผุ้ที่ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการปรับโครงสร้างภาษีครั้งนี้ยังคงเป็นกลุ่มคนที่มีรายได้สูง เช่น (ุ้ที่มีรายได้เกิน 2 ล้านบาทขึ้นไ เดิมเสียภาาีทีอัตรา 55 % ลดเหลือ 50% ผุ้ที่มีรายได้อยู่ในช่วง 1-2 ล้านบาท จาก 50% ลดเหลือ 40% รายได้ 7.5 แสนบาท - 1 ล้านบ้า จาก 45% ลดเหลือ 30% รายได้ 5.5 แสนบาท -7.5 แสนบาท จาก 40% ลดเหลือ30%1 ...
- ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2535 ในสมัยรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน ประเทศไทยมีการนำระบบภาษีมูลค่าเพิ่มมาใช้แทนภาษีการต้า พร้อมกับปรับโครงสร้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเหลือเพียง 5 ขั้นอัตรา โดยกลุ่มที่ได้รับอานิสงส์มากสุดยังตกอยุ่กับกลุ่มคนที่มีรายได้ดี เช่น มีรายได้ เกิน 4 ล้านบาทขึ้นไป จาก 50% ลดเหลือ่ 37% ...
หลังจากปี พ.ศ. 2535 แม้ว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี หรือช่ว
ของเงินได้สุทธิในแต่ละชั้น แต่ก็ยังมีการออกมาตรการภาษีเพื่อบรรเท่าภาระภาษีของกลุ่มผุ้มีารยได้น้อย และมีการปรับเพ่ิมช่วงเงินได้สุทธิที่ไม่ต้องเสียภาาีมาอย่างต่อเนื่องตามลำดับ..ซึ่งลักษณะดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่า ในกรณีของไทยนั้น ภาษีนอกจากจะเป็นเครื่องมือในการหารายได้ให้แก่รัฐแล้ว ยังเป็นเครื่องือที่สำคัญในการกำหนดนโยบายทางังคมอีกด้วย...http://v-reform.org/u-knowledges/taxreform/
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...