วันเสาร์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2561

Treaty of Lisbon

           สนธิสัญญาลิสบอน เป็นความตกลงระหว่างประเทศซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมสนธิสัญญาสองฉบัยที่เป็นรากฐานทางกฎหมายของสหภาพยุโรป "อียู" อันได้แก่สนธิสัญญามาสทราิชท์ (พ.ศ. 2536 ) และสนธิสัญญาโรม (พ.ศ. 2501) สนธิสัญญาลิสบอนได้รับการลงนามโดยผุ้แทนจาก 28 รัฐสมาชิกในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และเริ่มบังคับใช้ในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552
          สาระสำคัญที่เปลี่ยนแปลงไป อาทิ การลงมติในคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปจากเดมใช้ระบบแบ่งช่วงประชากรเพื่อกำหนดจำนนวนเสียงลงคะแนน มาเป็นระบบคะแนนเสียงถ่วงน้ำหนักตามประชากรของแต่ละประเทศ การใช้ระบบใหม่นี้ทำให้บรรดาชาติที่มีประชารเป็นอันดับต้นๆ อย่าง เยอรมนี, ฝรั่งเศส, สหราชอาณาจักร, อิตาลี, สเปน ได้รับผลประโยชน์จากอำนาจลงคะแนนที่เพ่ิมชึ้น ในขณะที่ชาติที่มีประชากรน้อยสูญเสียอำนาจในการลงคะแนบางส่วนไป สธิสัญญาฉบับนี้ยังเปิดทางให้มีร่างกฎหมายสหภาพว่าด้วยสิทธิ ซึ่งบับคับยใช้เป็นกฎบัตรสิทธิขั้นพื้นฐาน และยังระบุถึงสิทธิของรัฐสมาชิกที่จะออกจากการเป็นสมาชิกภาพไว้อย่างชัดแจ้งhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%99
        สนธิสัญญาลิสบอน...
        ประเทศสมาชิก EU ตระหนักถึงความจำเป็ฯในการปรับปรุงโครงสร้างเพื่อตอบสนองกระบวนการบูรณาการภายใจ EU ที่ก้าวหน้าขึ้นและความประสงค์ที่จะขยายบทบาทของ EU ในประชาคมโลก โดยในขั้นแรกเห็นควรให้จัดทำ "ธรรมนูญยุโรป" แต่แนวคิดังกล่าวต้องล้มเลิกไปเนื่องจากประชาชนงั่งเศ และประชาชนเนเธอร์แลนด์ได้ปฏิเสธรางธรรมนูญยุโรปในการจัทำประชามติในทั้ง 2 ประเทศ เมือ ค.ศ. 2004 และ ค.ศ. 2005 ตามลำดับ ต่อมาเมื่อวันที่ 18-19 ตุลาคม ค.ศ. 2007 ประมุขแห่งรั, ผู้นำรัฐบาลของประเทศสมาชิก อียู สามารถบรรลุข้อตกลงระหวา่งกันให้เปลี่ยนจาการจัดทำธรรมนูญยุโรปเป็นการจัดทำสนธิสัญญา แทน โดยเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 2007 ประมุขแห่งรับ ผู้นำรัฐบาลของประทศสมาชิก อียู ท้ง 27 ประเทศ ได้ร่วลงนาในสนธิสัญญาลิสบอน ที่กรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส ทั้ง ทั้งี้ สนธิสัญญาลิสบอนมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 2009
           สาระสำคัญของสนธิสัญญาลิสบอนได้แก่
           - เป็นสนธิสัญญาระห่างรัฐสมาชิก อียู ที่ให้ความเห็นชอบในการสละอำนาจอธิปไตยบางส่วนให้แก่ความร่วมมือเหนือชาติ โดย ย่อหน้าที่ 3 ของสญญาลิสบอนระบุว่า อียู มีอำนาจเบ็ดเสร็จ ในเรื่อง สหภาพสุลกากร, การออกกฎระเบียบด้านการแข่งขัน ที่จำเป็นต่อการทำหน้าที่ตลาดภายใน, นโยบายด้านกาเงนสำหรับรัฐสมาชิก อียู ที่ใช้สกุลเงินยูโร การอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพทางทะเล และ นโยบายการต้าร่วม
         
 - สนธิสัญญาฯ กำหนดให้สร้างตำแหน่งผุ้บริหารึ้น 2 ตำแหน่งใหม่ คือ
            1. ประธานคณะมนตรียุดรป (เที่ยบเท่าผู้นำรัฐบาล/ประมุขแห่งรัฐ)
            2. ผู้แทนระดับสูงของสหภาพยุโรปด้านการต่างประเทศและนโยบายความมั่นคง (เที่ยบเท่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ อียู) มีหน้าที่คือ ดูและเรื่องนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงที่มาจากการตัดสินใจร่วมกันของ ประเทศสมาชิก และเป็นประธานในการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิก อียู (แทนระบบประเทศสมาชิกผลัดกันเป็นประธาน วาระละ 6 เดือน
           การขยายสมาชิกภาพของ อียู และการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเท่าภัยพิบัติ ซึ่งทำให้บุคคลที่รับหน้าที่ี้มีอำนาจหน้าที่ท้งในคณะกรรมธิการยุโปร และคณะมรจรีแห่งสหภาพยุโรป
           อย่างไรก็ดี ประเทศสมาชิก อียู ยังคงมีอำนาจในการดำเนินนโยบายต่างประเทศและนโยบายด้านการทหาร ความมั่นคงเชืนเ ดิมโดยการสนับสนุนด้านทรัพยการบุคคลท้งพลเรือนและทหารแก่ อียู เพื่อการดำเนินการด้านการป้องกันและความปลอดภัยร่วม ขึ้นอยู่กับความสมัครใจของแต่ละประเทศสมาชิก
           3. สนธิสัญญาลิสบอนกำหนดให้มีการจัดตั้ง ยูโรเปี้ยน เอ็กเทอร์นอล แอคชั่น เซอร์วิส เพื่อทำหน้าที่เป้น "กระทรวงการต่างประเทศ" ของ อียู โดยมีการคัดสรรบุคลากรจากระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกและสถาบนอื่นๆ ของ อียู มาปฏิบัติราชการเืพ่อสนับสนุนการทำงานของผุ้แทรระดับสูงของ อียู ด้านการต่างประเทศ ฯ และ เริ่มปฏิบัิตการเมือวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2011 โดยขึ้นตรงต่อผุ้แทนระดับสูงของ อียู ด้านการต่างประเทศฯและดำเนินานเป็นอิสระจากคณะกรรมาธิการยุดรปและคณะมนตรียุโรป โดยมีสำนักงานใหญ่ ณ กรุงบรัสเซลส์
             การจัดตั้ง "กระทรวงการต่างประเทศ" ของ อียู ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อเรียกของสำนักงานคณะผู้แทนคณะกรรมาธิการยุโป เป็นสำนักงานคณะผู้แทน อียู โดยอยู่ภายใต้สังกัน "กระทรวงการต่างประเทศ" ของอียู เอกอัครราชทูตและหัวหร้าคณะผู้แทน อียูทำหน้าที่เป็นผู้แทน อียู ในการดำเนินนโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคงกับประเทศที่สาม
           อำนาจห้าที่ของ กระทรวงการต่างประเทศของอียู ได้แก่
           -ทำหน้าที่เป็นกระทรวงการต่างประเทศของ อียู ในด้านนโยบายร่วมด้านการต่างประเทสและความั่นคง
            -รับผิดชอบในเรื่องการยุติความขัดแย้งระหว่างประเทศแลการสร้างสันติภาพ ส่วนคณะกรรมาธิการยุโรปรับผิดชอบงานด้านการให้ความช่วยเหลื่อเพื่อการพัฒนา พลังงาน การขยายสมาชิกาภพของ อียู และการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งให้ความสำคัญเป็นพิเศษกับความสัมพันธ์กับประเทศเืพ่อบ้านของ อียู และความสัมพันธ์กับประเ?สที่ อียูมองว่ามีศักยภาพในด้านการเมืองและเศราฐกิจ อาทิ บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน แอฟริการ และสาธารณรัฐเกาหลี โดย อียู จะขยายคาชวามร่วมมือกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเฉพาะในกรอบ อาเซียน และอาเซยน รีเจียลแนล ฟอร์รัม
            - สนธิสัญญาลิสบอนเป็นสนธิสัญญาฉบับแรกที่ให้พื้นฐานทางกฎหมายแก่ อียู ในการดเนินการด้านความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ดดยมีการระบุอย่างชัดเจน่า การลดและขจัดคามยากจนในประเทศที่สามาเป้นวัตถุประสงค์สำคัญของนโยบายความร่วมมือเพื่อากรพัฒนาของ อียู อย่างไรก็ดี การดำเนินนโบายนี้ยังขึ้นอยุ่กับดุลพินิจของแต่ละประเทศสมาชิก อียู เนื่องจาไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายรวมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง
            - สนธิสัญญาบิสบอนให้ความสำคัญต่อส่ิงแวดล้อม และการจัดการปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ โดยกำหนดว่า เป้าหมายหนึ่งของ อียู ได้แก การพัฒนาที่ยั่งยืนบนพื้นฐานของการปกป้องและพัฒนาคุณภาพของสิ่งแวดล้ม โดยการจัดการกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอากาศเป็นเป้าหมายที่สำคัญ ประการหนึ่งภายใต้นโยบายสิ่งแวดล้องของ อียู นอกจานี้ สนธิสัญญาลิสบอนยังระบุว่า การพัฒนาที่ยั่งยืนเป้นเป้าหมายหนึ่งของ อียู ในการดำเนินความสัมพันธ์กับประเทศที่สาม
            - สนธิสัญยาลิสบอนไกำหนดให้สภายุโรปมีบทบาทมากขึ้นเนื่องจากไ้รับอำนาจากขึ้นในการ่วมพิจารณาร่างกฎหมายของ อียู เกือบทั้งหมด เช่น เกษตรกรรม พลังงาน ความมั่นคง การตรวจคนเข้าเมือง ยุติธรรม มหาดไทย และสาธารณสุข สนธิสัญญาลิสบอนยังกำหนดให้สภายุโรปต้องหารือกับรัฐสภาของประเทศสมาชิก เกี่ยวกับร่างกฎหมาย ตั้งแต่เร่ิมต้นกระบวนการพิจารณาร่างกฎหมาย ซึงจะทำใหการทำงานของ อียู มีลักษณะเป็นประชาธิปไตย มากขึ้น และใขณะเดียวกัน จะมีความคาดหวังจากสภยุโรปสูงขึ้นเชนกัน นอกจากนี้ มีการเพ่ิมจำนวนสมาชิกสภาประชาธิปไตย มากขึ้น และในขณเดียวกัน จะมีความคาดหวังจากสภายุโรปสูงขึ้นเช่นกัน นอกจากนี้ มีการเพ่ิมจำนวนสมาชิกสภาพยุโรปจากเดิมจำนวน 736 คน เป็นจำนวนไม่เกิน 750 คน ดดยแต่ละประเทศสมาชิกจะมีสมาชิกสภายุโรปได้สูงสุดไม่เกิน 96 คน...http://thaiembassy.dk/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD-%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2/

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...