วันพฤหัสบดีที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Homeless

         
 คนไร้บ้านเพิ่ม ผลสะท้อนความเหลื่่อมล้ำทางสังคม
            "คนไร้บ้าน" ยังคมมีให้เห็นอยุ่ทั่วพื้นที่ กทม. ปม้ว่าหลายหน่วยงานจะยื่อมือให้ความเชื่อยเหลื่อ แต่ "คนไร้บ้าน" ก็ยังเป็นหนึ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความเหลื่อมล้ำทางสังคม และผลพวงจากการเข้าไม่ถึงสวัสดิการที่รัฐบาลจัดไว้
              เผยสถิตคนไร้บ้าน
              ข้อมูลจากมูลนิธิอิสรชน ที่สำรวจนำนวนคนไร้บ้านทั่ว กทม. ปี 2559 พบว่า มีจำนวน 3,486 คน เป็นชาย 2,112 คน หญิง 1,374 คนแยกเป็นปลุ่มเร่รอ่นไปมา 993 คน กลุ่มผุ้ติสุรา 858 กลุ่มผู้นอนหลับชั่วคราว 853 คน ซึ่งมีทั้งเป็นผู้เพิ่งพ้นโทษ เป็นผู้ป่วยข้างถนนถึงมีนไร้บาต่างชาติ 25 คน กลุ่มแรงงานเพื่อนบ้านต่างชาติ 25 คน กลุ่มแรงงานเพื่อนบ้านต่างชาติ 51 คน และผุ้ให้บริการทางเพศ 28 คน
             มูลเหตุหนึ่งที่มุลนิธิอิสรชนชีชัดว่าเป็นเหตุผลหลักที่ทำให้จำนวนคนไร้บ้าเพ่ิมขึ้นมากว่า ปี 2558 ถึง 175 คน คือผลกระทบจาก พ.ร.บ.ธุรกิจรักษาความปลดภัย พ.ศ. 2558 ที่กำหนดคุณสมบัติเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ต้องมีวุฒิการศึกษาขั้นต่ำ ระดับ ม. 3 ส่งผลห้มีผุ้ตกงาน หรือต้องออกจากงานมใช้ชีวิตในที่สาธารณะเพ่ิมขึ้น
             
              ปัญหาสูงวัย สุขภาพ ต้องเร่งแก้ไข
              ขณะที่สำนกงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำนวจพบว่ มีคนไร้บ้านใน กทม. ทั้งที่อยุ่ในพื้นที่สาธารณะและศูนย์พักพิง ชัวคราวจำนวน 1,307 คน สวนใหย ประมาณ 32.5% มีอายุระหว่าง 40-49 ปี และมีผุ้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) สูงถึง 22% ถือได้ว่าสังคมคนไร้บ้าน เป็นสังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์ก่อนผุ้สูงอายุปกติในสังคม และยังพบว่าคนไร้บ้านเป็นกลุ่มประชากรที่มีปัญหารทงสุขภาพมกกว่าค่าเฉลี่ยของสังคมไทยโยรวม คือมีปัญหาโรคประจำตัวโดยเฉพาะความดันโลหิตสูง ถึง 51% ขณะที่คนทั่วไปอยู่ที่ 20% มีปัญหาสุขภาพจิตที่ไม่รุนแรง (ไม่เป็นอันตรายต่อสังคม) ประมาณ 70% ขณะที่คนทั่วไปอยู่ที่ 17 % มีโรคประจำตัวโดยเฉาพะโรคไม่ติต่อเรื้อรัง 31% ขณะที่คนทั่วไปอยู่ที่ 22% และมีปัญหาสุขภาพช่องปาก 70% ขณะที่คนทั่วไปอยู่ที่ 50%
            นอกจากนี้ ยังพบว่าการอยุ่นพื้นที่สาะารณะในระยะเวลานาน เป็นปัจจัยเสียงสำคัญที่ทำให้สุขภาพแย่งลง ดดยมากว่า 50% มีปัญหาการเข้าถึงบริาการสุขภาพที่ครอบคลุมและมีประสทิธภาพ ซึ่งมาจาก 2 ปัจจัยหลักคือ ไม่มีบัตรประชาชน 28% มีปัญหารเรื่องการเข้าถึงบริการสุขภาพ 22%
            คนไร้บ้านกระจุกตัวบริเวณเกาะรัตนโกาสินร์
            จากสถานะการณืที่คนไร้บ้านที่มีจำนวนเพ่ิมขึ้น รัฐบาลจึงได้มอบหมยให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สำนักงานตำรวจแห่งชติ กรุงเทพมหานคร กรระทรวงสาธารณุข และภาคประชาสังคม ร่วมกันสำรวจผุ้เร่รอน ไร้ที่พึ่ง ขอทาน เพื่อให้ความช่วยเหลือคุ้มครองโดยเร่ิมดำเนินการตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2017
           
โดยผลสำรวจล่าสุดช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่ารมาพบว่ มีกลุ่มคนไร้ที่พึ่ง จำนวน 484 ราย โดยกลุ่มคนเห่านี้จะอาศัยอยู่ตามสถานีขนส่งสถานีรถไฟ ปและส่วนใหญ่กระจุกตัวอยุ่ในพื้นที่กาะรัตนโกสินทร์ สาเหตุมาจากความยากจน 271 ราย การไม่มีที่อยู่อาศัย 108 ราย ส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 57 ราย และส่งเข้ารับความุคุ้มครองเพื่อฟื้นฟู พัฒนาคุณภาพชีวิต 344 ราย
            ทั้งนี้ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดการ (พส.) ในฐานะหน่วยงานหลักที่ขับเบื่อน พ.ร.บ. คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ. 2557 มีการดำเนินในด้านที่พักอาศัยชัวคราว บ้านมิตรไม่ตรี ให้บริการปัจจัย 4 แก่คนไร้ที่พึ่ง มีการช่วยเหลือประสานสืบหาข้อมูลทางทะเบียน ซึ่งหากเป้นบุคคลสัญชาติไทย จะช่วยประสานสืบค้นข้อุลเอกสาร เพื่อคืนสิทธิความเป็นคนไทย และหากข้อมูลไม่เีพยงพอ จะประสานกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เพื่อยื่นทำประวัติทะเบียบในการับสิทะิด้านต่างๆ ตามหลักสิทธิมุนษยชน
            รัฐต้องเข้าใจปัญหาและแก้ให้ถุกจุด
            อย่างไรกฌค่ททฝุบริธีกระจกเง แดสงความเห้นว่า แนวทางที่รัฐบาทำอยุ่ ยังไม่ตรงจุด การจัดระเบียบของรัฐมีผลกระทบต่อกลุ่มคนไร้บาน บางคนเดิมเลื่อกอยู่อาศัยในจุดที่ใกล้แหล่งอาหารก็ต้องโยกย้าย รัฐใช้ พ.ร.บ. คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ร.บ. รักษาความสอาดเป็นตัวควบคุม มีเจ้าหน้าที่ลงพท้นที่บังคับให้คนไร้บ้านไปอยู่ในสภานพักพิงต่างๆ ซึ่ง 70% เป็นสถานจิตเวช บางแห่งก้็มการฝึกทักษะอาชีพที่ไ่ตรงกับความถนัด
            ในต่างประเทศ มีมุองต่อกลุ่มคนไร้บ้าน 2 แบบ แบบแรกมอง่าเป้นกลุ่มคนที่เข้าไม่ถึงสวัสดิการพื้นฐานแบบที่สองคือ มองเป็นวิถีชีวิต เป็นทางเลือกในอีกรูปแบบหนึ่ง แต่ไม่ใช่วิถีชีวิตที่ย่ำแย่ เพราะมีรฐสวัสดการรองรับ ทำให้ยังมีคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งตรงนี้
แตกต่างกับประเทศไทย เพราะคนไทยแม้จะมทำงานมาก แต่ด้วยค่าครองชีพ ภาวะเศราฐกิจทำให้รยได้ไม่เีพยงพอก็ป็นปัญหาหนึ่ง เรื่องการเข้าถึงสิทธิและบริการด้านต่างๆ เรื่องการขาดสถานะทางสังคม หางานไม่ได้ไม่มีบัตรประชาชน ล้วนเป็นปัจจัยที่ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ไม่ดี ส่งผลให้กลายเป้นคนไต้บ้านไร้ที่พึ่ง ซึ่งทางภาครัฐต้องเข้าใจที่มาของปัญหา ต้องหารูปแบบการช่วยเลหือที่เหมาะสม ซึ่งการแก้ปัญหาก็จะแตกต่างไปตามบุคคล เปิดเหว้างรับฟังและให้โอากสให้ภาคสังคม มูนิธิต่างๆ ที่คลุกคลีกับคนไร้บ้านเข้าไปข่วยวางแนวทางและดำเนิการแก้ไขด้วย
            ขณะนี้มูลนิธิกระจกเงา ร่วมกันศูนย์วิจัยสังคม สุฆาลงกรณืมหาวิทยาลัย ร่วมกันสำรวจข้อมูล
ความต้องการทั้งด้านที่พักอาศัย และความช่วยเหลือต่างๆ เพื่อนำมาสรุปหาแนวทางทเ่เหมาะสม โดยจะมีการประชุมประมวลผลกันในวันที่ 5 สิงห่คนที่จะถึงนี้ จากนั้นจะรวมข้อมุลนำเสนอในหน่วยงานที่เีก่ยชวข้องับทราบเพื่อที่จะนำไปสู่การแก้ไขปัญาอย่างยั่งยืนต่อไป
            เห็นได้ว่า "คนไร้บ้าน " เป็นปรากฎการณืหนึ่ง ที่ไม่ได้ต้องการเพียงควมเข้าจ การให้โอกาสของคนในสังคม แต่ต้องได้รับโอกาสการทำงานการสร้างายได้ที่มั่นคงเพียงพอ ลดช่องว่างจากปัญหาความเลหื่อมล้ำทางสังคม เปิดโอกาใการเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐานให้กว้างขึ้จจากรัฐบาลคนไร้http://www.bltbangkok.com/News/%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1
บ้านจะได้มีชีิวตที่มีคุณภาพที่ดีขึ้นได้.....
         

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...