EU

           สหภาพยุโรประกอบไปด้วยรัฐอิสระ 28 ประเทศ เป็นที่รู้จักกันในสถานะรัฐสมาชิก : ออสเตรีย เบลเยียม บัลแกเรีย โครเอเชีย ไซปรัส สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ฮังการี ไอร์แลนด์ อิตาลี ลัตเวีย ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก มอลตา เนเธอแลนด์ โปแล้นด์ โปรตุเกส โรมาเนีย สโลวาเกี่ย สโลวีเนีย สเปน สวีเดน และสหราชอาณาจักร
           ปัจจุบันมีประเทศสมัครเข้าเป็นสมาชิก 28 ประเทศคือ มาชิโดเนียและตุรกี ส่วนประเทศแถบคาบสมุทรบอลข่านตะวันตก เช่น แอลเบเนีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกรและเซอร์เบีย ถูกจัดให้เป็นประเทศที่สามารถสมัครเข้าเป้นสมาชิกได้โคโซโวเองก็ได้สถานนีเช่นเดียวกัน
           ปี 1950 ประเทศฝรั่งเศสมีโครงการจะก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กล้ายุโรป ขึ้น เพราะนอกจากจะเป็นการช่วยยกฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศในยุโรปแล้ว ยัวเป้นการสร้างพื้นฐานในการที่จะก้าวไปสู่การเป็นสหพันธ์รัฐในอนาคตด้วย ฝรั่งเศสจึงขอความร่วมมือจากประเทศต่างๆ ในทวิปยุโรป โดยการแถลงการณ์ต่อบรรดผู้แทนของหนังสือพิมพ์ทั่วดลก และเมืองฝรั่งเศสแถงการณ์ออกไปแล้ว ประเทศเยอรมนี เบลเยียม อิตาลี ลักเซมเบอร์ก และเนเธอร์แลนด์ ได้ตกลงร่วมมือสมัครเข้าเป็นสมาชิก และได้จัดตั้งเป็นองค์การ ECSC อย่างเป็นทางการเมืองวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1951
         
 ต่อมาผู้นำประเทศทั้ง 6 ได้ร่วมกันจัดตั้งองค์การป้องกันยุโรป ขึ้นอีกองค์การหนึ่งเพื่อให้ประเทศสมาชิกได้มีความร่วมมือกนทางการเมือง (EDC) และเพื่อเป้นการสนับสนุนองค์การนาโตด้วย และในการจัดตั้งองค์การนี้จะทำให้ยุโรปมีกองทัพที่สมบุรณ์ แต่ EDC ก็ไม่สามารถดำเนินงานไปได้ เรพาะรัฐสภาพของฝรั่งเศสไม่ยอมให้สัตยาบัน แต่ด้วยความจำเป็นที่ยุโรปจะต้องมีนโยบายต่างประเทศร่วมกัน เพื่อจะให้มีกองทัพมีบูรณภาพ รัฐมนตรีต่างปรเทศของประเทศสมาชิกทั้ง 6 จึงมอบหมายหน้าที่ให้สภาของ ECSC เตรียมดครงการจัดตั้งประชาคมการเมืองยุดรป ขึ้น เพื่อเสนอต่อรัฐบาลของประเทศทั้ง 6 ซึ่งมีจุดประสงคืที่จะดำเนินนโยบายทางการต่างประเทศและการป้องกันประเทศ ต่อมาประเทศทั้ง 6 ก็เปลี่ยนแนวทางจากการรวมตัวทางการเมืองมาเป็นการรวมตัวทางเศณาฐกิจแทน และได้ร่วมมือกันก่อตั้งกลุ่มประชาคมเศราฐกิจยุโรป หรือตลาดร่วมยุโรป และประชาคมพลังงานปรมาณู ยุโรป หรือยูเรตอน ขึ้นเมือง ปี 1957
          การก่อตั้งองค์กรท้ง 2 นี้เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จในการรวมกลุ่มทางเศราฐกิจที่สำคัญของยุโรปตะวันตก
          ต่อมาเพื่อเป็นการสร้างเสริมความมั่นคงให้แก่ทวีปยุโรป จึงมการรวมองค์กรบริหารเข้าด้วยกัน ใช้ชื่อว่า ประชาคมยุโรป ในปี 1967 เพื่อประโยชน์ทางด้านเศราฐกิจ และในวันที่ 1 พฤศจิกายน 1993 EC เปลี่ยนชืื่อเป็นสหภาพยุโรป (EU) เพราะนอกจากจะร่วมือกันทางเศษรฐกิจแล้ว ยังเป็นองค์การความร่วมมือทางด้านการเมืองระหว่างประเทศสมาชิกด้วย 
           การรวมตัว สนธิสัญญามาสทริชท์ เน้น "เสาหลัก" 3 ประการ คือ
           1. การรวมตัวด้านเศรษฐกิจ ยุโปรตลาดเดียว ให้มีการเคลื่อนที่ปัจจัย 4 ประการ โดยเสรี คือ บุคคล, สินค้า, การบริการ, ทุน มีนโยบายรวมกัน ในด้านการต้า การเกษตร พลงงาน สิ่งแวดล้อม ประมง และด้านสังคมเป็นต้น สหภาพเศราฐกิจแลการเงิน ได้เข้าสู่ขั้นตอนสุดท้ายของ EMU เมื่อวันที่ 1 มกราคม 1999 ซึ่งมีเงินสกุลเดียวคือ เงินยูโร และมีธนาคารกลางของสหภาพ
          2. นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศ และความมั่นคง และนโยบายด้านความมั่นคงและการป้องกันประเทศ
           3. ความร่วมมือด้านกระบวนการยุติธรรมและกิจการภายใน (มหาดไทย) รวมทังการตรวจคนเข้าเมือง การปราบปรามอาชญากรรมและยาเสพติด การจัดตั้งกองตำรวจร่วม "ยูโรโปล" และการดำเนินการร่วมด้านความมั่นคงภายใน ฯลฯ
         
กลไกการบริหารจัดการของสหภาพยุโรป มีดังนี้
           1. คณะกรรมกาธิการยุโรป เป็นองคการฝ่าบบริหาร ดูแลประโยชน์ของประชาคมโดยส่วนรวม มีความเป้นอิสระไม่ขึ้นต่อตัฐใดรัฐหนึ่ง
           2. คณะทนตรี ประกอบด้วย ตัวแทนจากรัฐสมาชิก
           3. ศาลตุลาการยุโรป
           4. สภายุโรป ประกอบด้วย สมาชิกสภายุโรปจำนวน 731 คนมาจาการเลื่อกตั้งโดยตรงทุกๆ 5 ปี โดยสมาชิกสภายุโรปเหล่านี้มิได้แบ่งตามประเทศ แต่สังกัดอยุ่กับพรรคการเมืองในระดับยุโรปที่มีแนวคิดทางการเมืองสอดคล้องกับพรรคการเมืองในระดับประเทศที่ตนสังกัดมากที่สุ ยังมีสมาชิกสภายุโรปบางส่วนที่ไม่ได้สังกัดพรรคการเมืองใด ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ สภาพยุโรป คือ เสียงแห่งประชาธิปไตยของประชาชนยุโรป ทั้งนี้ ประธานสภายุโรป ณ พฤษภาคม 2006 คือ นาย โจเซฟ โบเรล
         กล่าวโดยสรุป สหภาพยุโรปเป็นการรวมกลุ่มของประเทศในภูมิภาคยุโรปท้้งด้านการมเืง อเสณาฐกิจ และสังคมในลักษณะสภาบันแบบ "เหนือรัฐ" ที่ใหญ่ที่สุดและก้าวหน้าที่สุดในโลก โดยมีวัถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างสันติภาพเป็นการถาวะระหว่งประเทศในภุมิภาคยุโรปภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 รวมไปถึงการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศราฐกิจแก่ประเทศสมาชิกและการมีบทบาทนำของ "อียู" ในประชาคมโลก
           กระบวนการถ่ายโอนอำนาจการบริหารจากประเทศสมาชิกไปสู่การเป็นองค์การเหนือรัฐของสหภาพยุโรปมีขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป การรวมกลุ่มอย่างเป็นรูปธรรมเกิดขึ้นครั้งแรกเมือปี 1950 ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยประเทศยุโรปตะวันตก  6 ประเทศ โดยร่ามกันจัดตั้งประชคมถ่านหินและหล็กล้ายุโรป ขึ้น ซึ่งแม้เป้าหมายสูงสุดของการรวมกลุ่มจะมีขึ้นเพื่อผลประดยชน์างด้านการเมือง แต่ได้เลือกวิธีการร่วมกลุ่มทางเศณา๙กิจเป็นตัวนำเพื่อคลายความระแวงสงสัยของประเทศต่างๆ ในเรื่องการสูญเสียอำนาจอธิปไตย การรวมกลุ่มดังกล่าวประสบผลสำเร็จด้วยดี ทำให้ต่อมาในปี 1957 การรวมกลุ่มได้ขยายตัวครอบคลุมภาคเศราฐกิจอื่นๆ โดยแต่ละประเทสได้ลงนาในสนะิสัญญากรุงโรม เพื่อจัดต้งประชาคมเศณาฐกิจยุโรป เพื่อให้เป็นทั้งสหภายสุลกากร และตลาดร่วม กระบวนารรวมกลุ่มประสบความสำเร็จอย่างมากในด้านเศรษฐกิจ
         
ปี 1990 หลังช่วงสงครามเย็น ฝรั่วเศสและเยอรมันเสนอให้มีการจัดตั้งสหภาพการเมืองของยุโรปเพื่อให้มีการกำหนดนโยบายด้านการต่างประเทศและความมั่นคงร่วมกัน ซึ่งท้ายที่สุด นำไปสู่การลงนามในสนธิสัญญากรุงมสตริดต์ เืพ่อจัดตั้งสหภาพยุโรป  ขึ้นในปี 1992 รวมไปถึงการใช้เงินสกุลยูโรร่วมกันด้วย ต่อมา ปี 2007 ประเทศสมาชิก EU ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับปรุงโครงสร้างเพื่อตอบสนองกระบวนการบูรณาการภายใน EU ที่ก้าวหน้าขึ้นและบทบาทที่เพ่มมากขึ้นของ EU ในประชาคมโลก จึงได้ร่วมลงนาในสนธิสัญญาลิสบอน โดยประเทศสมาชิกให้ความเห้นชอบในการสละอำนาจอธิไตยบางส่นให้แก่ความ่วมมือเหนือชาติ ในเรื่อง 1. สหภาพสุลการกร, 2. การออกกฎระเบียบด้านการแข่งขัน 3. นโยบายด้านการเงิน สำหรับรัฐสมาชิก EU ที่ใช้เงินสกุลยูดร 4. การอนุรักษทรัพยากรชีวภาพทางทะเล ภายใต้นโยบายร่วมด้านประมง และ 5. นโยบายการต้าร่วม ทั้งนี้ สนธิสัญญาลิสบอนมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009
             ปัจจุบัน EU มีรัฐสมาชิกจำนวน 28 ประเทศ มีระบบตลาดร่วม ระบบภาษีศุลกากรร่วม การใช้เงินสกุลยุดรร่วมกันใน 17 ประเทศสมาชิก และมีศุย์กลางการบริหารอยุ่ที่กรงุบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม
           
             - http://www.apecthai.org/index.php/คลังความรู้/องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่สำคัญ
             - http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%9B
            - http://www.europetouch.in.th/main/OrganizationDetail/สหภาพยุโรป%20(The%20European%20Union%20-%20EU)=94l84l84l84l35l94l28l97l.htm
          - https://kung44.wordpress.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3/
         
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)