วันศุกร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2560

ASEAN new generation

           ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เมื่อสำรวจความเป้นไปในแต่ละภูมิภาคทั่วโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้คือภูมิภาคิที่หลายๆ ประเทศอยากจะกระชับความสัมพันธ์และขยายความร่วมมือ เพราะมองว่่าเป้นภูมิภาคแห่งความหวัง เนื่องจากปลดสงครามกลาางเมืองรุนแรงอย่างที่กำลังเกิดขึ้นในตะวันออกกลาง และยังเป็นภูมิภาคที่ขับเคลื่อนด้วยความรู้และพลังใหม่ๆ จนเป็นเขตเศราฐกิจน่าจับตามอง
           แต่ภายใต้พลังใหม่ๆ ภูมิภาคนี้กำลังเผชิญปัญหาด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน ความเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติและชาติพันธุื การใช้อำนาจในทางที่ผิดของรัฐบาล และสิทะิเสรีภาพในการแสดงออกที่ถูกลิดรอน มีท้งประเทศที่กำลังเป้นประเทศประชาธิปไตยใหม่ ประเทศที่ประชาธิไตยยัคงสะดุด และประเทศที่ประชาธิปไตยยังถูกตั้งคำถาม แม้จะม่การเลือกตั้งเป้นประจำก็ตามรวมถึงยังเป็นภูมิภาคที่พบว่ามีคนเดินทางไปร่วมรบกับกลุ่มหัวรุนแรงอย่างต่อเนื่องจนกลายเป้นอีกพื้นที่ที่เฝ้าระวังกลุ่มก่อการร้ายที่สำคัญ
          สิ่งเหล่านนี้คือความท้าทายที่ภูมภาคเรากำลังเผชิญร่วมกัน และ THE STANDARD เลือกที่จะสะท้อนความเป็นไปที่เกิดขึ้นผ่านการพูดคุญกับคนรุ่นใหม่ 5 ประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซย เมียนมา และกัมพุชา ที่เลือกเผชิญหน้าความท้าทายเหล่านี้ผ่านหมวกแต่ละใบที่พวกเขาสวม ตั้งแต่ นักข่าว นักวิจัย นักรณรงค์ ไปจนถึงนักการเมือง...
             เคิร์สเทน ฮาน นักขาวออนไลน์รุ่นใหม่ของสิงคโปร์
             สิงคโปร์ : "เสียงทางเลือก" ในวันที่ พ.ร.บ.การออกอากาศ กดทบการมีส่วนร่วมของประชาชน
             สิงคโปร์และมาเลเซีย คือสองประเทศที่ถูกปกครองโดยพรรคกาการเมืองเพียงพรรคเดียวมาอย่างยาวนาน ขณะที่สิงคโปร์ถูกปกครองโดยพรรค People's Action Party (PAP) มาตั้งแต่เป็นเอราชจากอังกฤษ มาเลเซยถูกปกครองโดยพรรค United Malas Nation Organisation (UMNO) ตั้งแต่เป็นเอกราชจากอังกฤษเช่นกัน จนประชาธิไตยของสองประเทศนี้ถูกตั้งคำถามจากการที่มีระบบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาด ถึงแม้จะมีการเลือกตั้งเกิดขึ้นเป็นประจำก็ตาม หรือท่นักวิชาการ อธิบายลักษณะระบอบการเมืองของสิงคโปร์และมาเลเซียว่่าเป้นประชาธิปไตยครึ่งใบ ระบอบการเมืองของสิงคโปร์และมาเลเซียสะท้อนไปถึงเรื่องของการเมืองแบบอัตลักษณ์ ที่ส่งผลใก้สองประเทศนี้เผชิญกับความเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติภายในประเทศ
            การมี "เสียงทางเลือก" จึงสำคัญในระบอบประชาธิปไตย โดยเฉาพะในเวลาที่สิทธิในการออกเสียงของผระชาชนหรือ่ฝ่ายตรงข้ามรัฐบาลถูกลิดรอน ซึ่ง เคิร์สเทน ฮาน เลือกที่จะป็นกระบอกเสียงนี้ผ่านบทบาทของนักข่าว เธอได้สะท้อนปัญหาเรื่องการลิดรอนเสรีภาพในการแสดงออกของประชาชนและความเหลื่อมล้ำทางชาติพันธ์ในสิงคโปร์ โดยเฉพาะเช้อชาติมาเลย์และอินเดียวทีนับว่าเป้นคนกลุ่มน้อยในสิงคโปร์ จนรายงานข่าวของเธอหลายชิ้นถูกเผยแพร่ผ่านเสื่อต่างชติ  เพราะเธอเชื่อว่าข้อมูลที่เพียงพอและหลากหลายจะสร้างสังคมแห่งการถกเถียงและคิดวิเคราะห์
          "ฉันไม่คิดว่าสิงคโปร์ต้องการ คนใดคนหนึ่ง ที่จะมาสร้างความเลี่ยนแปลง ฉันคิดว่ามันจะมีความมหยมากกว่าหากมีชาวสิงคโปร์ตระหนักสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศมากขึ้นเรื่อยๆ และมีการต้งคำถามกับสิ่งที่เกิดขึ้น
         "ฉันมองว่าการคิดวิเคราะห์นั้นแตกต่างจากการเยาะเย้ยถากถาง แต่คือการเปิดกว้างต่อคำวิพากษืวิจารณ์ เพราะเราไม่สามารถที่จะฝากความหวังไวกับใครคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มคนเพียงกลุ่มเดียวได้ แต่มันคอกาเรเปิดโอกาสให้คนเข้ามามีส่วนร่วมมกที่สุด"
          เครื่องมือหนึ่งที่รัฐบาลสิงคโปร์ใช้เพื่อกดทับการมีส่วรวมของประชาชน คือ พ.ร.บ. การออกอากาศที่ควบคุมเนื้อหาที่เผยแพร่บนสื่อต่างๆ และจับกุมนักข่าวที่เผยแพร่เนื้อหาที่รัฐมองว่าเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ จนกฎหมายฉบับนี้ถูกวิพากษ์วิจารณืจากทั้งในและต่างประเทศว่ารัฐบาลสิงคโปร์ลิดรอนสิทธิปละเสรีภาพของฝ่ายตรงข้าม รวมถึงประชาชนเองในการตรวจสอบและวิพากษืวิจารณืรัฐบาลของพรรค ได้เต็มที่ ซึ่งแท้จริงแล้วสิ่งนี้เป็น "บรรทัพฐาน" ที่สำคัญในสังคมประชาธิปไตย จนองค์กรผุ้สื่อข่าวไร้พรมแดนจัดอันดับเสรีภาพสื่อของสิงคโปร์อยู่ที่อันดับ 151 จาก ทั้งหมด 180 ประเทศ
          ฮาน มองว่า หัวใจของการเป้ฯนักข่าวนั้นไม่ใช่เีพยงแค่การวิพากษืวิจารณ์รัฐบาล แต่คือการคำ้จุนหลักการแลยึดถือคุณค่าในสังคมประชาธิปไตย
          "ความน่าเชื่อถือและความโปร่งใสคือสิ่งสำคัญในระบอบการปกครอง เพราะประชาชนมีสิทธิที่จะรู้ว่าคนที่อยู่ในอำนาจนั้บริหารจัดการกับเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตพวกเขาอย่างไร หากทุกอย่างเป็นไปด้วยดี สิ่งเหล่านีก็จะช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้กับรัฐบาล แต่สิ่งเหล่านี้ก็จะสะท้อนออกมาเช่นกันหากมีความไม่ชอบมาพากลเกิดขึ้น และนี่คือสาเหตุว่าทำไมเราถึงจำเป็นต้องมีองค์กรอิสระ ไม่ว่าจะเป้นสื่อมวลชนหรือภาคส่วนอื่นๆ ก็ตาม"
           มาถึงวันนี้ แม้ พ.ร.บ.การออกอากาศจะยังถุกบังคับใช้อยู่ในสิ.คโปร์ แต่เสียงของคนรุ่นใหม่ในสิงคโปร์ก็เร่ิมสะท้อนก้องดังมากขึ้นผ่านสื่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาพยนตร์หรือสื่อออนไลน์ และสิ่งที่สะท้อนออกมาในการเลือกตั้งทั่วไปของสิคโปร์ครั้งล่าสุดในปี 2015 ที่พรคการเมืองอื่นๆ เร่ิมมีพื้นที่และได้รับคะแนนเสียงมากขึ้น...
             ดีอานา ซอฟยา นักการเมืองผู้หญิงรุ่นใหม่ในพรรคผ่ายค้าน มาเลเซีย 
             มาเลเซีย : ความกลัวของประชาขน - คอร์รัปชั่น ของนักการเมืองภายใตระบบการเมืองพรรคเพียวแบบผุกขาด
              เช่นเดียวกับ ดีอานา ซอฟยา หญิงสาวชาวมาเลเซีย วัย 29 ปีเลือกจะเป็น "เสียงทางเลือก" ท่ามกลางกลุ่มอำนาจที่ปกครองประเทศมาอย่างยาวนานผ่านบทบาทของัการเมืองผุ้หญิงรุ่นใหม่ในพรรฝ่ายค้าน ที่สมาชิกพรรคมีความหลาหลายทางเชื้อชติมากที่สุด หลังจากมาเลเซียเผชิญกับปัญหาระบบพรรคการเมืองผุกขาดคล้ายคลึงกับสิงคโปร์ และควาเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติระหว่างมาเลย์ จีน และอินเดีย
           "ระบบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาดสร้างความกลัวให้กับประชาชน ประชาธิปไตยไม่สามารถทำงานได้อย่างมประสิทธิภาพ หากระบอบกาเรมืองออแบบให้พรรคโดพรรคหนึ่งเป็นผุ้ชนะเสมอโดยใช้ประเด็นเรื่องเชื้อชาติมาสร้างความหวาดกลัว และระบบนี้ทำให้มีคนเพียงกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านันที่ได้รับผลประดยชน์หรือเลือกที่เจะเข้าข้างรัฐบาลอย่างไม่สนใจความถูกต้องเพราะต้องการผลประโยชน์จากรัฐบาลเช่นกัน และสิงที่นำไปสู่การขาดสังคมที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด และท้ายที่สุดเราจะได้รับฐาลที่ทำเพื่อตัวเองมากว่าประชาชน" ซึ่งปีที่แล้วมีรายงานข่าวที่พบว่ามีการโอนเงินจากองทุนจำนวน 900 ลาดอลลาร์สหรัฐ เข้าบัญชีส่วนตัวของประธานาธิบดี นาจิบ ราซัด
          ระบบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาดในมาเลเซียยังนำมาสูปัญหาความไม่เท่าเที่ยมทางเชื้อชาติ เรพาะว่ทกรรมเรื่องเกี่ยวกับเชื้อชาติเป็นอีกปัจจัยที่ส่งผลให้พรรคการเมือง "อันโน่" ปกครองประเทศมายาวนาน ซึ่งดีอานามองว่าการมี ส.ส. ที่เป้นตัวแทนของแต่ละเชื้อชาติให้ได้มากที่สุดนั้น แท้จริงไม่ใช่คำตอง แต่ตัวแทนเหล่านั้นจะต้องเป็นตัวแทนของประชาชนทุกคนโดยไม่จำกัดเชื้อชาติหรือสีผิว
          "ฉันคิดว่าวิธีคิดแบบนี้มันไม่ได้ตอบโจทย์อีกต่อไป เชื้อชาติของ ส.ส. ไม่ควรจะเป้นปัจจัยด้วยซ้ำ เพราะตราบใดที่ ส.ส. นั้นเป้นตัวแทนและทำงานเพื่อประชาชนชาวมาเลเซียทุกเชื้อชาติทุกสีผิว และไม่ว่าประชาชนคนนั้นจะมีความเชื่อแบบไหนก็ตาม ตราบใดที่ผุ้ที่ถุกเลือกตั้งเข้าไปทำงานนั้นเป้นกระบอกเสียงให้กับทุกคนอย่างเป็นธรรม รับฟังประชาชนถึงความลำบากและความต้องการของพวกเขา เสียงของทุกคนก็จะได้รับการรับฟังอย่างเท่าเที่ยมเอง"
             การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 14 ที่จะเกิดขึ้นในปี 2018 จะเป็นบททดสอบครั้งสำคัญของการเมืองมาเลเซียที่เผชิญกับระบอบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาดประเทศมาอย่างยานาน..to be contineus
https://thestandard.co/news-world-asean-democracy-human-right-education-and-terrorism/
           
         

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...