วันศุกร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2560

ASEAN new generation Part 2

           
           นูร์ ฮุดา อสมาอิล นักวิจารความขัดแย้งรุ่นใหม่ชาวอินโดนีเซีย
           อินโนีเซีย : การก่อตัวของกลุ่มหัวรุนแรง กับมุมมองใหม่เพื่อต่อสู้ปัญหาก่อการร้ายจากระดับรากหญ้า
           อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซี และสิงคโปร์ คือกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่พบความเคลื่อนไหวของคนรุ่นใหม่ที่เดินทางไปร่วมรบกับกลุ่มหัวรุนแรงในตะวันออกกล่างอย่างต่อเนื่อง และอินโดนีเซียคืออีประเทศที่กำลังเผชิ(ญกับความขักแย้งทาง เชื้อชาติ ศาสนรา และการก่อการร้าย
           นูร์ ฮุดา อสมาอิล คือนักวิจัยด้านความขัดแย้งรุ่นให่ช่าว อินโนีเซีย ที่เลือกที่จะแก้ไขปัญหาความคิดรุนแรงและากรก่อการร้ายในภูมิภาคนี้ด้วย มุมมองและวิธีการใหม่
           การสัมผัสกับความตายและความรุนแรงที่เกิดขึ้นในภูมิภาคนี้ทำให้อิสมาอิลตั้งคำถามต่อสิ่งที่เกิดขึ้นว่า หากปัญหาเดิม ๆ ยังคงเกิดขึ้น แสดงว่าวิธีการแก้ไขปัญหาที่ใช้อยุ่อาจจะไม่ใช่ทางออก จากข้อสัวงเกตนี้ทำให้เขาตัดินใจไปศึกษาต่ด้านความมั่นคงและความขัดแย้ง แล้วกลับมาตั้งสถาบันวิจัยด้านสันติภาพและการแก้ปัญหาการร้ายในอินโดนีเซียน และเริ่มวิจัยและค้นคว้าถึงสาเหตุที่คนธรรมดาตัดสินใจเข้าร่วมกลุ่มหัว รุนแรง จนท้ายที่สุดนำปสู่การลงมือก่อเหตุ กระทั่งเขาพบค่าตอบว่า ไม่มีใครเกิดมาเป็นผุ้ก่อการร้าย
         การค้นคว้าและวิจัยข้างต้นทไใ้กเขาพยายามแก้ปัญหาการก่อการร้ายแบบล่างสู่บน คือการเยียวยาความคิดของคนที่ก่อเหตุรุนแงให้กลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้อีกค้ง และงเสริมสถาบันหน่วยล็กที่สุดอย่างครอบครัวและชุมชนให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา
         "ตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา ทีมงานของเราได้ลงพื้นที่ไปศึกษาใน 32 เมืองทั่วทุกหมู่เกาะของอินโนีเซีย รวมไปถึงผุ้มีแนวคิดรุนแรงหลายร้อยคนทั่วมาเลเซียและสิงคโปร์ และพบว่าหนทางที่ดีที่สุดในการป้งกันและเยียวยาความคิดรุนแรงคือการเข้าใจที่มาที่ไปของความคิดพวกเขาผ่านมการสัมผัสและพุดคุย รวมถึงสังเกตุกิจกรรมที่พวกเขาทำ
          "ผมไม่ได้เข้าไปแล้วบอกให้พวกเขาเปลี่ยนอุดมการณืหรือความเชื่อ เพราะพวกเขาจะยิ่งต่อต้านทันที่ แต่เราพยายามเข้าใจกิจกรรมี่พวกเขาทำ รวมถึงทำให้ครอบครัวและชุมชนตระหนักว่านี้คือปัญหาของพวกเขาด้วย ซึ่งเป้นการแก้ไขปัญหาจากระดับรากหญ้า"
           "ผมจำแนกการเข้าร่วมออกเป็น 3 สาเหตุ หนึ่ง ผุ้ก่อการร้ายที่ตัดสินใจเข้าร่วมหรือก่อเหตุเพราะอุดมกาณ์ สอง ผุ้ก่อการร้ายที่ตัดสินใจลงมือเพราะต้องการแก้แค้น ซึ่งสาเหตุยนี้กำลังมีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ " ซึ่งที่ผ่านมาเขาได้เยียวยาความคิดของนักรบกลุ่มญิฮัดบางคนแล้ว
            จากการพูดคุยกับอิสมาอิล เราสามารถกล่าวได้ว่า เขาเลื่อกที่จะเข้าใจ โครงสร้เางของปัญหา ก่อนที่จะลงเมือแก้ไขปัญหาก่อการ้ายที่เกิดขึ้น ซึ่งขณะนี้กำลังลุกลามบานปลายไปทุกภูมิภาคของโลก และครอบคลุมไปทั้งบริบททางการเมือง วัฒนธรรม และศาสนา
            "ผมอย่างผลักดันแนวทางนี้ในระดับภูมิภาคและนานาชาติในภายภาคหน้า ขณะที่อาเซียนถูกมองว่าเป็นภูมิภาคแห่งความหวัง เรพาะเรายังไม่เผชิญกับสงครามรุนแรงเท่ากับภูมิภาคอื่น การที่พ้นที่นี้กลายเป็นพื้นที่เฝ้าระวังที่สำคัญนั้นจึงหมายความว่าโลกกำลังเผชิญปัญหานีอย่างแท้จริง
             ในปี 2016 กรุงจากร์ตาของอินโดนีเซียเจอกับเหตุดจมตีด้วยระเบิดฆ่าตั้วตาย 6 ครั้ง และเหตุดจมตีล่าสุดในฟิลิปปินส์ ที่มีผุ้เสียชีวิตไป 22 คน ดดยผุ้ลงมือได้ประกาศสวามิภักดิ์ต่อกลุ่ม ไอ เอส

              เมียนมา :  สร้าง "การศึกษา" เสาหลักคานอำนาจรัฐที่ไม่เป้นธรรม
              ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนและการใช้อำนาจในทางที่ผิดของรัฐ คือปัญหาที่เกือบทุกประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้เผชิญร่วมกันมาเป้นเวานราน และส่งผลกระทบต่อ
กระบวนการสร้างประชาธิไตยของแต่ละประเทศจนเกิดภาวะชะงัก ชะลอ หรือสะดุด ซึงบทบาทของ "องค์กรอิสระ" มีความสำคัญอย่างยิง เมื่อประชาชนเร่ิมตั้งคำถามกับความชอบธรรมของรัฐ
              "ลิน เต็ต เน" คือนักศึกษาชาวเมียนมาที่ตัดสินใจก่อตั้งสหพันธ์นักศึกษาเมียนมา และ โครงการสนับนุการศึกษาทางเลือกใหกับเยาวชนในเมียนมา ก่อนหน้านี้เขาถูกรัฐบาลทหารเมียนมจับกุม 2 ครั้งครั้งแรกในปี 2007 จากการร่วมประท้วงเพื่อต่อต้านรัฐบาลทหารเมียนมา และครั้งที่สองในปี 2015 จากการประท้วงต่อต้าน พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ (เร่ิมมีการบังคับใช้ในปี 2004) ที่ถูกนักศึกษาและภาคประชาสังคมมองว่ารัฐบาลทหารใช้อำนาจเบ็ดเสร็จในการควบคุมระบอบการศึกษา ไม่เปิดโอกาสให้ครุนักศึกษ และภาคประชาสังคมเข้าไปมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อหลักสูตรและเนื้อหาวิชา ที่พวกเขามองว่ารัฐบาลละเลยวัฒนธรรมและภาษาของกลุ่มชาติพันธ์ุอื่นๆ รวมถึงปิดกั้นสิทธิเสรีภาพกาก่อตั้งองค์กรนักศึกษาอย่างเป็นอิสระ
           "เผด็จการทหารต้องการควบคุมทุกภาคส่วน เพราะต้องการให้อำนาจยังอยุในมือพวกเขาพวกเขาจึงพยายามล้างสมองคนรุ่นใหม่อย่างเป้ฯระบบผ่านนโยบายการศึกษา อย่างเชนส่ิงที่เราเรียนในห้องเรียน หรือการรวมตัวของนักศึกษ และน่คือสาเหตุว่าทำไมพวกเขาจึงต้องมี พ.ร.บ.การศึาษาแห่งชาติ มีรวมอำนาจไว้ที่สูนย์กลาง ซึค่งทำให้พวกเขาควบคุมกฎหมายเกี่ยวกับระบบการศึกษาได้เบ็ดเสร็จ และการศึกาษคือส่วนสำคัญที่จะทำให้ทหารสามารควบคุมประทศได้ง่ายขึ้น"
          แม้วาวันนี้เมียนมาจะเปลี่ยนมาสุ่ระบอบประชาธิปไตยที่นำโยพรรค "เนชั่น ลีค ออฟ เดโมแครต" อำนาาจของทหารยังคงแทรกซึมผ่านรัฐรรมนูญ และเนื้อหาบางส่วนใน พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติฉบับนี้ที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข
          "รัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2008 ที่อำนาจของทหารยังแทรกแซงอยู่ในการเมือง ทำให้รัฐบาลของพรรค NLD ยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนอะไรไ้ดมาก และเชื่อว่าการปฏิรูปการศึกษานั้นเป็นเรื่องยากเกนไปทีจะเปลียนในตอนนี้"
            เมื่อประชาชนไม่อาจฝากความหวังทั้งหมดไว้กับนโยบายและการปฏิบัตของรัฐ การผลักดันความเปลี่ยนแปลงด้วยภาคประชาชนจึงสำคัญ และนี้คือสาเหตุที่ลินเลือกที่จะผลักดันการศึกษาต่อผ่าน "เดอะ วิงส์ แคปปิซิตั้ บิวดิ้ง สคูล" โครงการสนับสนุนการศึกษาทางเลือกให้กับเยาชนในเมียนมา เรพาะเขาเชื่อว่าการศึกษาจะช่วยสร้างสันตุภาพและสังคมประชาธิปไตยขณะที่สหพัฯธ์นักศึกาาเมียนมาที่เขาได้ก่อตั้งนั้นยังคงเกินหน้าต่อสู่เพื่อให้รัฐบาลเปลี่ยน พ.ร.บ.  การศึกษาแห่งชาติฉบับนี้ โดยมีเป้าหมายให้คำนึงถึงภาษาและวัฒนธรรมขอวกล่มุชาติพันธุ์อื่นๆ มากขึ้น รวมถึงให้อำนาจกับภาคการศึกษาได้เข้าไปมีบทบาทในการกำหนดลักสูตและเนื้อหาวิชา
         "ประเทศที่มีคุณภาพการศึกษาต่ำ ประชาธปิไตยไม่สามารถงอกเงยได้ การศึกษาควรถูกพัฒนาให้เป้ฯพื้นที่ที่สร้างวัฒนธรรมแห่งประชาธิปไตยให้กับประชาชน
       
          กัมพูชา : ต่อกรภาครับด้วยการเปิพื้นที่การแสดงออกและให้ความรุ้ด้านสิทธิมนุษยชน
          สุภาพ จัก ชาวกัมพูชา วัย 29 ปี เลือกที่จะชับเคฃื่อเรื่องสิทธิมนุษยชนในกัมพูชาผ่านองค์กรอิสระเช่นเดียวกัน เธอดำรงตำแหน่งผู้อำนวยกรบริหารศูนย์สิทธิมนุษยชนแห่งกัมพุชา เืพ่อต่อสู้และลบล้างความกลัวในการแสดงออกทงความคิด โดยเฉพาะการวิพากวิจารณ์การใช้อำนาจของรัฐบาลเนื่องจากกัมพุชาเป้นอีกประเทศที่ถุกปกครองโดยพรรค "คอมโบเดียน พีเพิล ปาตีย์" มาตั้งแต่ปี 1979 หรือเป็นเวลาทั้งหมด 38 ปี การเลือกต้้งที่เกิดขึ้นตลอกเวลาที่ผ่านมาจึงถภูกทั้งประชาชนและต่างชาติวิพากษวิจารณืว่าเป้นการเลือกตั้งที่ไม่โปร่งในและไม่ยุติธรรม
         
"การที่รัฐบาลกัมพุชาจำกัดเสรีภาพในการแสดงออกและการรวมตัวของภาคประชาสังคมรวมถึงกวาดล้างและจับกุมนักเคลื่อนไหวได้สร้งบรรยากาศแห่งความหวาดกลัว สิ่งนี้ทำให้นักเคลื่อนไหวหลายคนถอดใจหรือหวาดกล้วที่จะรณรงค์เรื่องนี้"  ซึ่งกัมพูชาได้ออกกฎหมายที่สามารถสั่งยุบองค์กรอิสระ และห้ามทำกิจกรรมเคลื่อไหวต่างๆ
           กัมพุชากำลังจะมีการเลื่อกต้งทั่วไปในปี 2018 ซึ่งแน่นอนว่ารัฐบาลกัมพุชาพยายามรักษาอำนาจด้วยการจำกัดเสรีภาพการแสดงออก จักได้พยายามต่อสู้ให้กัมพูชามีการเลื่อกตั้งที่มีคุณภาพให้ได้มากที่สุด้วยการเปิดโอากสให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง เพราะจะเป็น "รากฐาน" สำคัญที่นำไปสู่การเลื่อกตั้งที่โปร่งใสและยุติธรรม
          "องค์กรเราจัดรายการวิทยุ ที่เปิดโอกาสให้นักการเมืองจากทุกพรรคได้มานำเสนอนโยบายและถกเถียงกับผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั่วประเทศ เพื่อเปิดพื้นที่ให้กับฝ่ายอื่นๆ นอกเหนือจากฝ่ายรัฐบาล รายการนี้กระจายเสียงไปทั่วประเทศและได้รับการตอบรับที่ดีมาก นอกจากนี้เรายังจะส่งเจ้าหน้าที่ไประจำการตามคูหาเลือกตั้งเพื่อป้องกันการทุจริต
            ภารกิจและกลยุทธ์ของศูนย์สิทธิมนุษยชนแห่งกัมพุชาคือากรสร้างสังคมที่ตระหนักและเคารพต่อสิทธิมนุษยชนโดยการปูพื้นสิ่งเหล่านี้จากรากฐาน และเดินหน้าทำวิจัยสะท้อนการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกัมพูชา ทั้งเรื่องการครอบครองที่ดิน สิทธิของชนกลุ่มนอยในกัมพุชา ผุ้หยิ่ง ไปจนถึงกลุ่ม LGBT
            "เราให้ข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในชุมชน และยังส่งเสริมให้พวกเขาร่วมสร้างความเปลี่ยนแปลงด้วยการแนะแนววิธีการ กลยุทธ์ และเครื่องมือที่จะสามารถขับเคลื่อนเรียองต่างๆ ได้ พวกเขาจะตระหนักตอเรืองการละเมิดสิทธิมนุษยชนมากขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การเคลื่อนไหวที่มีพลังมากขึ้น
            "ท้ายที่สุด เมื่อสิทะิมนุษยชนได้รับการเคารพ ประชาธิปไตยที่เข้มแข็งและยังยืนจะตามมา"
              นี่คือเสียงจากคนรุ่ใหม่ 5 คน 5 ประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเียงต้ที่สะท้อนว่า ภายใต้ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและศาสา เราต่างเผชิญกับความ ท้าทายและปัญหารที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน
              เสียงสะท้อนเหล่านี้ไม่เพียงทำให้เราเห็นความจริงและปัญหาชัดขึ้น แต่ยังช่วยส่งเสียงของประชาชนให้ดังและไกลออกไปจนถึงจุดที่ฐานเสียงของประชาชนซึ่งเป็นหัวใจของประชาธิปไตยเ้มแข็งและหนักแน่นมากพอ...https://thestandard.co/news-world-asean-democracy-human-right-education-and-terrorism/
       "

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...