วันพฤหัสบดีที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2561

Cultural heritage of The European Union

           มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน ข้อคิดจากสหภาพยุโรปถึงเอาเซียน
           ตามข้อมูลของยูเนสโก สหภาพยุโรป หรอที่เรียกกันติดปากว่า "อียู" มีมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน ที่เป็นมรดกดลกมากว่าภูมิภาคอื่นๆ ในโลก มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนน้หมายถึง มรดกวัฒนธรรม หรือมรดกทางธรรชาติที่มีอาณาบิรเวณตังอยู่ในประเทศมากกว่าหนึ่งประเทศขึ้นไปโดยบริเวณส่วนหน่งของมรดกวัฒนธรรมนั้น ถ้าตั้อยู่ในประเทศใดก็ถือว่าเป็นดินแดนของประเทศนั้น
           มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนนี้ ฟังดูแล้วไม่ได้เป็นเพียงสิ่งประหลาดสำหรัฐประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในเอเชียเท่านั้น เผลอๆ อาจเป็นส่ิงีที่หลายคนอย่ากให้เกิดขึ้นแต่ไม่กล้าฝันและลงมือและผุ้คนอีกจำนวนมากอาจสบถและไม่แยแสกับมันแม้แต่วินาที่เีดยวเนื่องจากแนงคิดชาตินิยมข้ามศตวรรษที่ตกทอดมาตั้อต่ศตวรรษที่ 19 ทั้งแบบบ้านๆ และแบบสุดโต่ง ทำให้จิตนาการเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรมของคนเหล่านี้ลีเรียวอยุ่ในรูปแบบของมรดกแห่งชาติเท่านั้น
          มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแกนของสหภาพยุโรปในปัจจุบันเกิดจากสองลักษณะ คือ
          1. มรดกวัฒนธรรมทีมีมาก่อนการเกิดรัฐชาติและการสร้างเขตแดนของรัฐชาติ แต่เมื่อเกิดรัฐชาติในยุโรป มรดกวัฒนธรรมเหล่านี้ถูกแบ่งออกสวนๆ ตามเขตแดนของรัฐสมัยใหม่ ตัวอย่งเช่น สวนมุสเคาซึ่ง ตั้งอยุ่ระหว่างประเทศโปแลนด์และเยอรมนี
          2. มรดกทางวัฒนธรรมข้ามพรมแดนที่เกิดจากการเชื่อมโยงรากเหล้าทางวัฒนธรรมและศิลปะของโบราณสถานที่มีลักษณะคล้ายกันซึ่งตั้งอยู่ในประเทศต่างๆ ว่าเป้นกลุ่มมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน(ประเทศหรือรัฐชาติ) เช่น กลุ่มหอระฆัง จำนวนมากที่ตั้งอยุ่ในฝรั่งเศสและในเบลเยี่ยมซึ่งไ้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก และยูเนสโกจัดให้เป้นมรดกวัฒนธรรมี่ถือว่ามีลักาณะพิเศษเป็นมรดกวัฒนธรมช้ามพรมแดน
       
มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนทั้งสองลักษณะข้างต้น เป็นผลมาจากจินตนาการเกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรมที่อยุ่นอกรอบแนวคิดมรดกชาติ ซึ่งกรณีของสหภาพยุโรปนั้นเกิดจากพัฒนาการของสหภาพยุโรปที่ก่อให้เกิดแนวคิดข้ามพรมแดนทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรม
         ก้าวข้ามชาตนิยมและการเผชิญหน้า
          การข้ามพรแดนทั้งภาคการเมือง เศราฐกิจและวัฒนธรรมของสหภาพยุโรปมีรากฐานมาจากความต้องการหลุดจากวังวนของชาตินิยมและการเปชิญหน้า ซึ่งต้องเท้าความไปถึงยุคการเกิดรัฐชาติในยุโรปว่าเป็นยุครักชาติแบบหลงผิดที่ยุโรปไปยึดครองบ้านเมืองคนอื่นเป็นอาณานิคมทั่วดลก เรื่อยมาจนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่นาซีเยอรมันทำลายบ้าง ฆ่าล้างเผ้าพันธ์ุชาวยิว และนอกจากนี้ประเทศอื่นๆ ยังรบกันจนวินาศสันตะโร
          ผุ้คนในยุโรปจึงเกิดปัญญาว่า ความรักและคลั่งชาตินี่เองเป็นต้นเหตุของความตาย โศกนาฎกรรมและความพินาศ ส่งผลให้เกือบทุกภาคส่วนของสังคมมุ่งมั่นลงมือกำจัดความคลั่งชาติอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการยึดถือแนวคิดใหม่ที่มุ่งสู่การบูรณาการทางเศณาฐกิจและการเมืองเพื่อให้เกิดสันตถภาพที่ถาวร
         การจัดการมรดกวัฒนธรรมและพรมแดนในอียูเป็นตัวอย่างที่ดีที่แสดงให้เห็นว่า การบูรณาการยุโรปต้องการหันหลังให้กับความคิดชาตินิยมในการดำเนินการทางการเมืองภายในระหว่างประเทศสมาชิก กล่าวคือ เน้นเรื่องความร่วมมือ กัประเทศเพื่อนบ้านซึ่งเป็นสมาชิกอียูด้วยกันมากว่าสร้างความขัดแย้ง และการเผชิญหน้า
        การสร้างความร่วมมือเกี่ยวกับการจัดการมรดกวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในอียู คื อการเพ่ิมความหมายของมรดกวัฒนธรรมซึ่งเคยแต่เป็นตัวแทนลักษณะฉพาะของชาติ ให้ขยายเป็นตัวแทนของความเป็น "ยุโรป" และเป็นสากล ด้วยการใช้ระบบโลกาภิวัตน์โดยเฉาพะโครงการมรดกโลกของยูเนสโกให้เป็นประโยชน์
        ความเป็นไปดังกล่าวเกิดขึ้นภายใต้ความพยายามจัดการเรื่องพรมแดนที่ลดความสำคัญของเตแดนระหว่างประเทศสมาชิก ด้วยการใช้แนวคิดปราศจากพรมแดน เพื่อให้เกิระบบตลาดเดียวภายในประเทศกลุ่มอียู และเกิดเป้าหมายสูงสุดในการบูรณาการทางเศราฐกิจ คือ การใช้ระบบเงินสกุลเดียวกันคือ เงินยูโร หรือที่่เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า มันเนแทรรี ยูเนี่ยน
          แนวคิดปราศจากพรมแดนนี้มีลักษณะสำคัญ คือ
          1) ไม่ได้แปลว่ เขตแดนระวางประเทศสมาชิกซึ่งเป็นรัฐชาติอีสระนั้นหายไป แต่ส่ิงที่เปลี่ยนไปคือ กระบวนคิดเกี่ยวกับเขตแดนและพรมแดน ความคิดว่าเขตแดนและเส้นเขตแดนที่เคยเป็นเส้นศกดิ์สิทธิ์ทั้งในจิตนาการและในแผนที่นั้น แปรสภาพมาให้ความสำคัญกับพรมแดนในฐานะเป้ฯเื้องที่พิเศษ คือ เป็นที่พบปะของผู้คนจากหลายประเทศ เป็นที่แลกเปลี่ยนกันทางวัฒณธรรมและสังคมเศณาฐกิจแทน
           ทัศนะดังกล่าวเกิดจากแนวคิดว่ การยึดติดเขตแดนของชาติว่า เป็นเส้นศักดิ์สทิธิ์คือตัวปัญหา เป็นที่มาของความดิดชาตินิยม และความขัดแย้งนั้นเป็นอุปสรรคของการเกิดและการขยายโอกาสไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การลงทุน การเมือง การศึกษา หรือแม้แต่การสร้างและเติบโตของธุรกิจเกี่ยวกบมรดกวัฒนธรม หรือที่เรียกว่า อุตสาหกรรมมรดกวัฒนธรรม ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นและสร้างการเติบโตทางเศราฐกิจให้กับท้องถ่ินต่างๆ ในประเทศสมาชิก
         
2) ภายใต้แนวคิดปราศจากพรมแดนนี้ เขตแดนของชาติยังคงดำรงอยู่ แต่มฐานะเป็นเพียงตัวบ่งชี้ขอบเขตการทำงานของหน่วยงานรัฐบาลในแต่ละประเทศ ว่ามีขอบเขตการรับผิดชอบในด้านสาธารณูปโภค ด้านภาษีและการดูแลพละเมืองกว้างขวางเพียงใดเท่านั้น
         3) ภายใต้แนวคิดนี้ เขตแดนแปรสภาพเป็นพรมแดนด้วยการทำให้การตรวจเช็คของด่านศุลกากรตามพรมแดนนั้นหายไปตามแนวคิดของการสร้างระบบตลาดเีดยวหรือตลาดร่วมยุโรป ซึ่งทำให้ประชาชนในกลุ่มประเทศอียูสามารถเดินทาง ทำงาน ลงทุน ศึกษาและย้ายถ่อฯบานไปในประเทศสมชิกต่างๆ ได้อย่างเสรี และนอกจากนี้ในกลุ่มประทเศสมาชิกซึ่งร่วมกันเซ็นสนธิสัญญาเซ็งเก้น บุคคลซึ่งเป็นพลเมืองของประเทศนอกกลุ่มอียูหรือศัพท์ทางการเรียกว่าบุคคลจากประเทศที่สาม ก็สามารถเดินทางในประเทศสมาชิกอียูที่ร่วมเซ้นสนธิสัญญาเซ็งเก้นได้อย่างอิสระ
         สหภาพยุโรปและมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน
         มรดกวัฒนธรรมไม่ว่าจะเป็นสถาปัตยกรรมเช่นโบสถ์ปราสาท หอระฆัง สวนภูมิทัศน์ เหมืองถ่านหินบ้านพักคนงานเหมืองหรืออื่นๆ ในแต่ละประเทศสมาชิกอียูนั้น แน่นอนว่าผ่านการประทับตราหรือการทำให้มีลักษณะเฉพาะของชาติ ดดยเกิดจาการวมมาดกท้องถ่ินไว้ใต้ร่มของวัฒนธรรมของชาติ โดยเกิดจากการรวมมรดกท้องถ่ินไว้ใต้ร่มของวัฒฯธรรมชาติ พร้อมๆ กับสร้างมาดกวัฒนธรรมใหม่ ๆ ผ่านกระบวนการผลิตความรู้ เช่น การศึกษาไม่ว่าจะเป็นด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะ ประวัติศาสตร์ หรือการ
ศึกษาทั่วไป และผ่านกระบวนการสร้างประเพณีและการบันเทิงใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับมรดกวัฒนธรรมเหล่านั้น
        การเติบโตของอียูในช่วงสองทศวรษที่ผ่านมา แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของหน่วยทางการเมืองในยุโรปว่ามีหน่วยการเมืองที่เหนือชาติคือ "ยุโรป" หรือ อียู เพ่ิมเติมจากหน่วยทางการเมืองท้องถ่ินและรัฐชาติซ่งมีอยู่มาก่อนแล้ว ความเป็นไปดังหล่าวเก่ยวพันไปถึงมรดกวัฒนธรรมอยางเหลีกเลี่ยวงไม่ได้ อียูต้องการทำให้มรดกวัฒนธรรมทั้งหลายที่มีอยุ่แล้วสื่อวามเป็นยุโรป จึงดำเนินการสร้างความเป็นยุโรปหรือยูโรเปี้ยนไนเซชั่น มรดกวัฒนธรรมต่างๆ ด้วยกาทำให้มรดกทางวัฒนธรรมเหล่านี้เพ่ิมความสามารถในการแข่งขันในวงการอุตสาหกรรมมรดกวัฒนธรรมระดับภูมิภาคและโลก ด้วยกาดำเนินนโยบายวัฒนธรรมและนโบายภุมิภาค ที่ส่งเสริมให้เกิดความี่วมมือระหว่างประเทศามาชิกหลายประเทศเืพ่อรวมตัวกันเป็นเครือช่าย ร่วมกันคิดและสร้างโรงการมดกวัฒนธรรม ใหม่ๆ ที่เกิดจากการรวมกลุ่มรดกวัฒนธรรมชาติที่มลักษณะคล้ายกัน แล้วดึงลักษณะที่เป็นสากลมาคิดเป็นโครงการที่มีลักาณะสร้างสรรค์เพื่อับเงินสนับสนุนจาอียู ส่งเสริมให้เกิดความสร้างมาดกวัฒนธรรมใหา่ๆ จำนวนมหาศาล
     
กล่าวอีกนัยหนึ่ง กระบวนการยูโรเปี่้ยนไนเซชี่นของมรดกวัฒนธรรม คื อการส่งเสริมให้มีการสร้างและพัฒนโครงการมรดกวัฒนธรรมที่มีลักษณะข้ามชาติและพรมแดนนั่นเอง ซึ่งเท่ากับเป็นการเพิ่มมูลค่าทางเศณาฐกิจและการแข่งขันให้กับมรดกวัฒนธรรม ชาติด้วยการสร้างแพ็คเกจใหม่ในรูปแบบของมรดกวัฒนธรรมข้ามชาติหรือมีความเป็นยุโรปที่น่าตื่นเต้นกว่าแบบเดิม
       กระบวนการยูโรเปี้ยนไนเซชั่นของมรดกวัฒนธรรมนี้ดำเนินการโดยไม่ได้ทวนกระแสโลกาภิวัตน์ คื อ มีการใช้การดำเนินการมรดกโลกของยูเนสโกในการสร้างและโฆษณามาดกวัฒนธรรมใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น นั่นคือ ยูโรเปี้ยนไนเซชั่นของมรดกวัฒนธรรมเตรียมความพร้อมในการพัฒนาโครงการมรดกวัฒนธรรมที่เน้นความร่วมมือข้ามพรมแดน ที่ส่งเสริมให้โครงการเหล่านี้ได้รับการคัดเลือกเป็นมรดกโลกและใช้ป้ายมรดกโลกในการส่งเสริมการท่องเที่ยวและพัฒนาท้องถ่ิน
        สวนมุสเคา
         ยูเนสโกประกาศให้เป็นมรดกโลกในปี ค.ศ. 2004 เป็นตัวอย่างความร่วมมือทางมรดกวัฒนธรรมแลพรมแดนระหว่างเยอมนีและโปแลนด์ซึ่งเป็นสมาชิกอียูที่น่าสนใจอย่างยิ่ง ดดยส่วนแห่งนี้เป็นสวนภูมิทัศน์ หรือ แลนด์สเคป ปาร์ค เป็นศิลปะแขนงใหม่ที่มีลักษณะเป็เสมือการวารูปด้วยการใชพรรณไม้ ทำให้เกิดสวนขนาดใหญ่เต็มไปด้วยไม่นานาพรรณกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม
         สวนภูมิทัศน์มุสเคามีอาณาบริเวณกว้างขวางถึง 559 เฮคเตอร์ โดยมีแม่น้ำไนเซอร์ซึ่งเป็นเขตแดนธรรมชาิตระห่างเยอมนีและโปลแลน์ไหลผ่านกลางสวน ดังนั้นเนื่องที่ของส่นประมาณ 300 กว่าเฮคเตอร์จึงอยุ่ในเขตแดนเยอมนี และส่วนที่เหลืออยุ่ในเขตแดนของโปแลนด์ โดยส่วนที่เป็น บัฟเฟอร์ โซน ตามกฎของยูเนสโกก็อยุ่ในดินแดนของทั้งสองประเทศ
         ตอนที่่แฮร์มานนผอน ปุ๊คเลอร์-มุสเคาแห่งปรับเซียสร้างสวนนี้ในช่วงต้อคริสต์ศตวรรษที่ 19 แม่น้ำไนเซอร์ที่ไหลผ่านสวนมุสคายังไม่ได้เป็นเขตแดจธรรมชาติระห่างประเทศ ซึ่งความเป็นไปดังกล่าวเพ่ิงมาเปลี่ยนแปลงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นี้เอง เมื่อผุชนะสงครามในครั้งนั้นอันประกอบด้วยรัสเซีย อังกฤษ ฝรั่งเศสและอเมริกาเข้ามาเป็นผุ้ขีดเส้นพรมแดนระหว่างโปแลน์กับเยอมนีด้วยการใช้แม่น้ำไนเซอร์เป็นพรมแดนธรรมชาติที่สำคญ สวนมุสเคาซึ่งเป็นสมรภูมนองเลือดที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งก่อนที่สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงจึงกลายเป็นสวนอกแตก
        ความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในยุโปรหลัวงสงครามโลกครั้งที่ 2 มีผลต่อความเปลี่ยนแปลงของสวนมุสเคาซึ่งตั้งอยู่บนดินแดของสองประเทศ เร่ิมจกความเปลี่ยนแปลงระดับประเทศ เยอมนีถูกแบ่งออกเป็นสองประเทศ เยอมันตะวันตกและเยอรมันตะวันออก ต่างมีจุดยืนทางการเมืองครละขั้น ส่วนระดับภูมิภาคเกิดการเร่ิมต้นการบูรณาการในยุโปรตะวันตก ฦโดยประเทศสมาชิกเร่ิมแรกหกประเทศรวมทั้งเยอรมนันตะวันตกร่วมกันก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจร่วมยุโรป โดยมุ่งไปสู่การพัฒนาเศราหบิจแบบทุนนิยม ซึ่งต่อมาพัฒนมาเป็ฯอียู่ในปี 1992 ส่วนในประเทศยุโรปตะวันออกซึ่งรวมถึงโปแลนด์และเอยมันตะวันออกเร่ิมพัฒนาภายใต้องค์การโคมินเทิร์นตามทิศทางของระบบสังคมนิยม...
        ความเปลี่ยนแปลงสำคัญของสวนมุสเคาเร่ิมเกิดขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ 1980 เมื่อเกิดนโยบายเปเรสทรอยก้า-กลาสนอส และการล่มสลายของระบบสังคมนิยมในยุโรป รวมไปถึงเกิดการรวมชาติเยอมันตะวันออกและตะวันตกเข้าด้วยกัน ที่สำคัญย่ิงไปกว่านั้นคือ การที่อียูถือเอาการขยายรับประเทศในยุโรปตะวันออกมาเป็นสมาชิกใหม่เป็นนโบบายสำคัญเร่งด้วน ส่งผลให้โปแลนด์เป็นรายชื่อต้นๆ ของประเทศที่จะได้เข้าเป็นสมาชิกใหม่อียู และได้รับเงินทุนช่วยเหลือในการพัฒนาโครงการมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนหลายโครงการภายใต้นโยบายภูมิภาคของอียูซึ่งสวนมุสเคาเป็นโครงการสำคัญภายใต้นโยบายดังกล่าว
       
 ตอนนี้ทั้งเยอรมนีและโปแลนด์มาถึงจุดที่ต้องตัดสินใจว่า จะเลือกความยึดมั่นถือมั่นอคติด้านพรมแดน ความรักชาติ และบาดแผลในความทรงจำระหว่างโปแลนด์กับเยอมนีที่รุนแรงร้างวลึก หรือจะก้าวข้ามชาตินิยมและการเผชิญหน้าในการจักดารด้านพรมแดนและมรดกวัฒนธรรม
         ความร่วมมือกันระหว่างโปแลนด์และเยอมนีในการเสนอสวนภูมิทัศน์มุสเคาเป็นมรดกโลกต่อยูเนสโกในปี ค.ศ. 2002 เป็นส่ิงที่ชี้ให้เห็นได้ชัดว่าทั้งสองประเทศเลือเส้นทางประการหลัง เพราเสนทางนี้เป็นเส้นทางแห่งโอกาส
       ปัจจุบันสวนมุสเคาเป็นมรดกดลกข้ามพรมแดนที่มีนักท่องเที่ยวจำนวนมาก เว็บไซต์ของสวนแห่งนี้นำเสนอให้เห็นชัดเจนว่า การสร้างมรดกโลกข้ามพรมแดนนั้นเป็นการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับมรดกทางวัฒนธรรมได้อย่างน่าอัศจรรย์....
         
         - บทความ "มรดกวัฒนธรรมช้ามพรมแดนข้อคิดจากยุโรปถึงอาเซียน" โดย มรกต เจวจินดา ไมยเยอร์
       

วันพุธที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2561

Social unity of EU

         
...ความรุ่งเรืองของยุโรปจะเกิดได้หใม่นั้นก็ต้องอาศัยความพร้อมใจของประเทศสมาชิกในการผลักดันนโยบายและการปฏิบัติตามมาตรการต่างๆ การอยุ่อย่างเอกเทศเช่นเดิมต้องเผชิญกับการแข่งขันสุงทั้งในหมุ่ชาติยุโรปเองและกับชาติอื่นๆ จึงไม่เดื้อต่ผลประโยชน์างเษรษฐกิจ การรวมตัวเป็นกลุ่มหรือบูรณาการเป็นสหภาพระดับถุมิภาคจึงเป็นทางเลือกที่น่าจะทำให้สถานะดีกว่าการที่ต่างคนต่างอยุ่ ที่น่าสั่งเกตคือ การร่วมมือกนทางเศราฐกิจครั้งนี้แตกต่างจากความร่วมมือต่างๆ ที่เคยมีมาเพราะตามสนธิสัญญามาสตริชต์ สหภาพยุโรปมีลักษณะเป็นงค์การเหนือรัฐ ไร้พรมแกนประเทศขวางกั้นในองค์กร ประเทศสมาชิกจึงต้องสละอำนาจอธิปไตยส่วนหนึ่งและยินยอมให้นโยบายหรือมาตรการของสหภาพฯ สามารถบังคัยใช้ในดินแดนของตนได้...
         อย่างไรก็ดี การท่จะให้เกิดความรู้สึกร่วมมือร่วมใจหรือการยินยอมให้บังคับใช้มาตรการข้ามชาติโดยฝืนความรู้สึกน้อยที่สุ ก็จำเป็นที่จะต้องหาวิธีการที่ทำให้ประเทศสมาชิกรู้สึกถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ความเป็นประชาคมเดียวกัน หรือความเป็นยุโรปด้วยกัน ด้วยเหตุนี้เอง เพื่อบรรลุความเป็นสไภาพทางเสณาฐกจและทางการเมือง จึงจำต้องอาศัยมาตการทางสังคมบางประการเกื้อหนุนด้วยหากประเทศสมาชิกขาดความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันแล้ว การดำเนินงานของสหภาพยุโรปในลักษณะองค์กรเหนือรัฐจะเป็นไปอย่างยากลำบากทุกขั้นตอนความมั่่งคั่งทางเศณาฐกิจและความเป็นผุ้นำในเวทีดลกจะกลายเป็นเป้าหมายที่ห่างไกลออกไปอีก
        บทความนี้ เสนอข้อสังเกตุบางประการเกี่ยวกับความเป็นยุโรป เพื่อบ่งชี้ว่าเรื่องที่ไม่น่าจะเป็นปัญหาได้กลายเป็นปัญาและทางออกที่เป็นอยู่ในขณะนี้ก็เป็นเพียงการพยายามลดความรู้สึกชาตินิยมหรือความรู้สึกว่าตนเป็นชาว ฝรั่งเศส เยอรมัน อังกฤษ อิตาลี ฯลฯ ของพลเมืองในประเทศสมาชิก เพื่อให้รู้สึกวว่าอย่างน้อยก็เป็นชาวยุโรปด้วยในขณะเดียวกัน
       
 อุปสรรคในการสร้างสำนึกของ "ความเป็นยุโรป" ร่วมกันอันเป็นปัจจัยเกื้อหนุนการรวมตัวทางเศณาฐกิจและการเมืองนั้น ในที่นี้จะพิจารณา 2 ประเด็น ใหญ่ซึ่งมีความเกี่ยวพันกัน นันคือ ปัญหาที่วาอะไรคือเอกลักษณ์ของความเป็นยุโรป และความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เพี่ิมขึ้นในยุโรปปัจจับุันได้ทำให้ปัญหาเรื่องเอกลักษณ์ซับซ้อนมากขึ้นเพียงไร มีผลกระทบอย่างไรต่อการพิจารณารับสมาชิกใหม่ของสหภาพยุโรป
           สำหรับคนนอกทวีปยุโรปแล้ว การที่ชาวอังกฤษ ฝรั่งเศส เดนมาร์ก สวิส ฯลฯ จะกล่าวอ้างว่าเป็นชาวยุโรปนั้นไม่เห็นเป็นเื่องแปลกประหลาดแต่อย่างใดแต่ปรากฎว่า ชาวยุโรปจำนวนมาก ลังเลที่จะกล่าวเช่นนั้น นักวิชาการบางคนถึงกับระบุว่า ที่เรียกกันว่าชาวยุโรปนั้นผิดทั้งเพ เพราะมีแต่ชาวฝรั่งเศสเยอรมน อิตาลี ต่างหาก" เจ้าหน้าที่ของสหภาพยุโรปเองบางคนยังบอกว่าครั้งที่รู้สึกว่าเป็นชาวยุโรปก็เมื่อคราวต้องไปพำนักในสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นเท่านั้นย่ิงน้อยคนที่จะเอ่ยว่าตนเป็นชาวยุโรปก่อนปละเป็นพลเมืองของประเทศใดประเทศหนึ่งด้วยตามหลง ย่ิงคนอังกฤษแล้วแทบจะพูดอย่างเดียวว่าตนเป็นชาว อังกฤษ ไม่เอ่ยถึงยุโรปเลยด้วยซ้ำ สาเหตุที่ป็นเช่นนั้นก้เพราะเอกลักษณ์หรือลัษณะเฉพาะที่บ่งชี้ว่าเป็นยุโรปที่จะกระตุ้นเตือนใจให้ผู้คนตระหนักว่ามีอยู่ร่วมกน หรือเป็นพวกเดียวกันนั้น จริงๆ แล้วมีหรือไม่
           เมื่อจะพิจารณาหาคำตอบนี้ ก็เกิดคำถามข้อหนึ่งขึ้นมาก่อนนั่นคือ ที่เรียกกันว่า "ยุโรป" นั่นหมายถึง อะไร มีขอบเขตแค่ไหน เราสามารถใส่คุณศัพท์ให้สิ่งนั้นสิ่งน้ว่าเป็นยุโรป ได้กระนั้นหรือถ้าเรายังตอบไม่ได้ชัดเจนว่ายุโรปแยกออกจากเอเชีย ณ ที่ใด ที่ทุกวันนี้เรียกว่ายุโรปนั้นสืบมาตั้งแต่ครั้งนักเดินเรือชาวกรีกโลราณที่ล่องเรือจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนขึ้ไปตามทะเลอีเจีนย และเรียกดินแดนฝั่งซ้ายวายุโรป ฝั่งขวาว่าเอเชีย แต่หารู้ไม่ว่าดินแดนสองฝั่งทะเลนั้นบรรจบเป็นผืนเดียวกันทั้งเหนือขึ้นไป บางคนจึงกล่าว่า ยุโรปเป็นพียงคาบสมุทรหนึ่งของยูเรเซีย ไม่สมควรเรียกว่าทวีป บ้างก็บอกแต่เพียงว่าถ้าเดินทางมุ่งไปทิศตะวันออกมากขึ้น คามเป็นยุโรปก็จะลดลงเรื่อยๆ แต่ไม่รู้ว่าเส้นแบ่งเด็ดขาดระหว่งเอเชียกับยุโรปอยู่ตรงไหน ก็อาจจะเป็นอย่างที่นักสังคมศาสตร์อเมริกันกลาวถึงความเป็น "รัฐ" ว่าเป้นเพียงประชาคมตามที่จินตนาการ ว่ามีขนาดและลักษณะอย่างไรเท่าน้้น
            ก่อนหน้านี้ ประเด็นเส้นแบ่งเขตระหวางยุโรปกับเอเชียไม่จำต้องนำมาขบคิด แต่ปัจจุบัน สงครามเย็นได้สิ้นสุดลงและสไภาพโซเวียตก็ล่มสลายแล้ว ยุโรปไม่ได้หายถึงยุโรปตะวันตกเท่านั้น ขณะนี้สหภาพยุโรปมีสมาชิก 15 ประเทศ แต่มีประเทศในเขตที่เรียกกันว่าเป้นยุโรปกลาง และยุโรปตะวนออกของสมัครเข้าร่วมองค์การด้วยอี 10 ประเทศ และดินแดนอื่นๆ อีก 4 ประเทศ ซึ่งทำให้ประเด็นขอบเขตของยุโรปเป้นปัญหาขึ้นมา ประเด็น "เอกลักษณ์" ของยุโรปจึงกลายเป็นคำถามขึ้นด้วย
         
มีผุ้ที่พยายามจะให้คำจำกัดความ "ยุโรป" ว่าเป็นกลุ่มวัฒนธรรมที่เห็นได้ชัดเจน เชื่อมร้อยกันด้วยค่านิยมที่คล้ายคลึงกัน และมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมซึ่งแตกต่างจากกลุ่มวัฒนธรรมอื่น ผู้สนับสนุนการตีความด้านนี้ถือว่ายุโรปคือดินแดนที่สืบมรดก จากอารยธรรมกรีก-โรมัน ศาสนาคริสต์ ความคิดของยุค การเชื่อในวิทยาศาสตร์ เหตุผล ความก้าวหน้าและควมคิดประชาธิปไตย ทั้งหมดนี้ถือเป็นหัวใจของยุโรปที่เป็นมรดกร่วมกัน แต่คำจำกัดความนี้จะถูกแย้งได้เพราะบางประเทศก็สามารถกล่อ้างว่าตนสืบมรดกดังที่ว่านั้นเช่นกัน ดดยเฉาพะสหรัฐอเมริกา หรือแม้แต่ดินแดนที่ยอมรับกันว่าอยู่ในยุโรปอย่างสเปน อิตาลีและกรซน้น ถ้าเอาคุณสมบัติประชาธิปไตยไปทดสอบ จะ่กล่าวได้กระนั้นหรือว่าช่วงที่สเปนปกครองโดยจอมพลฟรงโก อิตาลีภายใต้มุสโสลินี และกรซโดยคณะทหารนั้นได้หยุดภาวะการเป็นยุโรปลงชั่วคราว
           ..ขณะที่ความคิดเห็นแตกต่างกันเกี่ยวกับองค์ประกอบสำคัญๆ ของความเป็นยุโรปดำเนินไปผุ้บริหารอียูก็เพิ่มการดำเนินงานรวมตัวของสหภาพมากขึ้น เกิดคำถามเร่งด่วนขึ้นใหม่ว่าใครจะอยู่ "ภายใน" และ "ภายนอก" ของสหภาพฯบ้าง เราจะหมายความว่า
             ประเทศที่อยู่ "ภายนอก" มีความเป็นยุโรปนหด้อยกว่าประเทศที่อยู่ "ภายใน" สหภาพฯได้หรือไม่โดยทั่วไปแล้ว ประเทศยุโรปปัจจุบันที่มีมากว่า 35 ประเทศตามแนวพรมแดนสมมติที่ลากผ่านเทือกเขายูราล ลงสู่ทะเลสาบแคสเปี่ยนและตามแนวเทือกเขาคอเคซัสสู่ทะเลดำออกช่องแคบบอสฟอรัสสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน จากนั้นออกช่องแคบจิบรอลตาร์สุ่มหาสมุทรแอตแลนติกนั้น แตกต่างกันทางด้านพัฒนาการทางการเมือง เสราฐกิจและวัฒนธรรมซึ่งทำให้เป็นอุปสรรคต่อกความรู้สึกที่ว่าเป็นกลุ่ม
ประชาคมเดียวกัน ประการสำคัญข้อหนึ่ง คือ ความไม่เท่าเทียมกันในพัฒนาการทางการเมืองและเสณษบกิจซึ่งทให้มีการแบ่งยุโรปออกเป็นประเทศแกน และประเทศชายชอบ ประเภทแรกนั้นมีนัยนัยบ่งถึงความทันสมัยทางเสณาฐกิจ ความเป็นปราธิปไตยและเสถียรภาพทางการเมือง ส่วนประเภทหลังบ่งว่าเป็นประเทศที่ภาวะเศรษฐกิจและการเมืองอยู่ในภาวะเปลี่ยนผ่าน ความไร้เสถียรภาพมีระดับสูงต่ำคละกันไป
         
ประเทศแกนจึงไม่ค่อยเต็มใจที่จะรับสมาชิกใหม่ที่การพัฒนาทางเศรษฐกิจและการเมืองยังล้าหลังอยู่มากปัจจัุบันพลเมืองในสหภาพยุโรปมีประมาณ 370 ล้านคน ประชากรเพียงร้อยละ 5.3 อยู่ในภาคการเกษตรส่วนประเทศที่มีฐานะการคลังดีที่สุดที่กำลังขอสมัครเป็นสมาชิก คือ สโลวิเนีย ก็ยังคงยากจนกว่าโปรตุเกส ซึ่งเป็นสมาชิกสหภาพฯ ปัจจุบันต่างจากประเทศยุโปรกลางและยุโรปตะวันออกมาก ขณที่ประเทศแกนตั้งข้อรังเกียจประเทศชายขอบ ประเทศชายขอบกลับแสดงความต้องการเข้ารวมสมัครสโมสรเพราะคำว่า "ยุโรป" บ่งถงความทันสมัยและความเป็นประชาธิปไตย" ยิ่งจะมีการรวมตัวทางการเงิน ประเทศแกนจึงย่ิงหนักใจกับความล้าหลังทั้งของประเทศที่เป็นสมาชิกอยู่และประเทศที่กำลังขอสมัครเข้าร่วม รายได้ของชาวโปรตุเกสและ กรีก เป็นเพียง 1 ใน 8 ของรายได้ที่พลเมืองในนครใหญๆ ของประเทศแกนได้รับอยู่และกลับย่ิงแย่ไปกว่านั้นอีกในกรณีของแอลเนียและโรมาเนีย ควมแตกต่างทางด้านมาตฐานการครองชีพ ความแข้งแกร่งของสกุลเงินและค่าจ้างแรงงานขึ้นต่ำต่อชั่วโมง ทำให้เกิดความลังเลที่จะใช้เงินสกุลยุโรปเป็นเงินสกุลกลางของยุโรป ความไม่เท่าเที่ยมกันนี้ทำให้ยุโรปใต้ต่างกับยุโรปเหนือ และยิงมากขึ้นระหว่างผลดีกับผลเสียในการสร้างประชาคมที่สมาชิกมีความเท่าเทียมกัน
             นอกจากระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและการเมืองที่ต่างกันแล้ว ควาแตกต่างทางด้านสังคมและวัฒนธรรมก็เป็นอีกสาเหตุที่ทำให้ประเทศในยุดรปรู้สึกแปลกแยกต่อกัน ปัจจัยสำคัญๆ ได้แก่ ภาษา เชื้อชาติ ศาสนา และวิถีการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกัน ประเทศสมาชิกบางประเทสจึงไม่ปรารถนาการรวมตัวอย่างสมบูรณ์และเกรงว่าวัฒนธรรมของประเทศตนจะถูกกระทบหรือสูญสลาย
           ในเรื่องอุปสรรคทางด้านภาษนั้น ภาษายุโรปแบ่งออกเป็น 3 ตระกูล ใหญ่ โดยปกติดินแดนที่ขาดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกันทางวัฒนธรรมนั้นพลเมืองจะรู้สึกใหล้ชิดหรือสนิทใจกบคนที่พูดภาษาถ่ินเดียวกัน แต่ดินแดนยุโรปนั้นไม่มีภาษากลางและ(ุ้นำของสหภาพยุโรปก้ไม่มีความคิดที่จะให้มีถึงแม้จะช่วยทำให้การประสานงานต่างๆ สะดวกขึ้นและช่วยทำให้เกิดความรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกันก็ตาม...
         
 เมื่อยุโรปไม่มีวามเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทางด้านภาษา เชื้อชาติ ศาสนา ประวัติศาสตร์ ประเพณีและค่านิยม ทัศนคติของประชาชนในแต่ละประเทจึงแตกต่างกันไปด้วย เหตุกาณ์ทีเกิดขึ้นบนท้องถนนในชีวิตประจำวันที่กรุงปารีส ลอนดอน มิลาน แม้จะคล้ายคลึงกันแต่ก็ไม่เหมือนกันอยู่ดี เพราะกติกาและประสบการณ์ของแต่ละท้องถ่ินต่างกัน การตีความบางเรื่องจึงต่างกันไปด้วย..
          ปัญหาอัตลักษณ์ทางสังคมของยุโรปไม่ได้เกิดจากความแตกต่างระหว่างกันเ่านั้น แต่เกิดจากความหลากหลายทางวัฒนธรรมในแต่ละประเทศสมาชิกเองด้วย แทบจะไม่มีประเทศใดในยุโรปเลยที่มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทางด้านเชื้อชติและเผ่าพันะู์และแต่ละเชื้อชาติก็บอกว่าตนเป็ "ชาติ" ที่มีความเฉพาะ ไม่เหมือนกลุ่มเชื้อชาติอื่นๆ" เมื่อประเทศยูโกสลาเวียสลายใน ค.ศ. 1991 พลเมืองก็แสดงองค์ประกอบทาสังคมที่หลากหลายมาก
         การเคลื่อนย้ายของประชากรก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งของความหลากหลายทางวัฒนธรรมในสังคมยุโรป การเคลื่อนย้ายเนื่องจากการปลดปล่อยอาณานิคมของโลกตะวันตกให้เป็นอิสระ ความต้องการแรงงานในยุโรป สงครามและความขัดแย้งทางการเมืองในประเทศโลกที่สาม เมื่อหลังไหลไปมากๆ อังกฤษเป็นประเทศแรกที่เร่ิมควบคุมการอพยพโดยการออกกฎหมาย ซึ่งประเทศแกนอื่นๆ ก็ทำตาม ต่อมารัฐบาลของอังกฤษก็เลิการให้สัญชาติแก่คนที่ไม่มีพรรพบุรุษเกี่ยวข้องกับอังกฤษ
          แม้ในโครงสร้างสังคมของยุโรปเปบียยนไป มีคนหลายเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์เข้าไปอยู่อศัยอมากขึ้นหลังสงครามดลก แต่ผุ้นำของอียูก้เล็งว่าการสร้างเอกลักษณืของสหภาพฯ ขึ้นโดยเฉาพะ จะทำให้ประเทศสมชิกรูสึกใหล้ชิดกันย่ิงขึ้น และจะนำไปสู่ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของยุโรปได้ในที่สุดด้วยเหตุนี้จึงมีการออกมาตรการต่างๆ ขึ้นมาสนองวัตถุประสค์ดังกล่าว ซึ่งมี ๒ แนวทาง แนวทางแรก เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนในสหภาพฯ ไปมาหาสู่กันได้อย่างคล่อตัว รวมทั้งการำปทำงานในประเทศสมาชิกด้วยกัน.. แนวทางที่สอง คือ การสนับสนุนการแลกเปลียนทางวัฒนธรรมและการสร้างสัญลักษณ์ที่แสดงความเป็นยุโรปขึ้นมาเพื่อพลเมืองจะได้รู้สึกสนิทใจมากขึ้นในการกล่าว่าตนเป็นสมาชิกคนหนึ่งของประชาคมยุโรป
          ในส่วนของการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมและการสร้างอัตลักษณ์ของยุโรป มีการกำหนดนโยบายหลายประการ โดยเฉพาะทางด้านการศึกาาเพื่อบ่มเพาะคนรุ่นใหม่ให้ตระหนักเรื่องความเป็นยุโรปมากขึ้นปัจจุบันมีแผนงานต่างๆ กว่า สองพันห้าร้อยแผนงาน ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างประเทศสมาชิก ผุ้บริหารสหภาพยุโรปพอใจที่สามารถสอนเยาวชนยุโรปให้เข้าใจความซับซ้อนในสังคมยุคใหม่และนำตนให้หลุดพนจากอุสรรคที่ทำให้ไม่เข้าใจกันโดยการยอมรับและเคารพความหลากหลายไม่ใ่การปฏิเสธความแตกต่างจากตนแบบคนรุ่นก่อน
       
นอกจากทางด้านการศึกษาแล้ว โครงการทางด้านวัฒนธรรม ก็มุ่งสนับสนุกิจกรรมวัฒนธรรมร่วมกันของประเทศสมาชิกโครงการต่างๆ สนับสนุนการร่วมมือของอุตสาหกรรมโสตทัสนูปกรณ์ในยุโรป และสนับสนุนงานมรดกทางวัฒนธรรม.....

            - บทความ "สหภาพยุโรปกับการแสดงหาเอกภาพทางสังคม" โดย ผศ.ดร.ชาคริต ชุ่มวัฒนะ
         

วันอังคารที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2561

The strength of EU

            สหภาพยุโรป
            ในปี ค.ศ. 1978 สมาชิกประชาคมยุโรปมีการตกลงร่วมกันที่จะใช้ระบบการเงินยุโรป จนถึงปี ค.ศ. 1990 ก็ได้จัดตั้งเป็น "สหภาพการเงินยุโรป" ทั้งนี้เพื่อให้เกิดเสถียรภาพของตาดการเงินและการลงทุนในกลุ่มประชาคมยุโรป ซึ่งต่อมาได้จัดตั้งเป้นเขตเงินยูโรหรือ "ยูโรโซน" และในวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1993 กลุ่มประชาคมเศณาฐกิจยุโรป ได้มีการลงนามในสนธิสัญญามาสทิรชต์ ที่ประเทศสเปน ซึ่งเป้นสัญญาที่นำไปสู่การจัดตั้งสหภาพยุโรป อันเป็นกลุ่มที่ีมีรากฐานมาจากกลุ่มประชาคมเศราฐกิจยุโรป หรือ อีอีซี ซึ่งการรวมหลุ่มของประเทศในยุโรปเป็นสหภาพยุโรปนี้มีวัตถุประส่งค์เพื่อส่งเสริมด้านเศราฐกิจและความสัมพันะ์ทางการเมืองที่ดีในกลุ่มประเทศสมาชิก
           ต่อมาในปี ค.ศ. 1995 ออสเตรีย สวีเดน และฟินแลนด์ ได้เข้าร่วมเป้นสมาชิกใหม่ของสหภาพยุโรป และในปี ค.ศ. 2002 สมาชิก 12 ประเทศ จาก 15 ประเทศ คืองรั่งเศส เยอมนี อตาลี กรีก ฟินแลนด์ ไอร์แลนด์ สเปน เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก ออสเตรย และโปรตุเกส ได้ตกลงที่จะใช้เงินยู่โรปทนที่เงินสกุลแห่งชาติของตน ส่วนอีก 3 ประเทศ คือ สหราชอาณาจักร สวีเดน และเินมาร์ก ยังไม่ได้เข้าร่วม เนื่องจากยังไม่มีความพ้อมบางประการ โดยเฉพาะ สหราชอาณาจักรซึ่งถือว่าเป้นประเทศใหญ่อันดับสองในยุโรปรองลงมาจากเยอมนีนั้น ยังไม่สามารถผ่านประชามติควาเมห็นชอบจากประชาชนในประเทศของตนได้ ต่อมาในปี ค.ศ. 2004 สหภาพยุโรปได้ขยายจำนวนจาก 15 ประเทศ เป็น 25 ประเทศต่อมาในปี 2007 มีสามชิกใหม่ เพ่ิมอี 2 ประเทศ รวมเป็น 27 ประเทศ
          ในระยะเริ่มต้นที่ใช้เงินยูโรนั้น สหภาพยุโรปได้ตกลงร่วมกันว่าในวันที่ 1 มกราคม 1999 สหภาพยุโรป 12 ประเทศ จะเริ่มใช้เงินยูโรเป็นครั้งแรกในระบบการหักบัญชีของธนาคารซึ่งเป้นการเตรียมการเบื้องต้นก่อนทีจะเร่ิมีการใช้เงินตราร่วมกันในตลาดแลกเปลี่ยนซื้อขายในอี 3 ปีต่อมา และเมือถึงวันที่ 1 มกราคม 2002 สมาชิกสหภาพยุโรปที่เข้าร่วมยูดรโซนทั้ง 12 ประเทศ จึงได้เิ่มเงนยูโรในตลาดแลกเปลี่ยนของสมาชิกอย่างเป้นทางกา ต่อมาในวันที 1 มกราคม 2009 มีสมาชิกสหภาพยุโรปใหม่เข้าร่วมใช้เงินยูโรอีก 4 ประเทศ คือ สโลวาเนีย มอลตา ไซปรัส และสโลวาเกีย รวมเป้น 16 ประเทศในปัจจุบัน ดยมีสโลวาเกีย เป้นประเทศล่าสุดที่เข้าร่วม
           การขยายตัวของสหภาพยุโรป
           ที่ประชุมสุดยอดยุโรป ณ กรุงมาตริค ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1995ได้กล่วถึงการรับสมชิกเพิ่มของสหภาพยุโรปไว้ว่า "เป็นท้งความจำเป็นในทางการเมืองและเป็นโอกาศที่สำคัญย่ิงของยุดรป" ในปี ค.ศ. 199ุุ6 คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปได้รับใบสมัคราเขเ้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปจากประเทศ ต่างๆ รวมท้งสิ้น 14 ประเทศซ่งประกอบด้วยประเทศจากยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก 10 ประเทศและประเทศอื่นๆ อีก 4 ประเทศ ในขณที่คณะกรรมาธิการยุโรปไม่เห็นด้วยกับการรับตุรกีเข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 1989 แต่กลับมีความเห็นยอมรับใบสมัครของไซปรัสและมอลตาในวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1993 สำหรับแนวโน้มการรับสวิตเซอร์แลนด์เข้าเป็นสมาชิกนั้นยังคงชะงักงันเนือง จากชาวสวิสได้ลงประชมติไม่เข้ร่วมใน "เขตเศราฐกิจยุโรป" เมื่อเดือนธันวาคม 1992 ในการนี้คณะกรรมธิการยุโรปได้หารือกันถึงการรับประเทศที่ได้ทำ "ข้อตกลงยุโรป" กับสหภาพยุโรปเข้าเป็นสมาชิกก่อน ฉะน้น การพิจารณารับประเทศกลุ่มนี้เข้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปนี้เองจึงได้กลายเป็นหัวใจสำคัญของนโยบายการรับสมาชิกใหม่ของสหภาพยุโรปในเวลานั้น ต่อมาในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1996 ที่ประชุมสุดยอดยุโรปที่เมืองฟลอเรนซ์ได้ระบุว่า การเจรจารับสมาชิกรอบแรกที่จะทำกับกลุ่มประเทศยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกจะมีขึ้นพร้อมๆ กับการเจรจารับไซปรัสเป้นสมาขิก คอในเวลา 6 เอืนหลังจากการประชุมระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิกส้ินสุดลง การประชุมระหว่างรัฐบาลดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ประการหนึ่ง คือเพื่อเตียมสหภาพยุโรปให้สามารถรองรบการมีสมาชิกเพิมขึ้นในระดับ 20-25 ประเทศ ทั้งนี้โดยการปฏิรุปกระบวนการตัดสินใจและโครงสร้างทางด้านสถาบันให้พัฒน ขึ้น ทั้งในเรื่องประสิทธิภาถภ ความแน่นอนและความชอบธรรม
          บรรดาประเทศในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกต่างก็มอง่การเข้าเป็นสมาชิกของ สหภาพยุโรปนั้น จะเป็นหนทางไปสู่การสร้างความมันคงและเป้นการส่งเสริมกระบวนการพัมนาประเทศ ของตนให้ทั้นสมัย อันจะเป็นผลให้การปรับเปลี่ยนไปสู่ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยและระบบ เศราฐกิจแบบตลาดเสรีเป้นไปอย่างมีเสถียรภาพ ในขณะเดียวกันสหภาพยุโรปเองก็มองเห็นความสำคญของการรบยุโรปตะวันออกเข้า เป็นสมาชิก เรพาะเชื่อว่าการสถาปนาหลัการทางการเมืองและเศราฐกิจแบบยุโรป
ตะวันตกให้แก่ ประเทศเพื่อบ้านในยุโรปตะวันออกจะเป้นผลดีในระยะยาว สหภาพยุโรปให้ความสำคัญกับประดยชน์ใทางการเมืองดังกล่าวมากกว่าประดยชน์ในทางเศณาฐกิจ คือ การขยายตลาดเดียวแก่งยุรป ดังนั้นเมื่อสงครามเย็นสิ้นสุดลงสหภาพยุโรปจึงพบว่าตนเองจำเป็นต้องมบทบาท สำคัญในการเผยแพร่โครงสร้างทางสังคมอันมีรากฐานอยู่บนความมั่นคงความเจริญรุ่งเรื่อง ความเสมอภาคทางสังคม และความเป็นประชาธิปไตย ให้ขยายไปทัวทวีปยุโรป การขยายตัวของหสหภาพยุโรปไปทางตะวันออกจะมีผลกระทบต่อนโยบายการรักษาความมั่นคงเมืองคำนึงถึงรัสเซีย อย่างไรก็ดี การขยายตัวโดยรับยุโรปตะวันออกเข้าเป็นสมาชิกนั้นนอกจากมีผลกระทบต่อความเห็นพ้องต้องกันของประเทสสมาชิกสหภาพยุโรปในเรื่อง ของการบูรณาการยุโรปแล้ว ยังเป็นการทดสอบว่าประเทศเหล่านี้จะมีความสามารถในการปฏิรูปมากน้อยเพียงใด อีกด้วย ควาทท้าทายครั้งสำคัญนี้ไม่สามารถแก้ไขได้โดยการใช้รูปแบบการรับสมชิกใหม่ที่สหภาพยุโรปตะวันออกต้องมระดบการบูรณาการที่พอสมควรเสียก่อนจึงจะสามารถ รับเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปได้ ด้วยเหตุนี้สหภาพยุโรปจึงได้ประกาศที่จะดำเนินการควบคุ่กันไปทั้งในการ บูรณาการทางลึกและการรับสมาชิหใม่ เป้าหมายของสหภาพยุโรปคือการประสานกลยุทธ์เตรียมการเข้าเป็นสมาชิก รวมทั้งการเจรจารับประเทศยุโรปตะวันออกเข้าเป็นสมาชิกรวมทั้งการเจรจารับประเทศยุโรปตะวันออกเข้าเป็นสรชิกให้เข้ากัแนวทางของ "แผนการดำเนินงานปี ค.ศ. 2000" ซึ่ง ประกอบไปด้วยผลสรุปของการประชุมระห่างรัฐบาลประเทศสมาชิกในช่วงปี ค.ศ. 1996-1997 การปฏิรูประบบงบประมาณจากแหล่งเงินทุนของสหภาพยุโรปเอง การปฏิรูปนโยบายโครงสร้าง นดยบายการสร้างเอกภาพและนโยบายร่วมด้สนการเกษตร การดำเนินกาจัดตั้งสหภาพเศรบกิจและการเงินในขั้นตอนที่สาม และอนาคตของ "สหภาพยุโรปตะวันตก" เป็นต้น อย่างไรก้ดี การรับสมชิกใหม่จากยุโรปตะวันออกอาจนำมาสู่ความขัแยเ้งในเรื่องการจัดสรรประเทศที่จะได้รับเงินช่วยเหลือจากกองทุนสร้างเอกภาพ และประเทศผุ้ให้เงินช่วยภายในของสหภาพยุโรป และอาจนำทางให้ทางเลือกในการบรรณาการยุดรปจำกัดวงแคบขึ้น นอกจากนี้อาจนำไปสู่การถแเถียงกันในเรื่องรุปแบบตางๆ ของการบูรณาการยุโรป การมีความยืดหยุ่นเพ่ิมขึ้น หรือการเปลี่ยนศูนย์กลางในทางการเมืองและเศราฐกิจภายในของสหภาพยุโรป เป็นต้น
            จุดแข็งและจุดอ่อน เมื่อสหภาพยุโรปขยายขนาด
             เนื่องจากสหภาพยุโรปตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ทางเศราฐกิจและการเมืองควบคู่ันดยเฉาพะด้านเสราบกิจซึ่งเป็นประเด็นสำคัญที่ประเทศในกลุ่มสมชิกจะต้องร่วมกันทำให้เกิดประโยชน์เต็ม่เพราะเกี่ยวข้องโดยตรงกบประชาชนทุกคนในประเทศสมาชิก และมักมีปัญหาเกิดขึ้นบ่อยๆ นอกจากความร่วมมือตามข้อตกลงในสนธิสญญาของสหภาพ เช่น การใช้เงินสกุลเดียวกัน การเปิดพรมแดนเดินทางไปมาค้าขายกันได้สะดวก การใช้ระบบภาษีศุลการกรเดียวกันแล้ว ก็ยังมีประเด็นปลีกย่อยที่ต้องพิจารณาอีกด้วย เช่น การเคลือนย้ายแรงงาน  และการเคลื่อนย้ายเงินลงทุน เป็นต้น ซึ่งแตละประเทศมีสภาพแรงงานและฐานะเงินลงุทนไม่เท่ากัน ความเลหื่อล้ำด้านผลประโยชน์ทางเศราฐกิจจึงย่อมเกิดขึ้น ซึ่งอาจจะบานปลายกลายเป็นจุดอ่อนของการขยายตัวของกลุ่มสหภาพยุโรปไปในที่สุด ซึ่งจะแยกพิจารณาจุดแข้งและจุดอ่อนของสหภาพยุโรปจากการขยายขนาดของกลุมในประเด็นต่อไปนี้
            จุดแข็ง การขยายขนาดกลุ่มหใขึ้น แน่นอนว่าทำให้สหภายุดรปมีความแข็งแกร่งมากขึ้น มีลู่ทางที่จะเกิดความร่วมมือทางเศราฐกิจภายในกลุ่มได้มากขึ้น และพลังอำรสจในการต่อรองทางการต้าของสหภาพยุโรปทั้งกลุ่มกับประเทศนอกกลุ่มจะแข็งแกร่งมากขึ้นตามไปด้วยอกจากนี้ การที่สหภาพยุฏรปทั้งกลุ่มกับประเทศนอกกลุ่มจะแข็งแกร่งมากขึ้นตามไป้วยนอกจากนี้ การที่สหภาพยุโรปเป็นการรวมกลุ่มที่มีวัตถุประสงค์ทางการเมืองด้วย จึงวย่ิงทำให้ความมั่นคงทางการเมืองและดุลอไนาจกับประเทศอื่นๆ ในโลกมีมากขึ้นเมือขนาดขงอสหภาพยุโรปขยายใหย่ขึ้น กล่าวคือ ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างประเทศนอกกลุ่มกับสมาชิกในกลุ่มจะมีน้อยลงเพราะสหภาพยุโรปมีดุลอำนาจการเมืองระหว่างประเทศสูง
            จุดอ่อน มองอีกด้านหนึ่ ก็มีคำถามว่า ขนาดของสหภาพยุดรปที่ขยายใหญ่ขึ้นี้ จะช่วยเพ่ิมจุดแข้.ให้กับสหภาพยุดรปจริงๆ หรือว่าจะเป้นการขยายจุดอ่อนวึ่งมีอยู่แต่เพิมให้กลายเป้นปัญหารุนแรงมากข้นตามจำนวนสมาชิกที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ ประเด็นที่ว่า การรวมกลุ่มเพื่อเป็นการสมานแันท์ทางกาเรมืองระหว่างประเทศใหญ่ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอมนีที่เคยมีประวัติศาสตร์ความขัดแยง และเคยทำสงครามกันมาในอีดตหลายตอ่หลายครั้งนั้นการรวมกลุ่มกันจะทำให้เกิดการจับกลุ่ม่ย่อยในกลุ่มใหญ่เพื่อการเผชิญหน้ากันเองได้หรอืไม่เพระาแน่นอนว่าความสัพมันะ์ระหว่างประเทศ "หัวโจกใหญ่" หรือบรรดามหาอำนาจทางการรบในกลุ่ม เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศษ เยอมนี สเปน และอิตาลี นั้นย่อมจะเคยมีความสัมพันธ์กับประเทศสมาชิกในกลุ่มใระดับที่ดีมากน้อยแตกต่างกัน ดังนั้น การจับขั้นกันกับประเทศเล็กๆ ในกลุ่มย่อยมีทางเป็นไปได้ แะนั้นอาจจะเป็นสัญญาณอันตรายของสหภาพยุโรปในอนาคต เพราะมหาอำนาจทางการรบของยุโรปในอดีต เชน 5 ประเทศดังกล่าวอาจจะตั้งเป็นก๊กและเผชิญหน้ากัน ความขัดแย้งอาจเกิดขึ้นได้ไม่ยาก ในอดคร ประเทศเหล่านี้ ก็เคยแบ่งกลุ่มกันทำสงครามมาหลายครั้ง เช่น สงครามเก้าปี และสงครามสเปน
              จากการดำนเนิงานของกลุ่มสหภาพยุโรปที่ผ่านมา อาจกล่าวได้ว่า สไภาพยุโรปยังมีปัญหาบาวประการที่เป้นจุดอ่อนทำให้ความสามารถในการแข่งขันของสหภาพยุโรปยังต่ำก่าของสหรัฐมาก ทั้งที่ขนาดจีดีพีของสหภาพยุโรปที่มีเกือบ 80% ของสหรัฐ ทำให้การต่อรองแม้กับสหรัฐประเทศเดียวก็จับว่าค่อนข้างยากแล้ว อย่างไรดี ในภาพรวมจะเห็ว่า จุดอ่อนของสหภาพยุโรปมาจาสาเหตุอย่างน้อย 4 ประการด้วยกัน ประการแรกความแตกต่างในนโยบายต่างปรเทศของสมาชิก ประการที่สอง ข้อจำกัดในการปกิบัติและการฝ่าฝืนหลักาเกณฑ์ของสหภาพยุโรป ประการที่สาม ปัญหาในการปฏิบัติตามนโยบายร่วมด้สนการเษตร และประการที่สี่ ความลักลั่นคะหว่างสมาชิกของสหภาพยุโรปที่ใช้เงินยูโรกับไม่ได้ใช้เงินยูฌร แต่ก่อนที่จะกล่วถึงสาเหตุที่ทำให้สหภาพยุโรปมีจุดอ่น ก็ควรที่จะได้นำความเป้นมและหลักเกณฑ์ข้อตกลงของสมาชิกในกลุ่มสหภาพยุโรปมาอธิบายเพื่อประกอบความเข้าใจที่ชัดเจนขึ้น

            - http://dcms.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=46607&query=%CA%CB%C0%D2%BE%C2%D8%E2%C3%BB&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2561-01-09&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=19&maxid=119
             - https://sites.google.com/site/tanashit3011/shphaph-yurop-european-union-eu
         

วันจันทร์ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2561

from Napoléon Bonaparte to European Union

           ในปี ค.ศ. 1804 นโปเลียน โบนาปาร์ต หนึ่งในสามผู้นำของคณะกลสุลฝรั่งเศส ได้ปราบดาภิเษกตนเองเป็นจักรพรรดิและเร่มต้นจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1 จักรพรรคินโปเลียน ทรงปรับปรุงกองทัพฝรั่งเศสเป็น "กองทัพใหญ่" ในปี ค.ศ. 1805 การประกาศฝรั่งเศสเป็นจักรวรรดิทให้ชาติต่างๆ รวมตัวอันอีกครั้งเป้นสัมพันธมิตรครั้งที่สาม จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ทรงนำทัพบุกเยอรมนี ชนะกองทัพออสเตรียที่อุล์ม แต่ทางทะเลต้องพ่ายแพ้อังกฤษที่แหลมราฟัลการ์ในยุทธนาวีทราฟัลการ์ ชัยชนที่อุลมทำให้จักรพรรดินโบเลียนทรงรุกคือบเข้าไปในออสเตรีย และชนะออสเตรียกับรัสเซียที่เาอสเทอร์ลิทซื เป็นชัยชนะที่ย่ิงที่ีสุดของจักพรรคดินโโปเลียนทรงรุกคืบเข้าไปในออสเตรียและชนะออสเตรียกับรัสเซียที่เอาสเทอรลิทซ์ เป็นชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของจักรพรรดินโปเลียน ทำให้สัมพันะ์มิตครั้งที่สาม สลายตัวด้วยสนธิสัญญาเพรสบูร์ก ผลของสนธิสัญญาคือ จักวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ต้องล่มสลายไป พระเจ้านโปเลียนตั้งสมาพันธ์รัฐแห่งแม่นำ้ไรน์ ขึ้นมาแทนที่ ยังผลให้จักรพรรดิเเห่งโรมันนอันศักดิ์สิทธิ์ต้องเปลี่ยนพระอิสริยยศเป็นจักพรรดิแห่งออสเตรีย ซึ่งในช่วงต้นของสงครามกับนานาประเทศ ฝรั่งเศสบุกชนะในหลายประเทศอาทิ เช่น ออสเตรีย ปรัสเซีย โปรตุเกส และชาติพันธมิตรชาติอื่นๆ อีกทั้งยังยึดครองดินแดนในทวีปยุโรปไว้ได้มากมาย..
           
             ความสำเร็จของนโปเลียนในเยอรมนี ทำให้ปรัสเซียร่วมกับอังกฤษและรัสเซียตั้งสัมพันธมิตรครั้งที่สี่ แต่คราวนี้ฝรั่งเศสมีรัฐบริวารมากมายให้การสนับสนนุ จักรพรรพินโบเลียนจึงนำทัพบุกปรัสเซียชนะที่ เยนา-เออร์ซเตดท์ และชนะรัสเซียที่ฟรีดแลนด์ ทำให้เกิดสธิสัญญาแห่งทิลซิต ที่ยุติสองปีแหงการนองเลือดของทวีปยุฑรปลงในปี ค.ศ. 1807 จากสนธิสัญญานี้ทำใหปรสเซียสุญเสียดินแดนขนาดใหญ่ กลายเป็น แกรนด์ดัชชีวอร์ซอว์ และซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 1 ร่วมเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสและข้าระบบภาคพื้นทวีป เพื่อตัดขาดอังกฤษทางการต้าจาผืนทวีปยุโรป แต่สองประเทศ คือสวีเดน และโปรตุเกส เป็นกลางไม่ยอมเข้าร่วมระบบภาคถื้นยุโรป จักพรรดินโลเียนบุกโปตุเกสตกเป้นอาณัติของฝรั่งเศส แต่ชาวสเปนและชาวโปรตุเกสไม่ยินยอม จึงทำสงครามคาบสมุทรตอต้านจักรพรรดินโปเลียน โดยใช้การสงครามกองโจร ทางสหราชอาณาจักรส่งดยุกแห่งเวลลิงตัน มาช่วยสเปนและโปรตุเกสในปี ค.ศ. 1809 ออสเตรียก็ตัดสินใจทำสงครามอีกครั้ง เป็นสัมพันธธมติรครั้งที่ ห้า นโปเลียนนำทีพบุกทนที่ ชนะออสเตรียที่แอสเปิร์น-เอสลิง และวากกราม จนทำให้เกิด สนธิสัญญาเชินบรุนน์ ทำให้ออสเตรียเสียดินแดนเพ่ิมเติมให้แก่ฝรั่งเศสและจักพรรดินโปเลียนอภิเษกกับอาร์ดัชเชสมารี หลุยส์แห่งออสเตรีย
           Drittes Reich หรือไรท์ที่สาม
           อาณาจักรไรซ์ที่ 1 ในความหมายของนาซีคือ จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ คือหลังจากจักรวรรดิโรมันตะวันตก(โรม) ล่มสลาย โรมันที่เหลือยุ่้ายไปโรมันตะวันออก(คอนสแตนติโนเปิล) พวกแพรงค์ที่เป็นอนารยชนก็ตั้งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ขึ้น แถบ เยอรมัน ไม่เป็นรัญชาติอย่างชัดเจนแต่เป็นรัฐหลวมๆ ที่ประกอบด้วยประเทศ เยอมรมัน ออสเตรีย เอลเยียม เป็นต้น ในยุคแรกๆ ใช้ศาสนาคริสต์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว
             อาณาจักรไรท์ที่ 2 คือ เยอมัน เอมไพร์ หลังจากไรซ์ที่ 1 ล่มสลายไป เพราะรัฐขาติย่อยๆ แต่ละรัฐแข็งแกร่งขึ้น ก็มีความพยายามจะรวมชนเผ่าเยอรมันเข้าด้วยกันโดยนายพลอิสมาร์ค ซึ่งเป็นผุ้นำแคว้นปรัสเซีย รุ่งเรื่องสุดขีดและจบลงด้วยการแพ้สงครามโลกครั้งที่ 1
             อาณาจักรไรซ์ที่สาม (นาซี) เป็นคำอ้างของนาซีเยอรมัน หลังจากถูกกดขี่จากผู้ชนะสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ฮิตเลอร์รวมเยอมันขึ้นมาใหม่

              นาซีเยอมนี หรือ หรือไรซ์ที่ 3 หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ "ไรซ์เยอมัน" เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอมนีระหว่างปี 1933-1945 เมื่อปะรเทศเยอมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอมนรีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทยทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอมีนล่มสลาหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลครั้งที่สองในทวีปยุโรป
              ประธานาธิบดีแห่งสาธารรรัฐไวมาร์ เพาะล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก แต่างตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเร่ิมกำจัดคู่แข่งทางการเืองและรวบอไนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรรมเมือวันที 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผุ้เผด็จการแห่งเอยมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมือวัที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นผู้นำ เยอรมนีแต่เพียงผุ้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จท้งหมดรวมอยุ่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่มมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่างๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศราฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการวางงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่าางหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างออตโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศราฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพ่ิมพูนขึ้น
           คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี ดยถือว่ากลุ่มชนเอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก เป็นเขื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถุกกดขี่เช่นกัน  โดยผุ้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร แบะ สรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอากสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความเข็งแรงผ่านความรื่นเริง มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรซ์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น
          เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอมนีเรียกร้องดินแดนอยางก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อยๆ และขู่ทสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรีย และเชโกสดลวาเกียในปี 1938  และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับ โจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะ ที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปสวนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรซ์คอมมสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลือยุ่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถุกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์
ดินแดนยึดครองของเยอรมันและฝ่ายอักษะ (ในสีน้ำเงิน) ราว 1942

             หลักการรุกรานสหภาพโซเวียต ในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้ง ในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี...
             สหภาพยยุโรป เป็นศัพท์ที่ปรากฎอย่างเป็นทางการในที่ประชุมสุดยอดของบรรดาผุ้นำประเทศสมาชิกประชาคม ยุโรป ณ กรุงปารีส ในปี ค.ศ. 1972 โดยที่ประชุมในครั้งนั้นได้ตั้งจุดมุ่งหมายเาอไว้ว่า จุดหมายหลักคือการพัฒนาด้วยความเคารพและยึดมั่นในสนธิสัญญาที่ประเทศสมาชิก ได้ลงนามไว้ ในอันที่จะกระทำความสัมพันะือันซับซ้อนทั้งมวลระหว่างประเทศให้กลายเป้นสหภาพยุโรป ต่อมาได้มีการะบุแนวความคิดดังกล่าวไว้ในบทอารัมภกถาของสัญญาจัดตั้งตลาด เดียวแก่งยุดรป แต่ไม่ปรากฎในสันธิสัญญาจัดตั้งสหภาพยุโรป โดยมาตรา A ของสนธิสัญญาดังกล่าวได้ระบุข้อความที่เกี่ยวกับสหภาพไว้แทนที่ว่า สนธิสัญญาฉบับนี้เป็นสัญญาลักษณ์ของก้าวใหม่ในกระบวนการสร้างสรรค์สหภาพที่มีความสัมพันะ์ใกล้ชิดกันมากขึ้นเรื่อยๆ ของประชาชาติยุโรป โดยการตัดสินใจใดๆ ของสหภาพจะกระทำใกล้ชิดกับเมืองของยุโรปให้มากทีสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ในกระบวนการดังกล่าวนี้ สหภาพความจะจัดระบบความสัมพันะ์ระหว่างประชาชาติยุโรปให้แสดงถึงความีเอกภาพ และความเป็นปึกแผ่น
          อย่างไรก็ดี ตความพยายามในการกำหนดรูปแบบของสหภาพยุโรปอย่างชัดเจนท้งจากแวดวงการเมืองและจากนักวิชาการประสบความสำเร็จอยู่ในวงจำกัด การตรวจสอบความหมายของคำว่า สหภาพ หรือจุดมุ่งหมายกันตามแบบของนักวิชาการยังไม่รับการยอมรับอย่างเป้นเอกฉันท์ ในทางการมือง ดังจะเห็นได้จาก คำประกาศแห่งสตถตการ์ท ค.ศ. 1986 ซึ่งมีการระบุไว้เพียงจุดมุ่งหมายท่วไปในการบรรลุถึงการเป็นสหภาพยุโรป อาทิ เช่น หลักการประชาธิปไตยและการเคารพในกฎหมายสิทธิมนุษยชน เป็นต้น มีข้อสังเกตว่า ในเอกสารทั้ง 2 ฉบับได้ว่างแนวทาง 2 ในการพัฒนาสหภาพยุโรปไว้ กล่าวคือประเทศสมชิกจะดำเนินการเพื่อให้บรรลุถึงการเป็ฯสหภาพยุโรปโดยอาศัยหลัก 2 ประการคือ 1. หลักของประชาคมยุโรปที่ทำงานไปตามระเบียบของตนเอง และ 2.หลักความร่วมมือระหว่างชาติสมาชิก....

http://www.isriya.com/node/186
https://sites.google.com/site/tanashit3011/shphaph-yurop-european-union-eu
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%9D%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87
https://pantip.com/topic/36046486

วันเสาร์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2561

Treaty of Lisbon

           สนธิสัญญาลิสบอน เป็นความตกลงระหว่างประเทศซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมสนธิสัญญาสองฉบัยที่เป็นรากฐานทางกฎหมายของสหภาพยุโรป "อียู" อันได้แก่สนธิสัญญามาสทราิชท์ (พ.ศ. 2536 ) และสนธิสัญญาโรม (พ.ศ. 2501) สนธิสัญญาลิสบอนได้รับการลงนามโดยผุ้แทนจาก 28 รัฐสมาชิกในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และเริ่มบังคับใช้ในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552
          สาระสำคัญที่เปลี่ยนแปลงไป อาทิ การลงมติในคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปจากเดมใช้ระบบแบ่งช่วงประชากรเพื่อกำหนดจำนนวนเสียงลงคะแนน มาเป็นระบบคะแนนเสียงถ่วงน้ำหนักตามประชากรของแต่ละประเทศ การใช้ระบบใหม่นี้ทำให้บรรดาชาติที่มีประชารเป็นอันดับต้นๆ อย่าง เยอรมนี, ฝรั่งเศส, สหราชอาณาจักร, อิตาลี, สเปน ได้รับผลประโยชน์จากอำนาจลงคะแนนที่เพ่ิมชึ้น ในขณะที่ชาติที่มีประชากรน้อยสูญเสียอำนาจในการลงคะแนบางส่วนไป สธิสัญญาฉบับนี้ยังเปิดทางให้มีร่างกฎหมายสหภาพว่าด้วยสิทธิ ซึ่งบับคับยใช้เป็นกฎบัตรสิทธิขั้นพื้นฐาน และยังระบุถึงสิทธิของรัฐสมาชิกที่จะออกจากการเป็นสมาชิกภาพไว้อย่างชัดแจ้งhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%99
        สนธิสัญญาลิสบอน...
        ประเทศสมาชิก EU ตระหนักถึงความจำเป็ฯในการปรับปรุงโครงสร้างเพื่อตอบสนองกระบวนการบูรณาการภายใจ EU ที่ก้าวหน้าขึ้นและความประสงค์ที่จะขยายบทบาทของ EU ในประชาคมโลก โดยในขั้นแรกเห็นควรให้จัดทำ "ธรรมนูญยุโรป" แต่แนวคิดังกล่าวต้องล้มเลิกไปเนื่องจากประชาชนงั่งเศ และประชาชนเนเธอร์แลนด์ได้ปฏิเสธรางธรรมนูญยุโรปในการจัทำประชามติในทั้ง 2 ประเทศ เมือ ค.ศ. 2004 และ ค.ศ. 2005 ตามลำดับ ต่อมาเมื่อวันที่ 18-19 ตุลาคม ค.ศ. 2007 ประมุขแห่งรั, ผู้นำรัฐบาลของประเทศสมาชิก อียู สามารถบรรลุข้อตกลงระหวา่งกันให้เปลี่ยนจาการจัดทำธรรมนูญยุโรปเป็นการจัดทำสนธิสัญญา แทน โดยเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 2007 ประมุขแห่งรับ ผู้นำรัฐบาลของประทศสมาชิก อียู ท้ง 27 ประเทศ ได้ร่วลงนาในสนธิสัญญาลิสบอน ที่กรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส ทั้ง ทั้งี้ สนธิสัญญาลิสบอนมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 2009
           สาระสำคัญของสนธิสัญญาลิสบอนได้แก่
           - เป็นสนธิสัญญาระห่างรัฐสมาชิก อียู ที่ให้ความเห็นชอบในการสละอำนาจอธิปไตยบางส่วนให้แก่ความร่วมมือเหนือชาติ โดย ย่อหน้าที่ 3 ของสญญาลิสบอนระบุว่า อียู มีอำนาจเบ็ดเสร็จ ในเรื่อง สหภาพสุลกากร, การออกกฎระเบียบด้านการแข่งขัน ที่จำเป็นต่อการทำหน้าที่ตลาดภายใน, นโยบายด้านกาเงนสำหรับรัฐสมาชิก อียู ที่ใช้สกุลเงินยูโร การอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพทางทะเล และ นโยบายการต้าร่วม
         
 - สนธิสัญญาฯ กำหนดให้สร้างตำแหน่งผุ้บริหารึ้น 2 ตำแหน่งใหม่ คือ
            1. ประธานคณะมนตรียุดรป (เที่ยบเท่าผู้นำรัฐบาล/ประมุขแห่งรัฐ)
            2. ผู้แทนระดับสูงของสหภาพยุโรปด้านการต่างประเทศและนโยบายความมั่นคง (เที่ยบเท่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ อียู) มีหน้าที่คือ ดูและเรื่องนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงที่มาจากการตัดสินใจร่วมกันของ ประเทศสมาชิก และเป็นประธานในการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิก อียู (แทนระบบประเทศสมาชิกผลัดกันเป็นประธาน วาระละ 6 เดือน
           การขยายสมาชิกภาพของ อียู และการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเท่าภัยพิบัติ ซึ่งทำให้บุคคลที่รับหน้าที่ี้มีอำนาจหน้าที่ท้งในคณะกรรมธิการยุโปร และคณะมรจรีแห่งสหภาพยุโรป
           อย่างไรก็ดี ประเทศสมาชิก อียู ยังคงมีอำนาจในการดำเนินนโยบายต่างประเทศและนโยบายด้านการทหาร ความมั่นคงเชืนเ ดิมโดยการสนับสนุนด้านทรัพยการบุคคลท้งพลเรือนและทหารแก่ อียู เพื่อการดำเนินการด้านการป้องกันและความปลอดภัยร่วม ขึ้นอยู่กับความสมัครใจของแต่ละประเทศสมาชิก
           3. สนธิสัญญาลิสบอนกำหนดให้มีการจัดตั้ง ยูโรเปี้ยน เอ็กเทอร์นอล แอคชั่น เซอร์วิส เพื่อทำหน้าที่เป้น "กระทรวงการต่างประเทศ" ของ อียู โดยมีการคัดสรรบุคลากรจากระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกและสถาบนอื่นๆ ของ อียู มาปฏิบัติราชการเืพ่อสนับสนุนการทำงานของผุ้แทรระดับสูงของ อียู ด้านการต่างประเทศ ฯ และ เริ่มปฏิบัิตการเมือวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2011 โดยขึ้นตรงต่อผุ้แทนระดับสูงของ อียู ด้านการต่างประเทศฯและดำเนินานเป็นอิสระจากคณะกรรมาธิการยุดรปและคณะมนตรียุโรป โดยมีสำนักงานใหญ่ ณ กรุงบรัสเซลส์
             การจัดตั้ง "กระทรวงการต่างประเทศ" ของ อียู ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อเรียกของสำนักงานคณะผู้แทนคณะกรรมาธิการยุโป เป็นสำนักงานคณะผู้แทน อียู โดยอยู่ภายใต้สังกัน "กระทรวงการต่างประเทศ" ของอียู เอกอัครราชทูตและหัวหร้าคณะผู้แทน อียูทำหน้าที่เป็นผู้แทน อียู ในการดำเนินนโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคงกับประเทศที่สาม
           อำนาจห้าที่ของ กระทรวงการต่างประเทศของอียู ได้แก่
           -ทำหน้าที่เป็นกระทรวงการต่างประเทศของ อียู ในด้านนโยบายร่วมด้านการต่างประเทสและความั่นคง
            -รับผิดชอบในเรื่องการยุติความขัดแย้งระหว่างประเทศแลการสร้างสันติภาพ ส่วนคณะกรรมาธิการยุโรปรับผิดชอบงานด้านการให้ความช่วยเหลื่อเพื่อการพัฒนา พลังงาน การขยายสมาชิกาภพของ อียู และการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งให้ความสำคัญเป็นพิเศษกับความสัมพันธ์กับประเทศเืพ่อบ้านของ อียู และความสัมพันธ์กับประเ?สที่ อียูมองว่ามีศักยภาพในด้านการเมืองและเศราฐกิจ อาทิ บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน แอฟริการ และสาธารณรัฐเกาหลี โดย อียู จะขยายคาชวามร่วมมือกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเฉพาะในกรอบ อาเซียน และอาเซยน รีเจียลแนล ฟอร์รัม
            - สนธิสัญญาลิสบอนเป็นสนธิสัญญาฉบับแรกที่ให้พื้นฐานทางกฎหมายแก่ อียู ในการดเนินการด้านความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ดดยมีการระบุอย่างชัดเจน่า การลดและขจัดคามยากจนในประเทศที่สามาเป้นวัตถุประสงค์สำคัญของนโยบายความร่วมมือเพื่อากรพัฒนาของ อียู อย่างไรก็ดี การดำเนินนโบายนี้ยังขึ้นอยุ่กับดุลพินิจของแต่ละประเทศสมาชิก อียู เนื่องจาไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายรวมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง
            - สนธิสัญญาบิสบอนให้ความสำคัญต่อส่ิงแวดล้อม และการจัดการปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ โดยกำหนดว่า เป้าหมายหนึ่งของ อียู ได้แก การพัฒนาที่ยั่งยืนบนพื้นฐานของการปกป้องและพัฒนาคุณภาพของสิ่งแวดล้ม โดยการจัดการกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอากาศเป็นเป้าหมายที่สำคัญ ประการหนึ่งภายใต้นโยบายสิ่งแวดล้องของ อียู นอกจานี้ สนธิสัญญาลิสบอนยังระบุว่า การพัฒนาที่ยั่งยืนเป้นเป้าหมายหนึ่งของ อียู ในการดำเนินความสัมพันธ์กับประเทศที่สาม
            - สนธิสัญยาลิสบอนไกำหนดให้สภายุโรปมีบทบาทมากขึ้นเนื่องจากไ้รับอำนาจากขึ้นในการ่วมพิจารณาร่างกฎหมายของ อียู เกือบทั้งหมด เช่น เกษตรกรรม พลังงาน ความมั่นคง การตรวจคนเข้าเมือง ยุติธรรม มหาดไทย และสาธารณสุข สนธิสัญญาลิสบอนยังกำหนดให้สภายุโรปต้องหารือกับรัฐสภาของประเทศสมาชิก เกี่ยวกับร่างกฎหมาย ตั้งแต่เร่ิมต้นกระบวนการพิจารณาร่างกฎหมาย ซึงจะทำใหการทำงานของ อียู มีลักษณะเป็นประชาธิปไตย มากขึ้น และใขณะเดียวกัน จะมีความคาดหวังจากสภยุโรปสูงขึ้นเชนกัน นอกจากนี้ มีการเพ่ิมจำนวนสมาชิกสภาประชาธิปไตย มากขึ้น และในขณเดียวกัน จะมีความคาดหวังจากสภายุโรปสูงขึ้นเช่นกัน นอกจากนี้ มีการเพ่ิมจำนวนสมาชิกสภาพยุโรปจากเดิมจำนวน 736 คน เป็นจำนวนไม่เกิน 750 คน ดดยแต่ละประเทศสมาชิกจะมีสมาชิกสภายุโรปได้สูงสุดไม่เกิน 96 คน...http://thaiembassy.dk/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD-%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2/

EU

           สหภาพยุโรประกอบไปด้วยรัฐอิสระ 28 ประเทศ เป็นที่รู้จักกันในสถานะรัฐสมาชิก : ออสเตรีย เบลเยียม บัลแกเรีย โครเอเชีย ไซปรัส สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ฮังการี ไอร์แลนด์ อิตาลี ลัตเวีย ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก มอลตา เนเธอแลนด์ โปแล้นด์ โปรตุเกส โรมาเนีย สโลวาเกี่ย สโลวีเนีย สเปน สวีเดน และสหราชอาณาจักร
           ปัจจุบันมีประเทศสมัครเข้าเป็นสมาชิก 28 ประเทศคือ มาชิโดเนียและตุรกี ส่วนประเทศแถบคาบสมุทรบอลข่านตะวันตก เช่น แอลเบเนีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกรและเซอร์เบีย ถูกจัดให้เป็นประเทศที่สามารถสมัครเข้าเป้นสมาชิกได้โคโซโวเองก็ได้สถานนีเช่นเดียวกัน
           ปี 1950 ประเทศฝรั่งเศสมีโครงการจะก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กล้ายุโรป ขึ้น เพราะนอกจากจะเป็นการช่วยยกฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศในยุโรปแล้ว ยัวเป้นการสร้างพื้นฐานในการที่จะก้าวไปสู่การเป็นสหพันธ์รัฐในอนาคตด้วย ฝรั่งเศสจึงขอความร่วมมือจากประเทศต่างๆ ในทวิปยุโรป โดยการแถลงการณ์ต่อบรรดผู้แทนของหนังสือพิมพ์ทั่วดลก และเมืองฝรั่งเศสแถงการณ์ออกไปแล้ว ประเทศเยอรมนี เบลเยียม อิตาลี ลักเซมเบอร์ก และเนเธอร์แลนด์ ได้ตกลงร่วมมือสมัครเข้าเป็นสมาชิก และได้จัดตั้งเป็นองค์การ ECSC อย่างเป็นทางการเมืองวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1951
         
 ต่อมาผู้นำประเทศทั้ง 6 ได้ร่วมกันจัดตั้งองค์การป้องกันยุโรป ขึ้นอีกองค์การหนึ่งเพื่อให้ประเทศสมาชิกได้มีความร่วมมือกนทางการเมือง (EDC) และเพื่อเป้นการสนับสนุนองค์การนาโตด้วย และในการจัดตั้งองค์การนี้จะทำให้ยุโรปมีกองทัพที่สมบุรณ์ แต่ EDC ก็ไม่สามารถดำเนินงานไปได้ เรพาะรัฐสภาพของฝรั่งเศสไม่ยอมให้สัตยาบัน แต่ด้วยความจำเป็นที่ยุโรปจะต้องมีนโยบายต่างประเทศร่วมกัน เพื่อจะให้มีกองทัพมีบูรณภาพ รัฐมนตรีต่างปรเทศของประเทศสมาชิกทั้ง 6 จึงมอบหมายหน้าที่ให้สภาของ ECSC เตรียมดครงการจัดตั้งประชาคมการเมืองยุดรป ขึ้น เพื่อเสนอต่อรัฐบาลของประเทศทั้ง 6 ซึ่งมีจุดประสงคืที่จะดำเนินนโยบายทางการต่างประเทศและการป้องกันประเทศ ต่อมาประเทศทั้ง 6 ก็เปลี่ยนแนวทางจากการรวมตัวทางการเมืองมาเป็นการรวมตัวทางเศณาฐกิจแทน และได้ร่วมมือกันก่อตั้งกลุ่มประชาคมเศราฐกิจยุโรป หรือตลาดร่วมยุโรป และประชาคมพลังงานปรมาณู ยุโรป หรือยูเรตอน ขึ้นเมือง ปี 1957
          การก่อตั้งองค์กรท้ง 2 นี้เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จในการรวมกลุ่มทางเศราฐกิจที่สำคัญของยุโรปตะวันตก
          ต่อมาเพื่อเป็นการสร้างเสริมความมั่นคงให้แก่ทวีปยุโรป จึงมการรวมองค์กรบริหารเข้าด้วยกัน ใช้ชื่อว่า ประชาคมยุโรป ในปี 1967 เพื่อประโยชน์ทางด้านเศราฐกิจ และในวันที่ 1 พฤศจิกายน 1993 EC เปลี่ยนชืื่อเป็นสหภาพยุโรป (EU) เพราะนอกจากจะร่วมือกันทางเศษรฐกิจแล้ว ยังเป็นองค์การความร่วมมือทางด้านการเมืองระหว่างประเทศสมาชิกด้วย 
           การรวมตัว สนธิสัญญามาสทริชท์ เน้น "เสาหลัก" 3 ประการ คือ
           1. การรวมตัวด้านเศรษฐกิจ ยุโปรตลาดเดียว ให้มีการเคลื่อนที่ปัจจัย 4 ประการ โดยเสรี คือ บุคคล, สินค้า, การบริการ, ทุน มีนโยบายรวมกัน ในด้านการต้า การเกษตร พลงงาน สิ่งแวดล้อม ประมง และด้านสังคมเป็นต้น สหภาพเศราฐกิจแลการเงิน ได้เข้าสู่ขั้นตอนสุดท้ายของ EMU เมื่อวันที่ 1 มกราคม 1999 ซึ่งมีเงินสกุลเดียวคือ เงินยูโร และมีธนาคารกลางของสหภาพ
          2. นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศ และความมั่นคง และนโยบายด้านความมั่นคงและการป้องกันประเทศ
           3. ความร่วมมือด้านกระบวนการยุติธรรมและกิจการภายใน (มหาดไทย) รวมทังการตรวจคนเข้าเมือง การปราบปรามอาชญากรรมและยาเสพติด การจัดตั้งกองตำรวจร่วม "ยูโรโปล" และการดำเนินการร่วมด้านความมั่นคงภายใน ฯลฯ
         
กลไกการบริหารจัดการของสหภาพยุโรป มีดังนี้
           1. คณะกรรมกาธิการยุโรป เป็นองคการฝ่าบบริหาร ดูแลประโยชน์ของประชาคมโดยส่วนรวม มีความเป้นอิสระไม่ขึ้นต่อตัฐใดรัฐหนึ่ง
           2. คณะทนตรี ประกอบด้วย ตัวแทนจากรัฐสมาชิก
           3. ศาลตุลาการยุโรป
           4. สภายุโรป ประกอบด้วย สมาชิกสภายุโรปจำนวน 731 คนมาจาการเลื่อกตั้งโดยตรงทุกๆ 5 ปี โดยสมาชิกสภายุโรปเหล่านี้มิได้แบ่งตามประเทศ แต่สังกัดอยุ่กับพรรคการเมืองในระดับยุโรปที่มีแนวคิดทางการเมืองสอดคล้องกับพรรคการเมืองในระดับประเทศที่ตนสังกัดมากที่สุ ยังมีสมาชิกสภายุโรปบางส่วนที่ไม่ได้สังกัดพรรคการเมืองใด ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ สภาพยุโรป คือ เสียงแห่งประชาธิปไตยของประชาชนยุโรป ทั้งนี้ ประธานสภายุโรป ณ พฤษภาคม 2006 คือ นาย โจเซฟ โบเรล
         กล่าวโดยสรุป สหภาพยุโรปเป็นการรวมกลุ่มของประเทศในภูมิภาคยุโรปท้้งด้านการมเืง อเสณาฐกิจ และสังคมในลักษณะสภาบันแบบ "เหนือรัฐ" ที่ใหญ่ที่สุดและก้าวหน้าที่สุดในโลก โดยมีวัถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างสันติภาพเป็นการถาวะระหว่งประเทศในภุมิภาคยุโรปภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 รวมไปถึงการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศราฐกิจแก่ประเทศสมาชิกและการมีบทบาทนำของ "อียู" ในประชาคมโลก
           กระบวนการถ่ายโอนอำนาจการบริหารจากประเทศสมาชิกไปสู่การเป็นองค์การเหนือรัฐของสหภาพยุโรปมีขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป การรวมกลุ่มอย่างเป็นรูปธรรมเกิดขึ้นครั้งแรกเมือปี 1950 ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยประเทศยุโรปตะวันตก  6 ประเทศ โดยร่ามกันจัดตั้งประชคมถ่านหินและหล็กล้ายุโรป ขึ้น ซึ่งแม้เป้าหมายสูงสุดของการรวมกลุ่มจะมีขึ้นเพื่อผลประดยชน์างด้านการเมือง แต่ได้เลือกวิธีการร่วมกลุ่มทางเศณา๙กิจเป็นตัวนำเพื่อคลายความระแวงสงสัยของประเทศต่างๆ ในเรื่องการสูญเสียอำนาจอธิปไตย การรวมกลุ่มดังกล่าวประสบผลสำเร็จด้วยดี ทำให้ต่อมาในปี 1957 การรวมกลุ่มได้ขยายตัวครอบคลุมภาคเศราฐกิจอื่นๆ โดยแต่ละประเทสได้ลงนาในสนะิสัญญากรุงโรม เพื่อจัดต้งประชาคมเศณาฐกิจยุโรป เพื่อให้เป็นทั้งสหภายสุลกากร และตลาดร่วม กระบวนารรวมกลุ่มประสบความสำเร็จอย่างมากในด้านเศรษฐกิจ
         
ปี 1990 หลังช่วงสงครามเย็น ฝรั่วเศสและเยอรมันเสนอให้มีการจัดตั้งสหภาพการเมืองของยุโรปเพื่อให้มีการกำหนดนโยบายด้านการต่างประเทศและความมั่นคงร่วมกัน ซึ่งท้ายที่สุด นำไปสู่การลงนามในสนธิสัญญากรุงมสตริดต์ เืพ่อจัดตั้งสหภาพยุโรป  ขึ้นในปี 1992 รวมไปถึงการใช้เงินสกุลยูโรร่วมกันด้วย ต่อมา ปี 2007 ประเทศสมาชิก EU ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับปรุงโครงสร้างเพื่อตอบสนองกระบวนการบูรณาการภายใน EU ที่ก้าวหน้าขึ้นและบทบาทที่เพ่มมากขึ้นของ EU ในประชาคมโลก จึงได้ร่วมลงนาในสนธิสัญญาลิสบอน โดยประเทศสมาชิกให้ความเห้นชอบในการสละอำนาจอธิไตยบางส่นให้แก่ความ่วมมือเหนือชาติ ในเรื่อง 1. สหภาพสุลการกร, 2. การออกกฎระเบียบด้านการแข่งขัน 3. นโยบายด้านการเงิน สำหรับรัฐสมาชิก EU ที่ใช้เงินสกุลยูดร 4. การอนุรักษทรัพยากรชีวภาพทางทะเล ภายใต้นโยบายร่วมด้านประมง และ 5. นโยบายการต้าร่วม ทั้งนี้ สนธิสัญญาลิสบอนมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009
             ปัจจุบัน EU มีรัฐสมาชิกจำนวน 28 ประเทศ มีระบบตลาดร่วม ระบบภาษีศุลกากรร่วม การใช้เงินสกุลยุดรร่วมกันใน 17 ประเทศสมาชิก และมีศุย์กลางการบริหารอยุ่ที่กรงุบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม
           
             - http://www.apecthai.org/index.php/คลังความรู้/องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่สำคัญ
             - http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%9B
            - http://www.europetouch.in.th/main/OrganizationDetail/สหภาพยุโรป%20(The%20European%20Union%20-%20EU)=94l84l84l84l35l94l28l97l.htm
          - https://kung44.wordpress.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3/
         
         

วันศุกร์ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2561

European Union : EU

           สหภาพยุโรป เป็นสหภาพทางเศราฐกิจและการเมืองประกอดบ้กวยรัฐสมาชิก 28 ประเทศ ซึ่งสวนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตรมีปะชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุก
ประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อน้ายบุคคลสินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า การเกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต้ฒที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้เงินสกุล "ยูโร"
        สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กรเรียก สถาบันของสหภาพยุดรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภาพยุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรป และศาลผุ้สอบบัญชียุโรป
     
สหภาพยุโรปกำเินดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและหล็กลาแห่งยุโรป และปรชาคมเศราฐกิจยุโรป ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับดดยประเทศอินเนอร์ซกิส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพ่ิมขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท็ สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเืองยุโรปการแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552
        สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิต ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายใน 16,477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป้ฯ 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ควาทเท่าเที่ยมกันของอำนาซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์
สูงมาก ตามข้อมูลของโรงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรปได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผุ้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผุ้แทนในสหภาพประชาชาติ องค์การการค้าดลก จี 7 และ จี-20 เนื่องจากมีอิทะิพลทั่วดล จึงมีการอธิบายสหภาพยุดรปเป็นอภิมหาอำนาจ ปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต....

           - https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%9B

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...