Cultural heritage of The European Union

           มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน ข้อคิดจากสหภาพยุโรปถึงเอาเซียน
           ตามข้อมูลของยูเนสโก สหภาพยุโรป หรอที่เรียกกันติดปากว่า "อียู" มีมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน ที่เป็นมรดกดลกมากว่าภูมิภาคอื่นๆ ในโลก มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนน้หมายถึง มรดกวัฒนธรรม หรือมรดกทางธรรชาติที่มีอาณาบิรเวณตังอยู่ในประเทศมากกว่าหนึ่งประเทศขึ้นไปโดยบริเวณส่วนหน่งของมรดกวัฒนธรรมนั้น ถ้าตั้อยู่ในประเทศใดก็ถือว่าเป็นดินแดนของประเทศนั้น
           มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนนี้ ฟังดูแล้วไม่ได้เป็นเพียงสิ่งประหลาดสำหรัฐประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในเอเชียเท่านั้น เผลอๆ อาจเป็นส่ิงีที่หลายคนอย่ากให้เกิดขึ้นแต่ไม่กล้าฝันและลงมือและผุ้คนอีกจำนวนมากอาจสบถและไม่แยแสกับมันแม้แต่วินาที่เีดยวเนื่องจากแนงคิดชาตินิยมข้ามศตวรรษที่ตกทอดมาตั้อต่ศตวรรษที่ 19 ทั้งแบบบ้านๆ และแบบสุดโต่ง ทำให้จิตนาการเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรมของคนเหล่านี้ลีเรียวอยุ่ในรูปแบบของมรดกแห่งชาติเท่านั้น
          มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแกนของสหภาพยุโรปในปัจจุบันเกิดจากสองลักษณะ คือ
          1. มรดกวัฒนธรรมทีมีมาก่อนการเกิดรัฐชาติและการสร้างเขตแดนของรัฐชาติ แต่เมื่อเกิดรัฐชาติในยุโรป มรดกวัฒนธรรมเหล่านี้ถูกแบ่งออกสวนๆ ตามเขตแดนของรัฐสมัยใหม่ ตัวอย่งเช่น สวนมุสเคาซึ่ง ตั้งอยุ่ระหว่างประเทศโปแลนด์และเยอรมนี
          2. มรดกทางวัฒนธรรมข้ามพรมแดนที่เกิดจากการเชื่อมโยงรากเหล้าทางวัฒนธรรมและศิลปะของโบราณสถานที่มีลักษณะคล้ายกันซึ่งตั้งอยู่ในประเทศต่างๆ ว่าเป้นกลุ่มมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน(ประเทศหรือรัฐชาติ) เช่น กลุ่มหอระฆัง จำนวนมากที่ตั้งอยุ่ในฝรั่งเศสและในเบลเยี่ยมซึ่งไ้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก และยูเนสโกจัดให้เป้นมรดกวัฒนธรรมี่ถือว่ามีลักาณะพิเศษเป็นมรดกวัฒนธรมช้ามพรมแดน
       
มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนทั้งสองลักษณะข้างต้น เป็นผลมาจากจินตนาการเกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรมที่อยุ่นอกรอบแนวคิดมรดกชาติ ซึ่งกรณีของสหภาพยุโรปนั้นเกิดจากพัฒนาการของสหภาพยุโรปที่ก่อให้เกิดแนวคิดข้ามพรมแดนทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรม
         ก้าวข้ามชาตนิยมและการเผชิญหน้า
          การข้ามพรแดนทั้งภาคการเมือง เศราฐกิจและวัฒนธรรมของสหภาพยุโรปมีรากฐานมาจากความต้องการหลุดจากวังวนของชาตินิยมและการเปชิญหน้า ซึ่งต้องเท้าความไปถึงยุคการเกิดรัฐชาติในยุโรปว่าเป็นยุครักชาติแบบหลงผิดที่ยุโรปไปยึดครองบ้านเมืองคนอื่นเป็นอาณานิคมทั่วดลก เรื่อยมาจนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่นาซีเยอรมันทำลายบ้าง ฆ่าล้างเผ้าพันธ์ุชาวยิว และนอกจากนี้ประเทศอื่นๆ ยังรบกันจนวินาศสันตะโร
          ผุ้คนในยุโรปจึงเกิดปัญญาว่า ความรักและคลั่งชาตินี่เองเป็นต้นเหตุของความตาย โศกนาฎกรรมและความพินาศ ส่งผลให้เกือบทุกภาคส่วนของสังคมมุ่งมั่นลงมือกำจัดความคลั่งชาติอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการยึดถือแนวคิดใหม่ที่มุ่งสู่การบูรณาการทางเศณาฐกิจและการเมืองเพื่อให้เกิดสันตถภาพที่ถาวร
         การจัดการมรดกวัฒนธรรมและพรมแดนในอียูเป็นตัวอย่างที่ดีที่แสดงให้เห็นว่า การบูรณาการยุโรปต้องการหันหลังให้กับความคิดชาตินิยมในการดำเนินการทางการเมืองภายในระหว่างประเทศสมาชิก กล่าวคือ เน้นเรื่องความร่วมมือ กัประเทศเพื่อนบ้านซึ่งเป็นสมาชิกอียูด้วยกันมากว่าสร้างความขัดแย้ง และการเผชิญหน้า
        การสร้างความร่วมมือเกี่ยวกับการจัดการมรดกวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในอียู คื อการเพ่ิมความหมายของมรดกวัฒนธรรมซึ่งเคยแต่เป็นตัวแทนลักษณะฉพาะของชาติ ให้ขยายเป็นตัวแทนของความเป็น "ยุโรป" และเป็นสากล ด้วยการใช้ระบบโลกาภิวัตน์โดยเฉาพะโครงการมรดกโลกของยูเนสโกให้เป็นประโยชน์
        ความเป็นไปดังกล่าวเกิดขึ้นภายใต้ความพยายามจัดการเรื่องพรมแดนที่ลดความสำคัญของเตแดนระหว่างประเทศสมาชิก ด้วยการใช้แนวคิดปราศจากพรมแดน เพื่อให้เกิระบบตลาดเดียวภายในประเทศกลุ่มอียู และเกิดเป้าหมายสูงสุดในการบูรณาการทางเศราฐกิจ คือ การใช้ระบบเงินสกุลเดียวกันคือ เงินยูโร หรือที่่เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า มันเนแทรรี ยูเนี่ยน
          แนวคิดปราศจากพรมแดนนี้มีลักษณะสำคัญ คือ
          1) ไม่ได้แปลว่ เขตแดนระวางประเทศสมาชิกซึ่งเป็นรัฐชาติอีสระนั้นหายไป แต่ส่ิงที่เปลี่ยนไปคือ กระบวนคิดเกี่ยวกับเขตแดนและพรมแดน ความคิดว่าเขตแดนและเส้นเขตแดนที่เคยเป็นเส้นศกดิ์สิทธิ์ทั้งในจิตนาการและในแผนที่นั้น แปรสภาพมาให้ความสำคัญกับพรมแดนในฐานะเป้ฯเื้องที่พิเศษ คือ เป็นที่พบปะของผู้คนจากหลายประเทศ เป็นที่แลกเปลี่ยนกันทางวัฒณธรรมและสังคมเศณาฐกิจแทน
           ทัศนะดังกล่าวเกิดจากแนวคิดว่ การยึดติดเขตแดนของชาติว่า เป็นเส้นศักดิ์สทิธิ์คือตัวปัญหา เป็นที่มาของความดิดชาตินิยม และความขัดแย้งนั้นเป็นอุปสรรคของการเกิดและการขยายโอกาสไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การลงทุน การเมือง การศึกษา หรือแม้แต่การสร้างและเติบโตของธุรกิจเกี่ยวกบมรดกวัฒนธรม หรือที่เรียกว่า อุตสาหกรรมมรดกวัฒนธรรม ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นและสร้างการเติบโตทางเศราฐกิจให้กับท้องถ่ินต่างๆ ในประเทศสมาชิก
         
2) ภายใต้แนวคิดปราศจากพรมแดนนี้ เขตแดนของชาติยังคงดำรงอยู่ แต่มฐานะเป็นเพียงตัวบ่งชี้ขอบเขตการทำงานของหน่วยงานรัฐบาลในแต่ละประเทศ ว่ามีขอบเขตการรับผิดชอบในด้านสาธารณูปโภค ด้านภาษีและการดูแลพละเมืองกว้างขวางเพียงใดเท่านั้น
         3) ภายใต้แนวคิดนี้ เขตแดนแปรสภาพเป็นพรมแดนด้วยการทำให้การตรวจเช็คของด่านศุลกากรตามพรมแดนนั้นหายไปตามแนวคิดของการสร้างระบบตลาดเีดยวหรือตลาดร่วมยุโรป ซึ่งทำให้ประชาชนในกลุ่มประเทศอียูสามารถเดินทาง ทำงาน ลงทุน ศึกษาและย้ายถ่อฯบานไปในประเทศสมชิกต่างๆ ได้อย่างเสรี และนอกจากนี้ในกลุ่มประทเศสมาชิกซึ่งร่วมกันเซ็นสนธิสัญญาเซ็งเก้น บุคคลซึ่งเป็นพลเมืองของประเทศนอกกลุ่มอียูหรือศัพท์ทางการเรียกว่าบุคคลจากประเทศที่สาม ก็สามารถเดินทางในประเทศสมาชิกอียูที่ร่วมเซ้นสนธิสัญญาเซ็งเก้นได้อย่างอิสระ
         สหภาพยุโรปและมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน
         มรดกวัฒนธรรมไม่ว่าจะเป็นสถาปัตยกรรมเช่นโบสถ์ปราสาท หอระฆัง สวนภูมิทัศน์ เหมืองถ่านหินบ้านพักคนงานเหมืองหรืออื่นๆ ในแต่ละประเทศสมาชิกอียูนั้น แน่นอนว่าผ่านการประทับตราหรือการทำให้มีลักษณะเฉพาะของชาติ ดดยเกิดจาการวมมาดกท้องถ่ินไว้ใต้ร่มของวัฒนธรรมของชาติ โดยเกิดจากการรวมมรดกท้องถ่ินไว้ใต้ร่มของวัฒฯธรรมชาติ พร้อมๆ กับสร้างมาดกวัฒนธรรมใหม่ ๆ ผ่านกระบวนการผลิตความรู้ เช่น การศึกษาไม่ว่าจะเป็นด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะ ประวัติศาสตร์ หรือการ
ศึกษาทั่วไป และผ่านกระบวนการสร้างประเพณีและการบันเทิงใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับมรดกวัฒนธรรมเหล่านั้น
        การเติบโตของอียูในช่วงสองทศวรษที่ผ่านมา แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของหน่วยทางการเมืองในยุโรปว่ามีหน่วยการเมืองที่เหนือชาติคือ "ยุโรป" หรือ อียู เพ่ิมเติมจากหน่วยทางการเมืองท้องถ่ินและรัฐชาติซ่งมีอยู่มาก่อนแล้ว ความเป็นไปดังหล่าวเก่ยวพันไปถึงมรดกวัฒนธรรมอยางเหลีกเลี่ยวงไม่ได้ อียูต้องการทำให้มรดกวัฒนธรรมทั้งหลายที่มีอยุ่แล้วสื่อวามเป็นยุโรป จึงดำเนินการสร้างความเป็นยุโรปหรือยูโรเปี้ยนไนเซชั่น มรดกวัฒนธรรมต่างๆ ด้วยกาทำให้มรดกทางวัฒนธรรมเหล่านี้เพ่ิมความสามารถในการแข่งขันในวงการอุตสาหกรรมมรดกวัฒนธรรมระดับภูมิภาคและโลก ด้วยกาดำเนินนโยบายวัฒนธรรมและนโบายภุมิภาค ที่ส่งเสริมให้เกิดความี่วมมือระหว่างประเทศามาชิกหลายประเทศเืพ่อรวมตัวกันเป็นเครือช่าย ร่วมกันคิดและสร้างโรงการมดกวัฒนธรรม ใหม่ๆ ที่เกิดจากการรวมกลุ่มรดกวัฒนธรรมชาติที่มลักษณะคล้ายกัน แล้วดึงลักษณะที่เป็นสากลมาคิดเป็นโครงการที่มีลักาณะสร้างสรรค์เพื่อับเงินสนับสนุนจาอียู ส่งเสริมให้เกิดความสร้างมาดกวัฒนธรรมใหา่ๆ จำนวนมหาศาล
     
กล่าวอีกนัยหนึ่ง กระบวนการยูโรเปี่้ยนไนเซชี่นของมรดกวัฒนธรรม คื อการส่งเสริมให้มีการสร้างและพัฒนโครงการมรดกวัฒนธรรมที่มีลักษณะข้ามชาติและพรมแดนนั่นเอง ซึ่งเท่ากับเป็นการเพิ่มมูลค่าทางเศณาฐกิจและการแข่งขันให้กับมรดกวัฒนธรรม ชาติด้วยการสร้างแพ็คเกจใหม่ในรูปแบบของมรดกวัฒนธรรมข้ามชาติหรือมีความเป็นยุโรปที่น่าตื่นเต้นกว่าแบบเดิม
       กระบวนการยูโรเปี้ยนไนเซชั่นของมรดกวัฒนธรรมนี้ดำเนินการโดยไม่ได้ทวนกระแสโลกาภิวัตน์ คื อ มีการใช้การดำเนินการมรดกโลกของยูเนสโกในการสร้างและโฆษณามาดกวัฒนธรรมใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น นั่นคือ ยูโรเปี้ยนไนเซชั่นของมรดกวัฒนธรรมเตรียมความพร้อมในการพัฒนาโครงการมรดกวัฒนธรรมที่เน้นความร่วมมือข้ามพรมแดน ที่ส่งเสริมให้โครงการเหล่านี้ได้รับการคัดเลือกเป็นมรดกโลกและใช้ป้ายมรดกโลกในการส่งเสริมการท่องเที่ยวและพัฒนาท้องถ่ิน
        สวนมุสเคา
         ยูเนสโกประกาศให้เป็นมรดกโลกในปี ค.ศ. 2004 เป็นตัวอย่างความร่วมมือทางมรดกวัฒนธรรมแลพรมแดนระหว่างเยอมนีและโปแลนด์ซึ่งเป็นสมาชิกอียูที่น่าสนใจอย่างยิ่ง ดดยส่วนแห่งนี้เป็นสวนภูมิทัศน์ หรือ แลนด์สเคป ปาร์ค เป็นศิลปะแขนงใหม่ที่มีลักษณะเป็เสมือการวารูปด้วยการใชพรรณไม้ ทำให้เกิดสวนขนาดใหญ่เต็มไปด้วยไม่นานาพรรณกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม
         สวนภูมิทัศน์มุสเคามีอาณาบริเวณกว้างขวางถึง 559 เฮคเตอร์ โดยมีแม่น้ำไนเซอร์ซึ่งเป็นเขตแดนธรรมชาิตระห่างเยอมนีและโปลแลน์ไหลผ่านกลางสวน ดังนั้นเนื่องที่ของส่นประมาณ 300 กว่าเฮคเตอร์จึงอยุ่ในเขตแดนเยอมนี และส่วนที่เหลืออยุ่ในเขตแดนของโปแลนด์ โดยส่วนที่เป็น บัฟเฟอร์ โซน ตามกฎของยูเนสโกก็อยุ่ในดินแดนของทั้งสองประเทศ
         ตอนที่่แฮร์มานนผอน ปุ๊คเลอร์-มุสเคาแห่งปรับเซียสร้างสวนนี้ในช่วงต้อคริสต์ศตวรรษที่ 19 แม่น้ำไนเซอร์ที่ไหลผ่านสวนมุสคายังไม่ได้เป็นเขตแดจธรรมชาติระห่างประเทศ ซึ่งความเป็นไปดังกล่าวเพ่ิงมาเปลี่ยนแปลงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นี้เอง เมื่อผุชนะสงครามในครั้งนั้นอันประกอบด้วยรัสเซีย อังกฤษ ฝรั่งเศสและอเมริกาเข้ามาเป็นผุ้ขีดเส้นพรมแดนระหว่างโปแลน์กับเยอมนีด้วยการใช้แม่น้ำไนเซอร์เป็นพรมแดนธรรมชาติที่สำคญ สวนมุสเคาซึ่งเป็นสมรภูมนองเลือดที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งก่อนที่สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงจึงกลายเป็นสวนอกแตก
        ความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในยุโปรหลัวงสงครามโลกครั้งที่ 2 มีผลต่อความเปลี่ยนแปลงของสวนมุสเคาซึ่งตั้งอยู่บนดินแดของสองประเทศ เร่ิมจกความเปลี่ยนแปลงระดับประเทศ เยอมนีถูกแบ่งออกเป็นสองประเทศ เยอมันตะวันตกและเยอรมันตะวันออก ต่างมีจุดยืนทางการเมืองครละขั้น ส่วนระดับภูมิภาคเกิดการเร่ิมต้นการบูรณาการในยุโปรตะวันตก ฦโดยประเทศสมาชิกเร่ิมแรกหกประเทศรวมทั้งเยอรมนันตะวันตกร่วมกันก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจร่วมยุโรป โดยมุ่งไปสู่การพัฒนาเศราหบิจแบบทุนนิยม ซึ่งต่อมาพัฒนมาเป็ฯอียู่ในปี 1992 ส่วนในประเทศยุโรปตะวันออกซึ่งรวมถึงโปแลนด์และเอยมันตะวันออกเร่ิมพัฒนาภายใต้องค์การโคมินเทิร์นตามทิศทางของระบบสังคมนิยม...
        ความเปลี่ยนแปลงสำคัญของสวนมุสเคาเร่ิมเกิดขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ 1980 เมื่อเกิดนโยบายเปเรสทรอยก้า-กลาสนอส และการล่มสลายของระบบสังคมนิยมในยุโรป รวมไปถึงเกิดการรวมชาติเยอมันตะวันออกและตะวันตกเข้าด้วยกัน ที่สำคัญย่ิงไปกว่านั้นคือ การที่อียูถือเอาการขยายรับประเทศในยุโรปตะวันออกมาเป็นสมาชิกใหม่เป็นนโบบายสำคัญเร่งด้วน ส่งผลให้โปแลนด์เป็นรายชื่อต้นๆ ของประเทศที่จะได้เข้าเป็นสมาชิกใหม่อียู และได้รับเงินทุนช่วยเหลือในการพัฒนาโครงการมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนหลายโครงการภายใต้นโยบายภูมิภาคของอียูซึ่งสวนมุสเคาเป็นโครงการสำคัญภายใต้นโยบายดังกล่าว
       
 ตอนนี้ทั้งเยอรมนีและโปแลนด์มาถึงจุดที่ต้องตัดสินใจว่า จะเลือกความยึดมั่นถือมั่นอคติด้านพรมแดน ความรักชาติ และบาดแผลในความทรงจำระหว่างโปแลนด์กับเยอมนีที่รุนแรงร้างวลึก หรือจะก้าวข้ามชาตินิยมและการเผชิญหน้าในการจักดารด้านพรมแดนและมรดกวัฒนธรรม
         ความร่วมมือกันระหว่างโปแลนด์และเยอมนีในการเสนอสวนภูมิทัศน์มุสเคาเป็นมรดกโลกต่อยูเนสโกในปี ค.ศ. 2002 เป็นส่ิงที่ชี้ให้เห็นได้ชัดว่าทั้งสองประเทศเลือเส้นทางประการหลัง เพราเสนทางนี้เป็นเส้นทางแห่งโอกาส
       ปัจจุบันสวนมุสเคาเป็นมรดกดลกข้ามพรมแดนที่มีนักท่องเที่ยวจำนวนมาก เว็บไซต์ของสวนแห่งนี้นำเสนอให้เห็นชัดเจนว่า การสร้างมรดกโลกข้ามพรมแดนนั้นเป็นการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับมรดกทางวัฒนธรรมได้อย่างน่าอัศจรรย์....
         
         - บทความ "มรดกวัฒนธรรมช้ามพรมแดนข้อคิดจากยุโรปถึงอาเซียน" โดย มรกต เจวจินดา ไมยเยอร์
       

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)