The strength of EU

            สหภาพยุโรป
            ในปี ค.ศ. 1978 สมาชิกประชาคมยุโรปมีการตกลงร่วมกันที่จะใช้ระบบการเงินยุโรป จนถึงปี ค.ศ. 1990 ก็ได้จัดตั้งเป็น "สหภาพการเงินยุโรป" ทั้งนี้เพื่อให้เกิดเสถียรภาพของตาดการเงินและการลงทุนในกลุ่มประชาคมยุโรป ซึ่งต่อมาได้จัดตั้งเป้นเขตเงินยูโรหรือ "ยูโรโซน" และในวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1993 กลุ่มประชาคมเศณาฐกิจยุโรป ได้มีการลงนามในสนธิสัญญามาสทิรชต์ ที่ประเทศสเปน ซึ่งเป้นสัญญาที่นำไปสู่การจัดตั้งสหภาพยุโรป อันเป็นกลุ่มที่ีมีรากฐานมาจากกลุ่มประชาคมเศราฐกิจยุโรป หรือ อีอีซี ซึ่งการรวมหลุ่มของประเทศในยุโรปเป็นสหภาพยุโรปนี้มีวัตถุประส่งค์เพื่อส่งเสริมด้านเศราฐกิจและความสัมพันะ์ทางการเมืองที่ดีในกลุ่มประเทศสมาชิก
           ต่อมาในปี ค.ศ. 1995 ออสเตรีย สวีเดน และฟินแลนด์ ได้เข้าร่วมเป้นสมาชิกใหม่ของสหภาพยุโรป และในปี ค.ศ. 2002 สมาชิก 12 ประเทศ จาก 15 ประเทศ คืองรั่งเศส เยอมนี อตาลี กรีก ฟินแลนด์ ไอร์แลนด์ สเปน เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก ออสเตรย และโปรตุเกส ได้ตกลงที่จะใช้เงินยู่โรปทนที่เงินสกุลแห่งชาติของตน ส่วนอีก 3 ประเทศ คือ สหราชอาณาจักร สวีเดน และเินมาร์ก ยังไม่ได้เข้าร่วม เนื่องจากยังไม่มีความพ้อมบางประการ โดยเฉพาะ สหราชอาณาจักรซึ่งถือว่าเป้นประเทศใหญ่อันดับสองในยุโรปรองลงมาจากเยอมนีนั้น ยังไม่สามารถผ่านประชามติควาเมห็นชอบจากประชาชนในประเทศของตนได้ ต่อมาในปี ค.ศ. 2004 สหภาพยุโรปได้ขยายจำนวนจาก 15 ประเทศ เป็น 25 ประเทศต่อมาในปี 2007 มีสามชิกใหม่ เพ่ิมอี 2 ประเทศ รวมเป็น 27 ประเทศ
          ในระยะเริ่มต้นที่ใช้เงินยูโรนั้น สหภาพยุโรปได้ตกลงร่วมกันว่าในวันที่ 1 มกราคม 1999 สหภาพยุโรป 12 ประเทศ จะเริ่มใช้เงินยูโรเป็นครั้งแรกในระบบการหักบัญชีของธนาคารซึ่งเป้นการเตรียมการเบื้องต้นก่อนทีจะเร่ิมีการใช้เงินตราร่วมกันในตลาดแลกเปลี่ยนซื้อขายในอี 3 ปีต่อมา และเมือถึงวันที่ 1 มกราคม 2002 สมาชิกสหภาพยุโรปที่เข้าร่วมยูดรโซนทั้ง 12 ประเทศ จึงได้เิ่มเงนยูโรในตลาดแลกเปลี่ยนของสมาชิกอย่างเป้นทางกา ต่อมาในวันที 1 มกราคม 2009 มีสมาชิกสหภาพยุโรปใหม่เข้าร่วมใช้เงินยูโรอีก 4 ประเทศ คือ สโลวาเนีย มอลตา ไซปรัส และสโลวาเกีย รวมเป้น 16 ประเทศในปัจจุบัน ดยมีสโลวาเกีย เป้นประเทศล่าสุดที่เข้าร่วม
           การขยายตัวของสหภาพยุโรป
           ที่ประชุมสุดยอดยุโรป ณ กรุงมาตริค ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1995ได้กล่วถึงการรับสมชิกเพิ่มของสหภาพยุโรปไว้ว่า "เป็นท้งความจำเป็นในทางการเมืองและเป็นโอกาศที่สำคัญย่ิงของยุดรป" ในปี ค.ศ. 199ุุ6 คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปได้รับใบสมัคราเขเ้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปจากประเทศ ต่างๆ รวมท้งสิ้น 14 ประเทศซ่งประกอบด้วยประเทศจากยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก 10 ประเทศและประเทศอื่นๆ อีก 4 ประเทศ ในขณที่คณะกรรมาธิการยุโรปไม่เห็นด้วยกับการรับตุรกีเข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 1989 แต่กลับมีความเห็นยอมรับใบสมัครของไซปรัสและมอลตาในวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1993 สำหรับแนวโน้มการรับสวิตเซอร์แลนด์เข้าเป็นสมาชิกนั้นยังคงชะงักงันเนือง จากชาวสวิสได้ลงประชมติไม่เข้ร่วมใน "เขตเศราฐกิจยุโรป" เมื่อเดือนธันวาคม 1992 ในการนี้คณะกรรมธิการยุโรปได้หารือกันถึงการรับประเทศที่ได้ทำ "ข้อตกลงยุโรป" กับสหภาพยุโรปเข้าเป็นสมาชิกก่อน ฉะน้น การพิจารณารับประเทศกลุ่มนี้เข้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปนี้เองจึงได้กลายเป็นหัวใจสำคัญของนโยบายการรับสมาชิกใหม่ของสหภาพยุโรปในเวลานั้น ต่อมาในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1996 ที่ประชุมสุดยอดยุโรปที่เมืองฟลอเรนซ์ได้ระบุว่า การเจรจารับสมาชิกรอบแรกที่จะทำกับกลุ่มประเทศยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกจะมีขึ้นพร้อมๆ กับการเจรจารับไซปรัสเป้นสมาขิก คอในเวลา 6 เอืนหลังจากการประชุมระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิกส้ินสุดลง การประชุมระหว่างรัฐบาลดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ประการหนึ่ง คือเพื่อเตียมสหภาพยุโรปให้สามารถรองรบการมีสมาชิกเพิมขึ้นในระดับ 20-25 ประเทศ ทั้งนี้โดยการปฏิรุปกระบวนการตัดสินใจและโครงสร้างทางด้านสถาบันให้พัฒน ขึ้น ทั้งในเรื่องประสิทธิภาถภ ความแน่นอนและความชอบธรรม
          บรรดาประเทศในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกต่างก็มอง่การเข้าเป็นสมาชิกของ สหภาพยุโรปนั้น จะเป็นหนทางไปสู่การสร้างความมันคงและเป้นการส่งเสริมกระบวนการพัมนาประเทศ ของตนให้ทั้นสมัย อันจะเป็นผลให้การปรับเปลี่ยนไปสู่ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยและระบบ เศราฐกิจแบบตลาดเสรีเป้นไปอย่างมีเสถียรภาพ ในขณะเดียวกันสหภาพยุโรปเองก็มองเห็นความสำคญของการรบยุโรปตะวันออกเข้า เป็นสมาชิก เรพาะเชื่อว่าการสถาปนาหลัการทางการเมืองและเศราฐกิจแบบยุโรป
ตะวันตกให้แก่ ประเทศเพื่อบ้านในยุโรปตะวันออกจะเป้นผลดีในระยะยาว สหภาพยุโรปให้ความสำคัญกับประดยชน์ใทางการเมืองดังกล่าวมากกว่าประดยชน์ในทางเศณาฐกิจ คือ การขยายตลาดเดียวแก่งยุรป ดังนั้นเมื่อสงครามเย็นสิ้นสุดลงสหภาพยุโรปจึงพบว่าตนเองจำเป็นต้องมบทบาท สำคัญในการเผยแพร่โครงสร้างทางสังคมอันมีรากฐานอยู่บนความมั่นคงความเจริญรุ่งเรื่อง ความเสมอภาคทางสังคม และความเป็นประชาธิปไตย ให้ขยายไปทัวทวีปยุโรป การขยายตัวของหสหภาพยุโรปไปทางตะวันออกจะมีผลกระทบต่อนโยบายการรักษาความมั่นคงเมืองคำนึงถึงรัสเซีย อย่างไรก็ดี การขยายตัวโดยรับยุโรปตะวันออกเข้าเป็นสมาชิกนั้นนอกจากมีผลกระทบต่อความเห็นพ้องต้องกันของประเทสสมาชิกสหภาพยุโรปในเรื่อง ของการบูรณาการยุโรปแล้ว ยังเป็นการทดสอบว่าประเทศเหล่านี้จะมีความสามารถในการปฏิรูปมากน้อยเพียงใด อีกด้วย ควาทท้าทายครั้งสำคัญนี้ไม่สามารถแก้ไขได้โดยการใช้รูปแบบการรับสมชิกใหม่ที่สหภาพยุโรปตะวันออกต้องมระดบการบูรณาการที่พอสมควรเสียก่อนจึงจะสามารถ รับเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปได้ ด้วยเหตุนี้สหภาพยุโรปจึงได้ประกาศที่จะดำเนินการควบคุ่กันไปทั้งในการ บูรณาการทางลึกและการรับสมาชิหใม่ เป้าหมายของสหภาพยุโรปคือการประสานกลยุทธ์เตรียมการเข้าเป็นสมาชิก รวมทั้งการเจรจารับประเทศยุโรปตะวันออกเข้าเป็นสมาชิกรวมทั้งการเจรจารับประเทศยุโรปตะวันออกเข้าเป็นสรชิกให้เข้ากัแนวทางของ "แผนการดำเนินงานปี ค.ศ. 2000" ซึ่ง ประกอบไปด้วยผลสรุปของการประชุมระห่างรัฐบาลประเทศสมาชิกในช่วงปี ค.ศ. 1996-1997 การปฏิรูประบบงบประมาณจากแหล่งเงินทุนของสหภาพยุโรปเอง การปฏิรูปนโยบายโครงสร้าง นดยบายการสร้างเอกภาพและนโยบายร่วมด้สนการเกษตร การดำเนินกาจัดตั้งสหภาพเศรบกิจและการเงินในขั้นตอนที่สาม และอนาคตของ "สหภาพยุโรปตะวันตก" เป็นต้น อย่างไรก้ดี การรับสมชิกใหม่จากยุโรปตะวันออกอาจนำมาสู่ความขัแยเ้งในเรื่องการจัดสรรประเทศที่จะได้รับเงินช่วยเหลือจากกองทุนสร้างเอกภาพ และประเทศผุ้ให้เงินช่วยภายในของสหภาพยุโรป และอาจนำทางให้ทางเลือกในการบรรณาการยุดรปจำกัดวงแคบขึ้น นอกจากนี้อาจนำไปสู่การถแเถียงกันในเรื่องรุปแบบตางๆ ของการบูรณาการยุโรป การมีความยืดหยุ่นเพ่ิมขึ้น หรือการเปลี่ยนศูนย์กลางในทางการเมืองและเศราฐกิจภายในของสหภาพยุโรป เป็นต้น
            จุดแข็งและจุดอ่อน เมื่อสหภาพยุโรปขยายขนาด
             เนื่องจากสหภาพยุโรปตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ทางเศราฐกิจและการเมืองควบคู่ันดยเฉาพะด้านเสราบกิจซึ่งเป็นประเด็นสำคัญที่ประเทศในกลุ่มสมชิกจะต้องร่วมกันทำให้เกิดประโยชน์เต็ม่เพราะเกี่ยวข้องโดยตรงกบประชาชนทุกคนในประเทศสมาชิก และมักมีปัญหาเกิดขึ้นบ่อยๆ นอกจากความร่วมมือตามข้อตกลงในสนธิสญญาของสหภาพ เช่น การใช้เงินสกุลเดียวกัน การเปิดพรมแดนเดินทางไปมาค้าขายกันได้สะดวก การใช้ระบบภาษีศุลการกรเดียวกันแล้ว ก็ยังมีประเด็นปลีกย่อยที่ต้องพิจารณาอีกด้วย เช่น การเคลือนย้ายแรงงาน  และการเคลื่อนย้ายเงินลงทุน เป็นต้น ซึ่งแตละประเทศมีสภาพแรงงานและฐานะเงินลงุทนไม่เท่ากัน ความเลหื่อล้ำด้านผลประโยชน์ทางเศราฐกิจจึงย่อมเกิดขึ้น ซึ่งอาจจะบานปลายกลายเป็นจุดอ่อนของการขยายตัวของกลุ่มสหภาพยุโรปไปในที่สุด ซึ่งจะแยกพิจารณาจุดแข้งและจุดอ่อนของสหภาพยุโรปจากการขยายขนาดของกลุมในประเด็นต่อไปนี้
            จุดแข็ง การขยายขนาดกลุ่มหใขึ้น แน่นอนว่าทำให้สหภายุดรปมีความแข็งแกร่งมากขึ้น มีลู่ทางที่จะเกิดความร่วมมือทางเศราฐกิจภายในกลุ่มได้มากขึ้น และพลังอำรสจในการต่อรองทางการต้าของสหภาพยุโรปทั้งกลุ่มกับประเทศนอกกลุ่มจะแข็งแกร่งมากขึ้นตามไปด้วยอกจากนี้ การที่สหภาพยุฏรปทั้งกลุ่มกับประเทศนอกกลุ่มจะแข็งแกร่งมากขึ้นตามไป้วยนอกจากนี้ การที่สหภาพยุโรปเป็นการรวมกลุ่มที่มีวัตถุประสงค์ทางการเมืองด้วย จึงวย่ิงทำให้ความมั่นคงทางการเมืองและดุลอไนาจกับประเทศอื่นๆ ในโลกมีมากขึ้นเมือขนาดขงอสหภาพยุโรปขยายใหย่ขึ้น กล่าวคือ ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างประเทศนอกกลุ่มกับสมาชิกในกลุ่มจะมีน้อยลงเพราะสหภาพยุโรปมีดุลอำนาจการเมืองระหว่างประเทศสูง
            จุดอ่อน มองอีกด้านหนึ่ ก็มีคำถามว่า ขนาดของสหภาพยุดรปที่ขยายใหญ่ขึ้นี้ จะช่วยเพ่ิมจุดแข้.ให้กับสหภาพยุดรปจริงๆ หรือว่าจะเป้นการขยายจุดอ่อนวึ่งมีอยู่แต่เพิมให้กลายเป้นปัญหารุนแรงมากข้นตามจำนวนสมาชิกที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ ประเด็นที่ว่า การรวมกลุ่มเพื่อเป็นการสมานแันท์ทางกาเรมืองระหว่างประเทศใหญ่ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอมนีที่เคยมีประวัติศาสตร์ความขัดแยง และเคยทำสงครามกันมาในอีดตหลายตอ่หลายครั้งนั้นการรวมกลุ่มกันจะทำให้เกิดการจับกลุ่ม่ย่อยในกลุ่มใหญ่เพื่อการเผชิญหน้ากันเองได้หรอืไม่เพระาแน่นอนว่าความสัพมันะ์ระหว่างประเทศ "หัวโจกใหญ่" หรือบรรดามหาอำนาจทางการรบในกลุ่ม เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศษ เยอมนี สเปน และอิตาลี นั้นย่อมจะเคยมีความสัมพันธ์กับประเทศสมาชิกในกลุ่มใระดับที่ดีมากน้อยแตกต่างกัน ดังนั้น การจับขั้นกันกับประเทศเล็กๆ ในกลุ่มย่อยมีทางเป็นไปได้ แะนั้นอาจจะเป็นสัญญาณอันตรายของสหภาพยุโรปในอนาคต เพราะมหาอำนาจทางการรบของยุโรปในอดีต เชน 5 ประเทศดังกล่าวอาจจะตั้งเป็นก๊กและเผชิญหน้ากัน ความขัดแย้งอาจเกิดขึ้นได้ไม่ยาก ในอดคร ประเทศเหล่านี้ ก็เคยแบ่งกลุ่มกันทำสงครามมาหลายครั้ง เช่น สงครามเก้าปี และสงครามสเปน
              จากการดำนเนิงานของกลุ่มสหภาพยุโรปที่ผ่านมา อาจกล่าวได้ว่า สไภาพยุโรปยังมีปัญหาบาวประการที่เป้นจุดอ่อนทำให้ความสามารถในการแข่งขันของสหภาพยุโรปยังต่ำก่าของสหรัฐมาก ทั้งที่ขนาดจีดีพีของสหภาพยุโรปที่มีเกือบ 80% ของสหรัฐ ทำให้การต่อรองแม้กับสหรัฐประเทศเดียวก็จับว่าค่อนข้างยากแล้ว อย่างไรดี ในภาพรวมจะเห็ว่า จุดอ่อนของสหภาพยุโรปมาจาสาเหตุอย่างน้อย 4 ประการด้วยกัน ประการแรกความแตกต่างในนโยบายต่างปรเทศของสมาชิก ประการที่สอง ข้อจำกัดในการปกิบัติและการฝ่าฝืนหลักาเกณฑ์ของสหภาพยุโรป ประการที่สาม ปัญหาในการปฏิบัติตามนโยบายร่วมด้สนการเษตร และประการที่สี่ ความลักลั่นคะหว่างสมาชิกของสหภาพยุโรปที่ใช้เงินยูโรกับไม่ได้ใช้เงินยูฌร แต่ก่อนที่จะกล่วถึงสาเหตุที่ทำให้สหภาพยุโรปมีจุดอ่น ก็ควรที่จะได้นำความเป้นมและหลักเกณฑ์ข้อตกลงของสมาชิกในกลุ่มสหภาพยุโรปมาอธิบายเพื่อประกอบความเข้าใจที่ชัดเจนขึ้น

            - http://dcms.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=46607&query=%CA%CB%C0%D2%BE%C2%D8%E2%C3%BB&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2561-01-09&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=19&maxid=119
             - https://sites.google.com/site/tanashit3011/shphaph-yurop-european-union-eu
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)