ทฤษฎีการรวมกลุ่ม
เชิงรัฐศาสตร์ แนวควาคิดของการรวกลุ่มระหว่างประเทศเร่ิมต้นตรั้งแรกในทวีปยุโรปในช่วงศตวรรษที่ 14-16 โดยมีจุดประสงค์เพื่อที่จะรวมยุโรปตะวันตกเข้าด้วยกัย การรวมตัวดังกล่าวมีลักษณะของการผสมผสานกันในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยมีนักทฤษฎีต่างๆ ให้ความหมาย ดังนี้
- "เดวิด มิทรารี้ นับเป็นผู้บุกเบิกงานค้นคว้าเกี่ยวกับทฤษฎีการรวมตัวระหว่างประเทศโดยได้อาศัยประสบการณ์จากสงครามโลกทั้งสองครั้งมาสรุปและตั้งเป็นข้อสมมุติฐานว่า ระบบรัฐชาติเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดสงครามขึ้น เนื่องจากแต่ละรัฐจำเป็นต้องแข่งขันกันเืพ่อผลประโยชน์ทางเศณาฐกิจสังคม และเพื่อการส่งเสริมสวัสดิการภายในของแต่ละรัฐ การแข่งขันระหว่างรัฐต่างๆ นี้เองที่เป้นชนวนของสงครามและความขัดแย้งระหว่างประเทศ ดังนั้นหนทางจรรโลงสันติภาพของโลกจึงอาจกระทำได้โดยการจัดตั้งองค์กรกลางเฉพาะกิจขึ้นมา เพื่อทำหน้าที่แบ่งสรรผลประโยชน์และแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่นานาชาติเผชิญอยู่ร่วมกัน
และเสนว่าความร่วมมือในสาขาใดสาขาหนึ่งจะ่งเสริมให้เกิดความร่วมือในสาขาอื่นๆ ติดตามา..ทั้งนี้ แนวคิดของการรวมกลุ่มของ มิแทรนี้ สามารถนำมาอธิบายลักษณะการรวมตัวของสหภาพยุโรป
- คาร์ล ดับเบิลยู. เดียทสซ์ ได้ให้ความมาหยขงอากรรวมกลุ่มว่าหมายถึง การสร้างประชาคมที่มีความมั่นคง ดดยการทำให้ผยู้ที่อยุ่ในประชาคมมีความรุ้สึกว่าอยู่ในประชาคมเดียวกันและประชาคมประกอบด้วยสภาบันต่างๆ ที่กำหนดขึ้นอย่างเป้นทางการและไม่เป็นทางการภายในประชาคมมีประเพณีต่างๆ ที่ปฏิบัติต่อกันมานาน สภาบันและประเพณีปฏิบัติเหล่านี้จะต้องแข็งแรงและครอบคลุมขอบเขตกว้างขวางพอที่จะควบคุมให้การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆที่จะเกิดขึ้นภายในกลุ่มสมาชิกเป็นไปอย่างสันติและมีลักษรแน่นอนในช่วงที่นานพอสมควร เขาเสนอข้อสมมุติฐานของตนไว้ว่าประชาคมระหว่างประเทศ จะเกิดขึ้นเมื่อใดนั้นสามารถตัดสินใได้จากปริมาณการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างที่เป้นสมาชิกของประชาคมนั้น ๆที่จะเกิดขึ้นภายใกลุ่มสมาชิกเป็นไปอย่างสันติและมีลักษณะแน่นอนในช่วงที่นานพอสมควร เดียทสซ์ ได้เสอนข้อสมมติฐานของตนว่าประชาคมระหว่งประเทศ จะเกิดขึ้นเมื่อใดนั้นสามารถตัดสินได้จากปริมาณการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เป็นสมาชิกของประชาคมนั้นๆ นอกจากนี้ เขาเชื่อว่า เงื่อนไขที่จะทำใหหน่วยการเมืองต่างๆ รวมกลุ่มเป็นประชาคมที่มีความมั่นคงได้นั้นประกอบด้วย
การมีค่านิยมสำคัญๆ สอดคล้องกันและมีวิถีชีวิตในลักษณะดียวกัน
การตั้งความหวังร่วมแันบางประการเพื่อรวมตัวกัน และพร้อมที่จะร่วมรับภาระอันเกิดจากการรวมตัวกันนั้น
เมื่อรวมกันแล้วหน่วยที่เป็นสมาชิกอย่างน้อยบางหน่วย จะต้องมีความสามารถด้านการบริหาร และด้านการเมืองสูงขึ้น
หน่วยที่เป็นสมาชิกอย่างน้อยบางหน่วย จะต้องมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงขึ้น และจะต้องจัดตั้งแขตแกนกลางภายใน
สมาชิกของหน่วยการเมืองมีการติดต่อกันระหว่างหน่วยอย่างต่อเนื่อง
ชนชั้นนำทางสังคม จะต้องเพิ่มจำนวนมากขึ้น อันเป็นผลของการรวมตัวกันในหมู่ชนชั้นนำทางสังคมจากแต่ละหน่วยการเมือง
การติดต่อสัมพันะ์กันระหว่างสมาชิกประชาคมจะมีหลายลักษณะด้วยกัน
มีการเคลื่อนไหวของสมาชิกในประชาคึม อยุ่เสนอ
ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการรวมตัวกันเป็นกลุ่มประชาคมจะต้องรูปแบบของการรวมตัวกันที่มีลักษณะของค่านิยมวิถีชีวิตต่างๆ คล้ายคลึงกัน มีการติดต่อสื่อสารกันและมักจตะมีหน่วยงานขององค์กรกลางที่เป็นหน่วยงานหลักตั้งอยุ่ รวมทั้งมีการเคลื่อนไหวของสมาชิกระหว่างชนชั้นที่เีก่่ยวข้องโดยมีการติดตอสื่อสารเป็นตัวบ่งชีถึงการก่อตั้งประชาคม ซึ่งในกรณีของกลุ่มสหภาพยุดรป จะพบว่ามัลักษณธของการรวมกลุ่มที่ใกล้เคียงกันด้านพื้นฐานอาชีพและเป็นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมเป้นส่วนใหญ่ถึงแม้บางประเทศจะมีความแตกต่างกันในด้านระดับการพัฒนาแต่ก็ยังมีความใกล้เคียงกันเพราะมีการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีระหว่งกัน...
- โจฮาน กาลทัง ได้อาศัยแนวทางการศึกษาตามแบบของ เดียทสซ์ โดยใช้การติดต่อสื่อสารเป็นสื่อในการรวมตัวระหว่งชาติต่างๆ และได้เสนอนแวความคิดของตนโดนแยกการรวมตัวระหว่างประเทศออกเป็น 4 ระดับได้แก่
1. การรวมตัวทางค่านิยม คือการรวมตัวของชาติต่างๆ โดยถือเอาค่านิยมเป็นหลักสำคัญในการรวมตัว เขาได้สร้างตัวแบบการรวมตัวประเภทนี้ไว้ด้วยกัน 2 ประเภทคือ
1.1 โมเดลการรวมตัวของหน่วยการเมืองที่มีความสอดคล้องกันในค่านิยมเกี่ยวกับผลประโยชน์ และ
1.2 โมเดลการรวมตัวกันซึ่อยู่บนพื้นฐานของการจัดลำดับแนวความคิดในการแห้ปัญหาโดยสันติวะฺีเพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ร่วมกัน
2. โมเดลการรวมตัวของหน่วยการเมือง แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
- โมเดลการรวมตัวของหน่วยการเมืองที่มีลักษณธคล้ายคลึงกัน ซึ่งมีเงื่อนไขที่จำเป็น ได้แก่ ความคล้ายคลึงกันด้านโครงสร้างของประชากรการเมือง และเศรษฐกิจ
- โมเดล กระบวนการพึ่งพาทางการเมือง เศราฐกิจและวัฒนธรรมระหว่างตัวแดงทางการเมืองต่างๆ ที่เพ่ิมขึ้นจนทำให้ตัวแสดงต่างๆ เหล่านั้นมีความผุกพันกันมากขึ้นจนกระทั่ง สาถนการณ์ที่เกิดกับตัวแสดงตัวหนึ่งมีผลกระทบกระเทือนถึงตัวแสดงอื่นๆ ด้วย
3. การรวมตัวในลักษณะของการแลกเปลี่ยนระหว่างสวยย่อยกับส่วนรวม หมายถึง การรวมตัวของหน่วยการเมืองใดก็ตามเข้าสู่โครงสร้างทางการเมืองที่ใหญ่กว่าและก้าวหน้ากว่าเช่น การรวมตัวระหว่างประเทศที่กำลังพัฒนากับประเทศอุตสาหกรรม การรวมตัวลักษะนี้สามารถแบ่งออกได้ 2 ลักษณะ คือ
3.1 โมเดลการรวมตัวของัฐต่างๆ โดยแต่ละรัฐสมาชิกเป็นผุ้จัดสรรทรัพยากรของตนป้อนให้แก่หน่วยการเมืองกลาง เพื่อให้หน่วยการเมืองนั้นดำรงอยู่ได้
3.2 โมเดล มีลักษณะในทางตรงกันข้ามกับกรณีแรก คือหน่วยการเมืองกลางที่ได้รับการจัดตั้งขึ้นใหม่จะเป้นผู้จัดสรรผลประโยชน์ให้แก่องค์ประกอบย่อยเพื่อให้ระบบสามารถอยู่ได้
อมิไท เอ็ทไซนิ อธิบายว่าการรวมตัวของรัฐต่างๆ เข้าด้วยกันจำเป็นต้งมีเงื่อนไขเบื้องต้นต่างๆ ดังนี้
1. มีเจตนารมณ์ของผุ้นำทางการเมืองของหน่วยการเมืองย่อย เป็นเงื่อนไขสำคัญที่สุดและนับเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการรวมตัว
2. มีการติดต่อสื่อสารและการตอบสนองต่อสภานการณ์ใดๆ ก็ตามที่เกิดขึ้นอย่างเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน กล่าวคือ มีการผนึกำลังเพ่อตอบโต้สถานกาณ์ที่เกิดขึ้ร่วมกัน นอกจากนั้น ยังจำเป้นต้องมีการสร้างระบบผู้แทน ซึ่งจะเป็นตัวเร่งการรวมตัวให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น
- เอินซ์ บี. แฮซ ได้เสนอข้อสมมุติฐานที่แตกต่างไปจากแนวความคิดของนักวิชาการต่างๆ ที่กล่าวมาแล้วข้างตน โดย แฮซ เชื่อว่ารัฐต่างๆ รวมตัวเข้าด้วยกันก็เพราะต่างหวังผลตอบแทน มิใช่การตระหนักถึงผลประโยชน์ร่วมกัน และการขยายความร่วมมือกันออกไปนั้นก็มิได้เป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติแต่เกิดขึ้นเพราะการเรียกร้องและความประสงค์ ของหน่วยงการเมืองที่รวมตัวเข้าด้วยกัน แฮซ กล่าวเนาิมแนวคิดของ เดวิด มิแทนี้ ว่าการร่วมมือกันทางเศราฐกิจและสังคมนั้นจำเป็นต้องมีองค์กรคอยเสริมความร่วมมือกันทางด้านนี้และด้านอื่นๆ ให้มากขึ้นจนกลายเป็นองค์กรที่มีอำนาจทางการเมืองในที่สุดและในการรวมตัวระหว่างประเทศนั้นสามารถทได้อย่างรวดเร็วถ้าทุ่งความสนใจไปที่เรื่องสวัสดิการ โดยได้เสนอว่าประเทศที่รวมตัวกันควรจะอยู่ในภูมิภาคเดียวกันแ ะลมีสภาพแวดล้อมที่คล้ายคลึงกันขณะที่เจ้าหน้ที่และผุ้ชำนาญการเกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งควรจะร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ของรัฐด้้วยเพื่อทำหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด....
จะเห็นได้ว่าจากคำนิยามเกี่ยวกับการรวมกลุ่มข้างต้นสอดคล้องกับการรวมตัวของกลุ่มสหภาพยุโรป เนื่องจากกลุ่มประเทศใน อียู ที่รวมตัวกันจะมลัษะทางด้านสังคม การเมือง และเสณาฐกิจที่คล้ายคลึงกัน กล่าวคือ การเป็นประเทศอุตสาหกรรม ซึ่งจะต้องมีการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีระหว่างกัน และในการรวมกลุ่มจะมีส่วนช่วยให้เกิดการแบ่งแยกกันผลิตตามความถนัดของแต่ละประเทศ ซึ่งนับเป็นการประสานผลประโยชน์ภายในกลุ่ม ขณะที่ในด้านเศราฐกิจของ อียู ถือว่ามีระดับของการพัฒนาที่ใกล้เคียงกันทำให้สามารถออกกฎระเบียบมาบังคับใช้ร่วมกันโดยไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไ้เรียบหรือเสียเรปียบ และภายหลังจากการรรวมกลุ่มกันแล้วก็มีการจัดตั้งองค์กรกลาง คือ คณะมนตรียุโรป ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมและประสานความร่วมมือระหว่างสมาชิกภายในกลุ่ม....
- บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ "ผลกระทบของการใช้เงินสกุลยูโรต่อการต้าระหว่างไทยกับสหภาพยุโรป" โดย สุเทพ วันอ่อน
วันจันทร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2561
วันอาทิตย์ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2561
Euro
ระบบเงินตราสกุลเดียว กรณีเงินยูโรแนวคิดในการใช้เวินรตราสกุลเดียวร่วมกันในกลุ่มประเทศต่งๆ มีมานแล้ว เช่น สหภาพยุโรปกลุ่มประเทศใลาตินอเมริกา เอเชียบางประเทศ และแฟริกา เป็นต้น แต่กลุ่มประเทศที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงในการใช้เงินตราสกุลเดียวร่วมกันก็คือ กลุ่มสหภาพยุโรป โดยเงินสกุลดังกล่าวเรียกว่า "เงินยูโร"
เงินยูโร เป็นเงินตราสกุลหนึ่งที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปนำมาใช่ร่วมกัน โดยเร่ิมนำมาใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2542 กับสมาชิก 11 ประเทศ โดยในช่วง 3 ปีแรกของการนำมาใช้นั้นการทำธุรกรรมต่างๆ จะเลือกใช้ได้ทั้ง เงินยูโร เงินยูโรและเงนสกุลท้องถ่ินของแต่ละประเทศและเงินสกุลท้องถ่ินของแต่ละประเทศและตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2545 การทำธุรกรรมต่างๆ จะถูกเปลี่ยนเป็นเงินยุโรเท่าน้น ต่อมามีการเข้าร่วม เพิ่มเติมอีก และนอกจากนั้นยังมีประเทศนอกกลุ่มสหภาพยุโรปบางประเทศร่วมใช้ด้วยhttp://www.stou.ac.th/Study/Services/Sec/60340(2)/SingleCurr4.html
ทวีปยุโรปนับเป็นกลุ่มแรกที่เข้าสูระบบเงินตราสกุลเดียวได้สำเร็จและทำให้ระบบนี้เป็นที่รู้จักอยร่างแพร่หลาย จากการที่ยุโรปเป็นตลาดการต้าใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกและเจริญรุ่งเรื่องมานาน มีการค้าระหว่างประเทศอย่างกว้างขวาง แต่การใช้สกุลเงินที่แตกต่างกันทำให้การต้าขายในแถบยนี้ยุ่งยากซับซ้อน ต้องมีการแลกเปลี่ยนเงินตราจากสกุลหนึ่งไปเป็นอีกสกุลกนึ่งเพื่อใช้ใการชำระค่าสนิค้าและบริกาต่างๆ ทำให้เกิดต้นทุนทางธุรกรรมและความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ดังนั้นในทศวรรษ ที่ 1930 องค์การสันนิบาตชาต ิไ้พิจารณาถึงแนวทางี่จะให้ประเทศสมาชิกในยุโรปรวมตัวกันทั้งด้านเศรษฐศาสตร์และการเงินเพื่อลดปัญหาดังกล่าว แต่สงคามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ความพยายามนีนีต้องหยุดชะงักลง และภายหลังทีมีการรวมตัวกันของประเทศกลุ่มหนึ่งในยุโรปเป็ประชาคมเศราฐกิจยุโรป แนวคิดเรื่องความร่วมมือทางเศราฐกิจและการเงินได้ถูกนำกลับมาพิจารณาอีกครั้ง โดยมีแนวคิดที่จะให้ประเทศในยุโรปใช้นโยบายทางการเงินร่วมกัน เพราะนักวิชาการต่างมองวารปะชาคมเศรษฐกิจยุโรปมีความพร้อมที่จะพัฒนาไปสูการเป็นสหภาพเศรษบกิจได้ จึงทำให้ความคิดเรื่องสกุลเงินกลางและธานาคารกลางหนึ่งเดียวของประเทศในกลุ่มยุดรปถูกนำมาพิจารณาร่วมกัน
ในทศวรรษที่ 1980 เป็นช่วงที่แนวคิดังกล่าวมีการพัฒนาอย่งเป็นรูปธรรม โดยมารวางแผนเพื่อก่อตั้งองค์กรด้านเศรษฐกิจและการเงินร่วมกัน กฎหมายยุโรปตลาดเดียว ที่ได้รับการบลวนามเมื่อ ค.ศ. 1986 ได้ขยายขอบเขตความร่วมมือทางด้านเสณาฐกิจและการเมืองระห่างปรเทศสมาชิกในกลุ่มประชาคมเสณาฐกิจยุโรป จนกระทั่งใน ค.ศ. 1992 ได้มีการลงนามร่วมกันในสนธิสัญญามาสตชท์ ให้มีการก่อตั้งสหภาพยุโรป ขึ้น หมายถึง การรวมยุดรปเป็นหนึ่งเดียวหรือเรยกว่า เป็นตลาดเดียว โยข้อกีดกันระหว่างประเทศทางเศณาฐกิจถูกยกเลิกไป เรงงาน สินค้า และงเนทุนสมารถเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศอย่างเสรี และกำหนดให้ ค.ศ. 1999 เป็นปีที่เร่ิมใช้สกุลเงินกลาง รวมทั้งวางรากฐานยุทธศาสตร์ทางการเงินร่วมกัน โยสกุลเงินกลางนี้ต่อมาเรียกว่า เงินยูโร เป้นสกุลเงินที่ปรเทศในกลุ่มยูโรโซนใช้ร่วมกัน ประเทศกลุ่มยูโรโซนประกอบได้ด้วยประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป ที่ใช้เงินสกุลยูโรร่วมกันและเป็นสกุลเงินเดียวที่สามารถใช้ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายhttp://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sec/Lom20/05-
03.html
พัฒนาการและแนวคิดการจัดตั้งสกุลเงินแห่งยุโรป
สนธิสัญญามาสทริชต์ เป้นข้อตกลงที่จัดทำขึ้นโดยคณะมตรียุโรปกรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 17 มิถูนายน พ.ศ. 2549 และเป้นจุดเร่ิมจ้รของการเกิดสกุลเงินยุโรป ภายใต้ข้อตกลงมาสทริชต์ การดำเนินนโยบายการคลังของประเศสมาชิกในกลุ่มสหภาพยุโรปจะต้องเป้นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีเป้าหมายหลักในการควบคุมเงินเฟ้อ
การจัดทำโครงการสร้างเสถียรภาพ พ้อมกับการปรับระดับเสถียรภาพเศราฐกิจของกลุ่มประเทศที่มีพื้นฐานเศรษฐกิจแตกต่างจากประเทศเศณาฐฏิจชั้นนำในกลุ่มยุโรป ประเทศสมาชิกต้องดำเนินนธยบายการเงินในการควบคุมภาวะเงินเฟ้อให้อยู่ในระดับต่ำและสร้างเสถียรภาพของราคาอักทั้งมีการปรัปรุงระเบียบกฎเกณฑ์ให้เกิดการโอนย้ายปัจจัยกาผลิต โดยเฉาพะเรื่องแงานอยางเสีเพื่อส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวของการจ้างงาน
แนวคิดริเร่ิมมาจั้งแต่สิ้นสุดระบบอัตราแลกเปลี่ยนอ้างอิงกับทองคำ แต่สภาพแวดล้อมทางการเมืองไมเดือ้อำนวย แต่ก็ตระหนักถึงการที่จะต้องรักษาอัตราแลกเปลี่ยนระหว่งกลุ่มประเทศสมาชิกให้มีความผันผวนน้อยที่สุด เพ่อสร้างความสามารถในการแข่งขันกับประเทศเสณาฐกิจชั้นนำต่างๆ โดยริเริ่มเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนให้อยูในช่วงแคบๆ ไม่ให้ผันผวนมากนัก ซึ่งเป็นแนวคิดของการกำหนดกรอบความเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนทำให้เกิดนโยบายแนวคิดของการจัดตั้งระบบการเงินแห่งยุดป เพ่อให้ต้นทุนการปรับของอัตราและเปลี่ยนระหว่างประเทศสมาชิกลดลงปัจจัยหลักคือ การรักษาอัตราเงินเฟ้อของอลุ่มประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป ให้อยู่ในระดับที่ต่ำ มีอัตราใกล้เคียงกันระหว่างประเทศสมาชิก
การปรับเข้าหากันของโครงสร้างพื้นฐาน
- เป็นช่วงบูรณาการของการเป็นหนึ่งเดียวของตลาดยุโรป ทั้งตลาอกสินคาแท้จิรงและตลาดสินทรัพย์ทางการเงินเปิดเสรีการค้า การบริการ การลงทุนระหว่างประเทศ โดยมีปััจัยความเสี่ยงคือการเก็งกำไร ค่าสกุเงินท้องถ่ินต่างๆ เนื่องจากความแตกต่างของปัจจัยพื้นฐานทางเศษรฐกิจ
- สร้างมาตรฐษนของการปรับตัวเข้าหากันจดตั้งธนาคารกลางแห่งยุโรป
- ใช้เงินสกุลยูโรอย่างสมบูรณ์ และให้ ECB เป็นผุ้กำหนดนโยบายทงการเงินภายในขอบเขตทของประเทศสมาชิกการจัดตั้งเงินยูโร ลดต้นทุน ทางกรเงินอันเนื่องมาจากอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างปะเทศสมาชิกของประเทศยุโรป
การปรับเปลี่ยนเข้าสู่การใช้เงินสกุลยูโร เร่ิมตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 ประเทศมาชิกในกลุ่มยูโรโซนจะทำการแปลงค่าภายใต้อัตราแลกเปลี่ยนตายตัว ดดยแสดงราคสินค้าสองสกุถล ระยะเวลาที่ 2 เงินยูโรถูกนำมาใช้ภายใต้ระบบราคาค๔ู่เป็นเวลา 3 ปี ธนาคารแห่งยุโรป จะเริ่มรับโอนบทบาทการกำหนดนโยบายการเงินจากธนาคารกลางของประเทศสมาชิก, ช่วงระยะเวลาที่ 3 ธนาคารกลางแห่งยุโรปจะเร่ิมนำเงินยูโรเข้าสูระบบการซื้อขายแลกเปลี่ยนประจำวันในขอบเขตประเทศสมาชิกในกลุ่มยูโรโซน
บทบาทของเงินยูโร
- การใช้เป็นหน่วยราคาสินค้าและบริการ เงินสกุลกลางของประเทศสมาชิกใช้เป็นเงินอ้างอิงหลักสำหรับการกำหนดราคา สินค้า ช่วยลดต้นทุนในการดำเนินธุรกรรมระหว่งประเทศสมาชิก
- การดำรงฐานะเป็นเงินทุนสำรองเงินตราระหว่างประเทศ การดำรงเงินทุนสำรองระหว่างประเทศแต่ละประเทศพิจารณาจากธุรกรรมการต้าของประเทศตนเองกับประเทศคู่ค้าเป็นสำคัญ
- การเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ หมายถึงความสามารถในการแลกเปลี่ยนระหว่างสกุลเงิน เช่นเปลี่ยนเงินยูโรเป็นเงินท้องถ่ินที่ยอมรับได้ เสมือนกับเงินยูโรเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยน...http://fin.bus.ku.ac.th/thai/pdf/ch21.pdf
ข้อตกลง แมสทริตช์ ได้เห็นชอบสนธิสัญญาว่าด้วยสหภาพเศรษบกิจและการเงิน กำหนดเป้าหมายที่จะรวมเศรษบกิจและการเงินของยุโรปเป็นหนึ่งเดียว และกำหนดแนวทางการใช้เงินสกุลเดียวภายในปี 1999 ทั้งนี้จะดำเนินการจัดตั้งธนาคารกลางยุโรป เพื่อดุแลนธายการเงินร่วมกัน เช่น ดูแลเรื่องปริมาณและอัตราแลกเปลี่ยนของเงิน ยูโร และกำหนดอัตราดอกเบี้ยของประเทศสมาชิก เป็นต้น และกำหนดเงืินไขให้ประเทศที่จะเข้าร่วมต้องปรับระบบเสราฐกจิของแต่ละประเทศให้อยู่ในระดับเดียวกัน ก่อนที่จะร่วมกันใช้เงินสกุลเดียว ดังนี้
- การขาดดุลงบประมาณประจำปีต้องไมเ่กินร้อยละ 3 ของ จีดีพี
- ยอดคงค้างหนี้รัฐบาลต้องไม่เกินร้อยละ 60 ของ จีดีพี
- อัตราเงินเฟ้อจะสูงกว่าอัตราเฉลี่ยของ 3 ประเทศสมาชิกที่มีอัตราเงินเฟ้อต่ำสุดได้ไม่เกิน ร้อยละ 1.5
- อัตราดอกเบียระยะยาว (พันธบัตรรัฐบาล) จะสูงกว่าอัตราเฉลี่ยของ 3 ประเทศสมาชิกที่มี อัตราเงินเฟ้อต่ำสุดได้ไม่เกินร้อยละ 2 ต่อปี
- อัตราแลกเปลี่ยนจะต้องมีเสถียรภาพ โดยเคลื่อนไหวในกรอบของกลไก อีอาร์เอ็ม ไม่ต่ำหว่า 2 ปี ประเทศสมาชิกต้องไม่ลดค่าเงินภายใน 2 ปี ก่อนการตัดสินใจเข้าร่วม
- อย่างไรก็ตามเงื่อนไขหรือเกณฑ์ดังกล่วยือหยุ่นได้บ้าง โดยพิจารณาแนวโน้มในอนคต ว่าโอกาสที่แต่ละประเทศจะมีโอกาสปรับตัวเข้าสู่เกณฑ์ในที่สุด
ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปได้เริ่มนำเงินยูโรมาใช้เมื่อวันที่ 1 มกราคม 1999 โดยเป็นการใช้เงินทางระบบบัญชี ตราสาร และการโอนเงินเท่าน้ัน ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ของเงินยูโรได้เร่ิมนำมาใช้เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2002 ปัจจุบันมีประเทศมาชิกสหภาพยุโรปที่เป็นสมาชิก อีเอ็มยู และร่วใช้เงินยูโร 12 ประเทศ ...https://sites.google.com/site/thnkvt32435/rabb-ngein-shphaph-yurop
กลไกอัตราแลกเปลี่ยนยุโรป
กลไกอัตราแลกเปลี่ยนยุโรป เป็ฯระบบซึ่งริเร่ิมโดยประชาคมยุโรป ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2522 โดยเป็นส่วนหนึงของระบบการเงินยุโรป เพื่อลดความแปรปรวนของอัตราแลกเปลี่ยนและบรรลุเสถียรภาพการเงินในยุโรป เพื่อลดความแปรปรวนของอัตราแลกเปลี่ยนและบรรลุเสถียรภาพการเงินในยุโรป เพื่อเป้ฯการเตรียมการสำหรับสหภาพยเศรษฐกิจและการเงิน และการริ่เร่ิมเงินยูโรสกุลเดียว ซึงมีขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 หลังเร่ิมใช้เงินยูโรนโยบายได้เปลียนเป็นการเชื่อมโยงสกุลเงินของประเทศนอกยูโรโซนเข้ากับเงินสกุลยูโรโดยมีสกุลเงินกลางเป็นจุดกลาง เป้าหมายคือ เพื่อปรับปรุงเสถียรภาพของค่าเงินเหล่านี้เช่นเีดยวกับการเพ่ิมกลไกการประเมินสำหรับสมาชิกยูโรโซนที่มีศักยภาพ กลไกนี้รู้จักกันในชื่อ อีอาร์เอ็ม 2
อีอาร์เอ็ม ตั้งอยุบนแวคิดของอัตราการแลกปลี่ยนเงินตราควที่ แต่โดยอัตราแลกเปลี่ยผันแปรได้ภายในขอบเขต ซึ่งแนวคิดดังกล่วยังได้ชือว่า ระบบกค่งอิงเงินสกุลอื่น ก่อนเริ่มใช้เงินสกุลยูโร อัตราแลกเปลี่ยนขึ้นอยู่กับหน่วยเงินตรายุโรป ซึ่งมูลค่าพิจารณาจาอค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของเศรษฐกิจประเทศผู้เข้าร่วม
กริด ของอัตราทวิภาคี คำนวณได้จากพื้นฐานของอัตรากลางเหล่านี้ที่แสดงใน อีซียู และความผันผวนสกุลเงินต้องถุกจำกัดภายในขอบ 2.25% ทั้งสองฝ่ายของอัตาทวิภาคี (ยกเว้นสกุลบีร่าอิตาลี ซึงอนุญาตให้ขอบเป็น 6%) การแทรกแซงที่กำหนดและข้อตกลงกู้ยืมคุ้มครองสกุลเงินที่เข้าร่วมมิให้มีอัตรแลกเปลี่ยนผันผวนมากขึ้น ในพ.ศ. 2538 ขอบเขตดังกล่าวขยายเป็น 15% เพื่อจัดให้เหมาะสมกับเงินฟรังก์ฝรั่งเศสและสกุลอื่น
การถูกบีบออาจาก อีอาร์เอ็ม ของปอนด์สเตอร์ลิง สหราชอาณาจักรเข้า อีอาร์เอ็มในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2533 แต่ถูกบีบให้ออกจากโครงการภายในสองปีหลังปอนด์สเตอร์ลิงได้รับแรงกดดันอย่างหนักจากผุ้สังเกตุการเงินตรา รวมทั้งจอร์จ โซรอส เหตุการณ์ตลาดหลักทรัพย์ตกเมือวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2535 ที่เกิกขึนตามมา ถูกขนานนามภายหลังว่า "วัพุธทมิ)" มีการทบทวนทัศนะต่อเหตุกาณณ์นี้โดยแสดงสมารรถนะทางเศรษฐกิจอันเเข็งแกร่งของสหราชอาณาจักรหลัง พ.ศ. 2535 โดยมีผุ้วิจารณืเรียกว่า "วันพุธขาว" นักวิจารณืบางคน หลังนอร์แมน มเท็บบิต เรียก อีอาร์เอ็มว่าเป็น "กลไกถดถอยตลอดกาล" หลังสหราชอาณษจักรเข้าสู่ห้วยเศรษฐกิจตกต่ำในช่วงต้นคริสต์สตวณรษ 1990 สหราชอาราจักรใช้เงินกว่า หกพันล้านปอนด์พยายามรักษาค่าเงินให้อยู่ในชีดจำกัดแคบๆ โดยมีรายงานกว้างขวางว่ารายได้ส่วนตัวของโซราอสมีถึง 1 พันล้านปอนด์ เที่ยบกับ 12 ปอนด์ของประชากรอังกฤษแต่ละคน และขนานนามโซรอสว่าเป็น "ชายผู้ทุบธนาคารอังกฤษ"...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%84%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%9B
วันเสาร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2561
European Union law
แหล่งที่มาของกฎหมายสหภาพยุโรปนั้นมี 2 แหล่ง คื อกฎหมายหลัก หรือสนธิสัญญา ซึ่งนับแต่การก่อกตั้งประชาครเศรฐกิจยุโรป โดยสนธิสัญญากลุ่ดรม ซึ่งได้ลงนาในปี ค.ศ. 1951 และสธิสัญญาสหภาพยุโรปฉบับปัจจบุันคือสนธิสัญญาลิสบอน ซึ่งไดลงนามในปี ค.ศ. 2003 ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าสธิสัญญายุโรปเปรียบเสมือนว่าเป็นรัฐธรรมนูญของสหภาพยุโรปนั้นเอง ส่วนแหล่งที่สอง คือ กฎหมายรองของสหภาพยุโรปซึ่งออกโดยสถาบันที่ของยุรปนั้นตามนัยแห่งมาตรา 288 ของสนธิสัญญาว่าด้วยการบริหารงานของสหภาพยุโรป มีอยู่ 3 ประเภทคือ
- ข้อบังคับสหภาพยุโรป เป็นกฎหมายอันดับรองจากสนะิสัญญายุโรปที่มีผลผูกพันตามกฎหมาย ตอรัฐสมาชิก ที่จะต้องนำไปปฏิบัติโดยตรงทั้งหมดทุกบทมาตราหลังจากที่ข้องบังคับได้รับความเห็นชอบร่วมกันโดยคณะมนตรียุโรป และรัฐสภายุโรป หรือผ่านความเห็นชอบโดยลำพังของคณะกรรมาธิการยุโรป ซึ่งผลโดยตรงทางกฎหมาย ต่อรัฐสมาชิกนั้นหมายความว่ารัฐบาลของรัฐสมาชิกนั้นๆ ไม่ต้องออกกฎหมายภายในบังคัยใช้อีกและไม่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงบทมาตราในข้อบังคับได้
ดังนั้นเมื่อข้อบังคับหรือกฎระเบียบสหภาพยุโรปได้พิมพ์ประกาศลงในจุสารทางการ ก้มีผลยังคัยใช้แล้วนั้นผลทางกฎหมายก็คือว่าจะมีฐานะทางกฎหมายทีู่กว่ากฎหมายภายใน หล่าวอีกนั้นหนึ่งก็คือว่าข้องบังคับจะมีสภาพบังคับยที่เหนือกว่ากฎหมายภายในเรื่องเีดยวกน หากฎมหมายภายในรัฐสมาชิกขัดหรือแย้งกับข้อบังคับสหภาพยุโรปแล้วจะไม่มีผลบังคับแต่อย่างใด ดังนั้นรัฐมสมาชิกต้องออกฎหมายให้สอดคล้องกับกฎระเบียบยุโรป
จะเห็นว่ากฎหมายของรัฐสมาชิกใช้บังคับภายในรัฐอยู่นั้นส่วนใหญ๋มาจากข้อบังคับยุโรปและเป็นส่วนน้องเท่าน้นที่รัฐสมาชิกออกกฎหมายภายในเอง ผลทางกฎหมายเมือเกิดกรณ๊ที่รัฐสมาชิกไม่ปฏิบัติตามข้อบังคัยยุโรป คือคณะกรรมาธิการยุโรป ซึ่งมีหน้าที่ในการดูแลการบังคับใช้กฎมหยยุโรปของรัฐสมาชิกและสามารถที่จะฟ้องต่อศาลยุติธรรมยุโรปเพื่อให้มีการพิจารณพิพากษา หากพบว่ารัฐสมาชิกละเมิดไม่ปฏิบัติตามกฎหมายยุโรปแล้วผลก็คือจะมีการปรับเป็นตัวเงินแก่รัฐสมาชิกที่ละเมิด
- ข้อกำหนดยุโรป เป้ฯการกำหนแนวทาแก่รฐสมาชิกที่จะนำไปดำเนินการจัดทำเป็นกฎหมายหรือแก้ไขกฎหมายภายในของตนเอง ซึ่งไม่ปฏิบัติตามคณะกรรมธิการยุโรปมีอำนาจที่จะตักเตือนรัฐนั้นให้ดำเนินการตามข้อกำหนดหรืออาจจะฟ้องรัฐดังกล่าวต่อศาลยุติธรมยุโรปเพื่อให้ปฏิบัติตามข้อกำหนด ข้อกำหนดมีจุดประสง์ให้รัฐสมาชิกได้มีกฎหมายหรือหลักปฏิบัติที่สอดคล้องกันและข้อกำหนดนั้นมีผลผุกพันเป็นกฎหมายแก่รัฐที่ข้อกำหนดได้ระบุไว้ ดังนั้นข้อกำหนดนั้นจะทำให้รัฐสมาชิกปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้แล้วออก ซึ่งรัฐสมาชิกสามารถปรับใช้เป็นกฎระเบียบภายในโดยคำนึงถึงข้อจำกัดและความเป็นไปได้ภายในรัฐของตนดังนั้น การนำเอาข้อกำหนดสหภาพยุโรปของรัฐสมาชิกนั้จะมีการปฏิบติที่แตกต่างกันไป
สำหรับข้อกำหนดยุโรปต่างจากข้อบังคับยุโรปในแง่ที่่ว่า ข้อกำหนดยุดรปจะมีการออกข้อกำหนดไปยังผุ้มีอำนาจในรัฐสมาชิกที่จะทำให้ข้อกำหนดยุโรปให้ถูกบังคับใช้เป็นส่นหนึ่งของกฎหมายยภายใน โดยข้อกำหนดนั้นอาจจะมีไปยังรัฐสมาชิกรัฐใดัฐหนึ่งหรือหลายๆ รัฐก็ได้และกำหนดระยะเวลาให้รัฐเหล่าน้ั้นพิจารณาว่าจะใช้วิธีการออกกฎหมายด้วยวิธีใด ซึ่งข้อกำหนดมักจะเป้นการทำให้กฎหมายภายในของรัฐสมาชิกมีความใหล้เคียงกัน อย่างเช่น ข้อกำหนเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยของผลิตภัฒฑ์ ข้อกำหนเรื่องการยอมรับระหว่างกันซึ่คุณสมบัติเกี่ยวกับทันตกรรม
- คำสั่ง เป็นระเบียบข้อบังคัยที่ใช้บังคับแก่รัฐบาลของรัฐสมาชิก บริษัท หรือองค์กรเอกชนจ่างๆ ถือว่าเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่มีผลผุกพันเฉพาะปัจเจกชนที่ระบุไว้ในคำสัง ว฿่งคำสั่งนั้นอาจจะถูกออกโดยการพิจาณร่่วมกันของคณะมนตรียุดรปและรัฐสภายุโรปหรือจากคณะกรรมาธิการยุดรป ซึ่คำสั่งนั้นมีจุดประสงค์เพื่อที่จะให้เจ้าหน้าที่ผุ้มีอนำาจหรือพลเมืองในรัฐกระทำการหรือหยุดกรทะำการอย่างหนึ่งอย่างใด ึ่งคำสั่งจะออกคำตัดสินไปยังคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งและมีผลผุกพันทางกฎมหายอย่่างสมบูรณ์
นอกจานี้ แล้วยังมีคำแนะนำ และความเห็นไม่มีผลผุกพันสถาบันหรือปัเจกชนใด หล่าวคือไม่มีสภาพบังคับ ดดยต่างไปจากระเบียบข้อบังคับ ข้อกำหนซึ่งออกโดยสหภาพยุโรปที่มีสภาพบังคับ แลมีผลผูกพันทางกฎมหายต่อประเทศสมาชิกแต่อย่างใดแตกก็ให้ผลในเชิงโน้มน้าวการตัดสินใจของรัฐสมาชิกเท่านั้นนอกจานี้ แล้วคำพิพากษาซึ่งเป็นควาเห้นของศาลยุติธรรมยุโรปก็ถือว่าเป็นแหล่งที่มาของกฎมหายแห่งสหภาพยุโรปอีกด้วย
สำหรับกระบวนการออกข้อบังคับ ของสหภาพยุโรป สถาบันที่มีอำนาจนการเสนอกฎระเบียบได้คือคณะกรรมาธิการยุโรป ดดยจะมีกระบวนการเป็น 2 ขั้นตอน คือ
- การร่างข้อบังคับ สนธิสัญญาก่อตั้งสหภาพยุโรป ได้กำหนดให้คณะกรรมาธิการยุโรป เท่านั้นที่มีอำนาจในการเสนอร่างข้อบังคับแก่คณะรัฐมนตรียุโรปและสภายุโรปเป็นผุ้ร่วมพิจารณาให้การรับรองเพื่อที่จะออกเป็นข้อบังคัยแก่คณะรัฐมนตรียุโรปและสภายุโรปเป้นผู้ร่วมพิจารณาให้การรับรองเพื่อที่จะออกเป็นข้อบังคับให้ประเทศสมาชิกนำไปปฏิบัติ สำหรับขั้นตรอการร่างข้อยังคัยนั้นจะมีอยู่สองระดับคือระดับเทคนิคและระดับการเมือง สำหรับในระดับเทคนิคนั้นเจ้าหน้าที่หรือข้ราชการในคณะกรรมาธิการยุโรปผู้ที่ได้รับมอบหายจะเป็นผุ้ร่างกฎมหายข้อบังคับขึ้นแล้วส่งให้แก่ เพื่อขอคำปรึกษาซึ่งถือว่าเป้นความลับของทางราชการมาก และต่อมาร่างดังกล่าวก็จะถูกส่งต่อมายังระดับการเมืองคือให้คณะกรรมธิการยุโรปในการพิจษณาเพื่อที่จะนำเสนอต่อคณะรัฐมนตรียุโรปและสภายุโรปในการพิจารณาต่อไป
- ขั้นตอนรับรองข้อบังคับ หลังจากที่ร่างข้อบังคับได้ถูกส่งมายังคณรัฐมนจรียุโรปหรือสภายุโรปในการให้การรับรองร่างข้อบังคับ ซึ่งคณะรัฐมนตรียุโรปมีอำนาจที่จะให้การรับรองแบบ ซึ่งเป็ฯการับรองแบบเสียงเอกฉันท์หรือเสียงข้างมากก็ได้โดยจะเป็นการให้การรับรองแบบกระบวนการพิศษ ส่วนการให้การรับรองตามกระบวนการปกติหรือแบบ โค-ดิไซชั่น นั้นคณะรัฐสภายุโรปจะไใก้การรับรองร่างข้อบังคัยแบบลงเสียงข้ามากโดยะต้องผ่าน 2 ขั้นตอน และการไม่สามาหาข้อสรุปได้จะเข้ากระบวนการ คอนไซเลชั่น
การบังคับยใช้กำหมายยุโรปกำหนดไว้ตามมาตรา 258 แห่งสนธิสัญญาว่าด้วยการกำหนหน้าที่สหภาพยุโรป ให้คณะกรรมาธิการยุโรป มีหน้าที่ที่จะกำกดับดูแล และหากว่ามีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม แล้วก็จะมีการเจรจาให้รัฐสมาชิก สถาบันหรือเอกชนเหล่านั้น ปฏิบติตามด้วยความเต็มใจ หรืออาจจะทำการแซงชั้น ต่อผู้ฝ่าฝืนเหล่านั้นหรืออาจจะนำกรณีดงหล่าขึ้นสู่าลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรปในการพิจารณวินิจฉัยต่อไป...
บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ "สภานะเหนือกว่าของพันธกรณีตามกฎบัตรสหประชาชาติต่อพันธกรณีตามข้อตกลงตามกฎหมายระหว่างประเทศอื่น : กรณีศึกษาข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงว่าด้วยการต่อต้านการก่อการร้ายและคำวินิจฉัยของศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป" โดย ร้อยตำรวจเอกเมือง พรมเกษา.
- ข้อบังคับสหภาพยุโรป เป็นกฎหมายอันดับรองจากสนะิสัญญายุโรปที่มีผลผูกพันตามกฎหมาย ตอรัฐสมาชิก ที่จะต้องนำไปปฏิบัติโดยตรงทั้งหมดทุกบทมาตราหลังจากที่ข้องบังคับได้รับความเห็นชอบร่วมกันโดยคณะมนตรียุโรป และรัฐสภายุโรป หรือผ่านความเห็นชอบโดยลำพังของคณะกรรมาธิการยุโรป ซึ่งผลโดยตรงทางกฎหมาย ต่อรัฐสมาชิกนั้นหมายความว่ารัฐบาลของรัฐสมาชิกนั้นๆ ไม่ต้องออกกฎหมายภายในบังคัยใช้อีกและไม่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงบทมาตราในข้อบังคับได้
ดังนั้นเมื่อข้อบังคับหรือกฎระเบียบสหภาพยุโรปได้พิมพ์ประกาศลงในจุสารทางการ ก้มีผลยังคัยใช้แล้วนั้นผลทางกฎหมายก็คือว่าจะมีฐานะทางกฎหมายทีู่กว่ากฎหมายภายใน หล่าวอีกนั้นหนึ่งก็คือว่าข้องบังคับจะมีสภาพบังคับยที่เหนือกว่ากฎหมายภายในเรื่องเีดยวกน หากฎมหมายภายในรัฐสมาชิกขัดหรือแย้งกับข้อบังคับสหภาพยุโรปแล้วจะไม่มีผลบังคับแต่อย่างใด ดังนั้นรัฐมสมาชิกต้องออกฎหมายให้สอดคล้องกับกฎระเบียบยุโรป
จะเห็นว่ากฎหมายของรัฐสมาชิกใช้บังคับภายในรัฐอยู่นั้นส่วนใหญ๋มาจากข้อบังคับยุโรปและเป็นส่วนน้องเท่าน้นที่รัฐสมาชิกออกกฎหมายภายในเอง ผลทางกฎหมายเมือเกิดกรณ๊ที่รัฐสมาชิกไม่ปฏิบัติตามข้อบังคัยยุโรป คือคณะกรรมาธิการยุโรป ซึ่งมีหน้าที่ในการดูแลการบังคับใช้กฎมหยยุโรปของรัฐสมาชิกและสามารถที่จะฟ้องต่อศาลยุติธรรมยุโรปเพื่อให้มีการพิจารณพิพากษา หากพบว่ารัฐสมาชิกละเมิดไม่ปฏิบัติตามกฎหมายยุโรปแล้วผลก็คือจะมีการปรับเป็นตัวเงินแก่รัฐสมาชิกที่ละเมิด
- ข้อกำหนดยุโรป เป้ฯการกำหนแนวทาแก่รฐสมาชิกที่จะนำไปดำเนินการจัดทำเป็นกฎหมายหรือแก้ไขกฎหมายภายในของตนเอง ซึ่งไม่ปฏิบัติตามคณะกรรมธิการยุโรปมีอำนาจที่จะตักเตือนรัฐนั้นให้ดำเนินการตามข้อกำหนดหรืออาจจะฟ้องรัฐดังกล่าวต่อศาลยุติธรมยุโรปเพื่อให้ปฏิบัติตามข้อกำหนด ข้อกำหนดมีจุดประสง์ให้รัฐสมาชิกได้มีกฎหมายหรือหลักปฏิบัติที่สอดคล้องกันและข้อกำหนดนั้นมีผลผุกพันเป็นกฎหมายแก่รัฐที่ข้อกำหนดได้ระบุไว้ ดังนั้นข้อกำหนดนั้นจะทำให้รัฐสมาชิกปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้แล้วออก ซึ่งรัฐสมาชิกสามารถปรับใช้เป็นกฎระเบียบภายในโดยคำนึงถึงข้อจำกัดและความเป็นไปได้ภายในรัฐของตนดังนั้น การนำเอาข้อกำหนดสหภาพยุโรปของรัฐสมาชิกนั้จะมีการปฏิบติที่แตกต่างกันไป
สำหรับข้อกำหนดยุโรปต่างจากข้อบังคับยุโรปในแง่ที่่ว่า ข้อกำหนดยุดรปจะมีการออกข้อกำหนดไปยังผุ้มีอำนาจในรัฐสมาชิกที่จะทำให้ข้อกำหนดยุโรปให้ถูกบังคับใช้เป็นส่นหนึ่งของกฎหมายยภายใน โดยข้อกำหนดนั้นอาจจะมีไปยังรัฐสมาชิกรัฐใดัฐหนึ่งหรือหลายๆ รัฐก็ได้และกำหนดระยะเวลาให้รัฐเหล่าน้ั้นพิจารณาว่าจะใช้วิธีการออกกฎหมายด้วยวิธีใด ซึ่งข้อกำหนดมักจะเป้นการทำให้กฎหมายภายในของรัฐสมาชิกมีความใหล้เคียงกัน อย่างเช่น ข้อกำหนเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยของผลิตภัฒฑ์ ข้อกำหนเรื่องการยอมรับระหว่างกันซึ่คุณสมบัติเกี่ยวกับทันตกรรม
- คำสั่ง เป็นระเบียบข้อบังคัยที่ใช้บังคับแก่รัฐบาลของรัฐสมาชิก บริษัท หรือองค์กรเอกชนจ่างๆ ถือว่าเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่มีผลผุกพันเฉพาะปัจเจกชนที่ระบุไว้ในคำสัง ว฿่งคำสั่งนั้นอาจจะถูกออกโดยการพิจาณร่่วมกันของคณะมนตรียุดรปและรัฐสภายุโรปหรือจากคณะกรรมาธิการยุดรป ซึ่คำสั่งนั้นมีจุดประสงค์เพื่อที่จะให้เจ้าหน้าที่ผุ้มีอนำาจหรือพลเมืองในรัฐกระทำการหรือหยุดกรทะำการอย่างหนึ่งอย่างใด ึ่งคำสั่งจะออกคำตัดสินไปยังคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งและมีผลผุกพันทางกฎมหายอย่่างสมบูรณ์
นอกจานี้ แล้วยังมีคำแนะนำ และความเห็นไม่มีผลผุกพันสถาบันหรือปัเจกชนใด หล่าวคือไม่มีสภาพบังคับ ดดยต่างไปจากระเบียบข้อบังคับ ข้อกำหนซึ่งออกโดยสหภาพยุโรปที่มีสภาพบังคับ แลมีผลผูกพันทางกฎมหายต่อประเทศสมาชิกแต่อย่างใดแตกก็ให้ผลในเชิงโน้มน้าวการตัดสินใจของรัฐสมาชิกเท่านั้นนอกจานี้ แล้วคำพิพากษาซึ่งเป็นควาเห้นของศาลยุติธรรมยุโรปก็ถือว่าเป็นแหล่งที่มาของกฎมหายแห่งสหภาพยุโรปอีกด้วย
สำหรับกระบวนการออกข้อบังคับ ของสหภาพยุโรป สถาบันที่มีอำนาจนการเสนอกฎระเบียบได้คือคณะกรรมาธิการยุโรป ดดยจะมีกระบวนการเป็น 2 ขั้นตอน คือ
- การร่างข้อบังคับ สนธิสัญญาก่อตั้งสหภาพยุโรป ได้กำหนดให้คณะกรรมาธิการยุโรป เท่านั้นที่มีอำนาจในการเสนอร่างข้อบังคับแก่คณะรัฐมนตรียุโรปและสภายุโรปเป็นผุ้ร่วมพิจารณาให้การรับรองเพื่อที่จะออกเป็นข้อบังคัยแก่คณะรัฐมนตรียุโรปและสภายุโรปเป้นผู้ร่วมพิจารณาให้การรับรองเพื่อที่จะออกเป็นข้อบังคับให้ประเทศสมาชิกนำไปปฏิบัติ สำหรับขั้นตรอการร่างข้อยังคัยนั้นจะมีอยู่สองระดับคือระดับเทคนิคและระดับการเมือง สำหรับในระดับเทคนิคนั้นเจ้าหน้าที่หรือข้ราชการในคณะกรรมาธิการยุโรปผู้ที่ได้รับมอบหายจะเป็นผุ้ร่างกฎมหายข้อบังคับขึ้นแล้วส่งให้แก่ เพื่อขอคำปรึกษาซึ่งถือว่าเป้นความลับของทางราชการมาก และต่อมาร่างดังกล่าวก็จะถูกส่งต่อมายังระดับการเมืองคือให้คณะกรรมธิการยุโรปในการพิจษณาเพื่อที่จะนำเสนอต่อคณะรัฐมนตรียุโรปและสภายุโรปในการพิจารณาต่อไป
- ขั้นตอนรับรองข้อบังคับ หลังจากที่ร่างข้อบังคับได้ถูกส่งมายังคณรัฐมนจรียุโรปหรือสภายุโรปในการให้การรับรองร่างข้อบังคับ ซึ่งคณะรัฐมนตรียุโรปมีอำนาจที่จะให้การรับรองแบบ ซึ่งเป็ฯการับรองแบบเสียงเอกฉันท์หรือเสียงข้างมากก็ได้โดยจะเป็นการให้การรับรองแบบกระบวนการพิศษ ส่วนการให้การรับรองตามกระบวนการปกติหรือแบบ โค-ดิไซชั่น นั้นคณะรัฐสภายุโรปจะไใก้การรับรองร่างข้อบังคัยแบบลงเสียงข้ามากโดยะต้องผ่าน 2 ขั้นตอน และการไม่สามาหาข้อสรุปได้จะเข้ากระบวนการ คอนไซเลชั่น
การบังคับยใช้กำหมายยุโรปกำหนดไว้ตามมาตรา 258 แห่งสนธิสัญญาว่าด้วยการกำหนหน้าที่สหภาพยุโรป ให้คณะกรรมาธิการยุโรป มีหน้าที่ที่จะกำกดับดูแล และหากว่ามีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม แล้วก็จะมีการเจรจาให้รัฐสมาชิก สถาบันหรือเอกชนเหล่านั้น ปฏิบติตามด้วยความเต็มใจ หรืออาจจะทำการแซงชั้น ต่อผู้ฝ่าฝืนเหล่านั้นหรืออาจจะนำกรณีดงหล่าขึ้นสู่าลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรปในการพิจารณวินิจฉัยต่อไป...
บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ "สภานะเหนือกว่าของพันธกรณีตามกฎบัตรสหประชาชาติต่อพันธกรณีตามข้อตกลงตามกฎหมายระหว่างประเทศอื่น : กรณีศึกษาข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงว่าด้วยการต่อต้านการก่อการร้ายและคำวินิจฉัยของศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป" โดย ร้อยตำรวจเอกเมือง พรมเกษา.
วันศุกร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2561
European Union Structure
การขยายตัวของยุโรปทำให้ตลาดยุดรปเข้มแข็ง มีประชากรกว่า 500 ล้านคน ที่มีศํกยภาพกำลังซื้อที่เข้มแข็ง มีการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตอย่างเสรี มีระบอบการปกครอง และ การเมืองที่เแข็.แกร่งและมีบทบาทในเวทีโลกอย่างสำคัญยิ่ง
โครงสร้างของสหภาพยุโรป สหภาพยุโรปมีสถาบันหลักที่สำคัญ 5 สถาบัน คือ
1. คณะมนตรีแห่งยุโรป The European Council
2. สภารัฐมนตรี The Council of Ministers
3. คณะกรรมาธิการยุโรป The European Commission
4. สภายุโรป The European Parliament
5. ศาลยุติธรรมยุโรป The Court of Justice of the European Union
1. คณะมนตรีแห่งยุโรป The European Council
คณะมนตรีแห่งยุโรป หรือ ที่ประชุมสุดยอดแห่งยุโรป เป็นที่ประชุมของประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสมาชิกทุกประเทศของสหภาพยุโรป คณะมนตรีแห่งยุโรปมีหน้าที่ดำเนินมาตรการต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาสหภาพยุโรป และ กำหนดแนวนโยบายความัมพันะ์กบประเทศนอกกลุ่มสมาชิกโดยมีสถาบันอื่นๆ เช่นคณะกรรมาธิการยุโรป สภาพยุโรป และสภารัฐมนตรี เป้ฯสถาบัทีปฏิบัติการเพื่อให้เป้นไปตามนโยบายของคณมนตรียุโรป
ธรรมนูญแห่งยุโรปได้กำหนดให้ ำสั่ง ของสหภาพยุโรปในบางเรื่องจะต้องดำเนินการโดยคณะมนตรีแห่งยุโรป นอกจากนี้คณะมนตรีแห่งยุโรป ยังมีบทบาทในการเสนอชื่อบุคคลที่เหมาะสมให้ดำรงตำแหน่งต่างๆ โดยเสนอให้สภาแห่งยุโรปพิจารณา แต่คณะในตรีแห่งยุโรปไม่มีอำนาจในทางนิติบัญญัติดังนั้นกฎ ข้อบังคับต่างๆ ของสหภาพยุโรป จะถูกบัญญัติขึ้นโดยสภารัฐมนตรี ด้วยความเห็นชอบของสภายุโรปแต่คณะมนตรีแห่งยุโรปมีอำนาจในการคัดค้านบทบัญญัติบางข้อได้ เฉพาะข้อที่อนุญารไว้ในรัฐธรรมนูญ ที่เรียกว่าการระงับโดยฉุกเฉิน นอกจากนี้ ธรรมนูญเพื่อยุโรปยังบัญญัติว่ คำสั่ง ของคณะมนตรีแห่งยุโรปจะต้องได้รับความเห้นชอบโดยมติเอกฉันท์ เว้นแต่มธรรมนูญแห่งยุโรปบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น
คณะมนตรีแห่งยุโรปเป็นเวทรหลักในการประสานความร่วมมือระห่างรัฐบาลของประเทศสมาชิกเพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤติการณ์ระหว่าประเทศอย่างมประสิทธิภาพ โดยผลของการประชุมที่เมืองนี้ส คณะมนตรีแห่งยุโรปได้ลงมติจัดตั้งองค์การถาวรทางการเมือง และ การทหารภายในสภารัฐมนตรีแห่งยุโรป องค์กรดังกล่าวคือ
- คณะกรรมการ การเมือง และความมั่นคง
- คณะกรรมการ การทหารของสหภาพยุโรป
- เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติการทางทหารของสหภาพยุโรป
2. สภารัฐมนตรีแห่งสหภาพยุโรป The Council of Ministers สภารัฐมนตรีแห่งสหภายยุดรประกอบด้วยผุ้แทนจากประเทศสมาชิกในระดับรัฐมนตรี ทีอำนาจในการตัดสินใจและ ทำหน้าที่ด้านนิติบัญญัติร่วมกับสภายุโรป ดูแลเรื่องงบประมาณ และเป็นองค์กรประสานงานการประชุมของสภารัฐมนตรีแหงสหภายยุโรป ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกที่มาประชุมในเรื่องต่างๆ ซึ่งปกติแล้วจะเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ แต่ อาจจะเป็นรัฐมนตรีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่มาประชุมการออกเสียงของสภารัฐมนตรจะใช้มติเสียงข้างมากพิเศษ ประเทศสมาชิกจะมีเสียงไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับจำนวนประชากรของแต่ละประเทศ นอกจากนั้นยังเป็นผู้แทนในระัดบคณะทำงาน เอกอัครราชทูตและ ระดับรัฐมนตรีค่างๆ ว฿่งมีอยู่ 9 คณะ คือ
- คณะรัฐมนตรีว่าด้วยกิจการทั่วไป และความสัมพันธ์ภายนอก
- คณะมนตรีว่าด้วยเศรษฐกิจและการเงิน
- คณะมนตรีว่าด้วยงานยุติธรรมและกิจการภายในประเทศ
- คณะมนตรีว่าดวยการจ้างงาน นโยบายสังคม สุขภาพ และผู้บริโภค
- คณะมนตรีว่าด้วยการแข่งขันทางด้านตลาอดภายใน อุตสาหกรรมและ การวิจัย
- คณะมนตรีว่าด้วยการขนส่ง การสื่อสารโทรคมนาคม และพลังงาน
- คณะมนตรีว่าด้วยการเกษตรกรรม และการประมง
- คณะมนตรีว่าด้วยสิ่งแวดล้อม
- คณะมนตรีว่าด้วยการศึกษา เยาวชน และวัฒนธรรม
สภารัฐมนตรีแห่งยุโรป มีหน้าที่สำคัญโดยสรุป คือ ออกกฎ ขอ้บัญญัติต่างดๆ ของสหภาพยุโรป กล่าวคือ มีอำนาจในการออกคำสั่ง ข้อบังคับ และข้อกำหนดนับว่าสภารัฐมนตรีเป็องค์กรที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติของสหภาพยุโรป ทั้งนี้โดยความเห้ฯชอบของสภายุโรป และนำเสนอคณะกรรมาธิการ ซึ่งข้อบัญญัติเหล่านี้เมื่อประกาศใช้แบ้วจะมีผลบังคับทันที่ ดดยมีคณะกรรมาธิการทำหน้าที่ังับให้รัฐสมาชิกทั้งหลายปฏิบัติตาม หน้าที่ประการต่อมาคือการทำหน้าที่ประสานนโยบายเศราฐกิจกับประเทศสมชิก และหน้าที่ ที่สำคัญคือเป็นองค์กรที่มีอำนาจในการทำหความตกลงระหว่างประเศ หลังจากที่คณะกรรมาธิการยุโรปได้ดำเนินการเจรจา เมื่อสภาคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้วว และได้ลงนามในความตกลงแล้วจะมีผลบังคับสถาบันต่างๆ ของสหภาพยุโรปและ รัฐสมาชิกทั้งหลายโดยรวมและ แต่ละรัฐด้วย นอกจากนี้ก็มีหน้าที่ในการอนุมัติงบประมารของสหภาพยุโรป มีหน้าที่พัฒนานโยบายต่างประเทศ และ หน้าที่ในด้านงานยุติธรรมและ กิจการภายใน
3. คณะกรรมธิการยุโรป The European Commission ซึ่งเป้นฝ่ายบริหาร และบริการทั่วไปของสหภาพยุดรป และที่สำคัญสภายุโรปเป็นสถบนเียวที่มีอำนาจในการเสนอกฎหมาย และรับผิดชอบงาน
ด้านกฎหมายของสหภาพยุโรป ทั้งในรูปของ เลคกูเลชั่น, ได้เรคทีฟ และ ดีไซด์ชั่น ที่เห็นชอบโดย สภายุโรป และสภารัฐมนตรียุโรป คณะกรรมาธิการยุโรปทำหน้าที่ปกป้อง หรือทำให้สนธิสัญญามีผลบังคับใช้ นอกจากนี้ยังทำงานร่วมกับศาลยุติธรรมยุโรป ในส่วนของความร่วมมือระหว่างประเทศนอกกลุ่มสหภาพนั้น คณะกรรมะิการยุดรปทำหน้าที่เจรจความตกลง และสนธิสัญญา ทั้งหลาย
คณะกรรมาธิการยุโรปประกอบด้วยสมชิก 25 คน โดยรัฐบาลของแต่ละประเทศสมาชิกแต่งตั้งเข้ามา ดำรงตำแหน่งวาระ 5 ปี เมื่อครบวาระแล้วสามารถได้รับการแต่งตั้งเข้ามาหใา่ได้ กรรมาธิการนี้จะต้องดำรงตำแหน่งทางการเมืองระดับสูง หรือ เป็นรัฐมนตรีในคณะรัฐบาล และเมื่อได้รับการแต่างตั้งเป็นกรรมาธิการแล้วจะต้องทำหน้าที่เพื่อสหภาพยุโรปโดยรวม และเป็นอิสระจากรัฐของตน เพราะคณะกรรมาธิการ เป็นองค์กรของสหภาพยุโรป จึงทำหน้าที่ปกป้องผลประโยชน์ของสหภาพโดยรวมเท่นานั้นไม่ใช่เพื่อผลประโยชน์ของรัฐสมาชิกมีสภายุโรปเท่านั้นสามารถให้คณะกรรมาธิการออกจากำหแหน่งทั้งคณะ การออกเสียงของคณะกรรมาธิการใช้ระบบเสียงข้างมากเป็นหลัก
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการ โดยสรุป คือ อำนาจในการเสนอร่างข้อบัญญัติ ข้อกูหมาย กล่าวคือมีอำนาจทำคำแนะนำ หรือความเห็น ดังนั้นคณะกรรมาธิการมีหน้าที่จัดทำข้อเสนอ ขอ้อบัญญัติต่างๆ ต่อสภารัฐมนตรีเพื่อขอความเห็นชอบ เมื่อสภามนตรีเห็นชอบแล้วคณะกรรมาธิการสามารถออกคำสั่ง เพื่อดำเนินการตามวัตถุประสงค์ไ้ หร้าที่ประการ่อไป คือ หน้าที่ในการบริหารงานตามนโยบายและภายในงบประมาณของสหภาพยุโรป ซึ่งมี 2 ประเภท คือ อำนาจที่สนธิสัญญามอบให้โดยเฉพาะ และอำนาจที่สภารัฐมนตรีมอบให้เพื่อบริหารตามคำสั่งขอบงสภารัฐมนตรี ซึ่งมีแต่อำนาจในการออกคำสั่งเท่านั้น การบริหารคำสั่งนี้ปฏิบัติในระดับประเทศ และ ระดับท้องถ่ิน คณะกรรมาธิการดำเนินงานภายใต้การสอดส่องของคณะผุ้ตรวจสอบบัญชีแห่งยุโรปด้วยนอกจากนี้คณะกรรมาธิการยังมีหน้าที่เป็นผุ้แทนในการเจรจาความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างประเทศนอกกลุ่ม และอำนาจในกาพิทักษ์กฎหมายของสหภาพยุโรป กล่าวคือ คณะกรรมาธิการกับศาลยุติธรรมจะร่วมกันรับผิดชอบทำให้กฎหมาวยของสหภาพมีประสิทธิภาพในการนไปบังคับใช้
รัฐมนตรีฝ่ายกิจการต่างประเทศ คณะกรรมาธิการยุโรป จะเกี่ยวพันกับรํบมนตรีฝ่ายกิจการต่างประเทศ ในส่วนทีเีก่ยข้องกับกิจการต่างประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีฝ่ายกิจการต่างประเทศ ทำหน้าที่รอบประธานคณะกรรมาธิการยุดรป และเป็นผู้แทนของคณะมนตรียุโรปในการกำหนดนโยบายร่วมด้านต่างประเทศและความมั่นคง ของสหภาพยุโรปเท่าน้น และเป้นผู้แทนสหภายในกาเจรจาทางการเมือง รัฐผิดชอบด้านการทุตกับผุ้แทนของประเทศทั่วโลก รัฐมนตรีฝ่ายกิจการต่างประเทศนี้ได้รับการแต่างตั้งดยคณะในตรียุโรปด้วยการลงมติเสียงข้างมากพิเศษ ด้วยความเห็นชอบของประธานคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป และโดยความเห็นชอบองสภายุโรปด้วย นอกจากนี้ในแง่องค์กร สหภายพยุโรปยังได้จัดตั้ง ศูนย์บริการวิเทศน์สัมพันะ์แห่งสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางช่วยเหลืองานของรัฐมนตรีฝ่ายกิจการต่างประเทศด้วย
4.สภายุโรป The European Parliament พลเมืองของประเทศสมาชิกทั้งหมดของสหภาพยุโรปมีสิทธิในการเลือกตั้งสมาชิกสภายุโรปโดยวิธีเลือกตั้งตรง และทั่วไป ทั้งนี้ตามมาตรา 138 แห่งสนธิสัญญากรุงโรมได้บัญญํติวไว่ "สภาจะร่างข้อเสนอสำหรับการเลือกตั้งทั่วไปโดยตรงให้เป็นไปตามกระบวนการอย่งเดียวกันของประเทศสมาชิกทุกประเทศ" การเลือกตั้งครั้งแรกกระทำขึ้นะมื่อ วันที่ 7-10 มิถุนยน ค.ศ.1979 การเลื่อกตั้งทั่วไปเป็นการเลือกตั้งโตตรงด้วยการลงคะแนนิสระและลับ พลเมืองของสหภาพยยุโรปจะเลือกผู้แทนของประเทศตนให้ดำรงตำแหน่งในวาระคราวละ 6 ปี ทั้งนี้ตามมาตรา 1-20 และมาตรา III - 330 แห่งธรรมนูญยังบัญญัติให้การดำเนินการเลือกตั้งสมาชิกสภายุโรปสอดคล้องกับกระบวนการเลือกตั้งที่มีอยู่แล้วในแต่ละประเทศสมชิกจะมีจำนวนที่น่งในสภไม่เท่ากัน โยประเทศที่มีที่นั่งสูงสุด คือ ไม่เกิน 96 ที่นั่ง และที่นั่งต่ำสุด คือ 6 ที่นั่ง
อำนาจของสภายุโรปจะถูกบัญญัติไว้ในมาตรา 137 แห่งสธิสัญญาประชาคมยุโรป วึ่งมีอำนาจหน้าที่สำคัญอยู่ 3 ประการ คือ อำนาจในการควบคุม อำนจทางนิติบัญญํติ อำนาจในการตรวจสอบการใช้จ่าย ดังรายละเอียดโดยสังเขปดังต่อไปนี้
อำนาจในการควบคุมดุแลการบริหารงานของคณะกรรมาธิการ และสภายุโรปมีอำนาจในการลงมติไม่ไว้วงางใจคณะกรรมาธิการโดยต้องได้รับคะแนนเสียงสนับสนุนไม่น้อยกว่าสองในสามของสมาชิกที่มาออกเสียง ซึ่งจะมีผลให้คณะกรรมาธิการต้องละออกทั้งคณะ
ส่วนอำนาจในทงนิติบัญญัติ คือกระบวนการตัดสินใจร่วม ระหว่างสภายุโรปและสภรัฐมนตรีในการให้ความเห็นชอบกฎข้อลบังคับต่างๆ เืพ่อนำมาใช้บังคับแก่ประเทศสมาชิก สภายุโรปมีอำนาจในการให้คำปรึกษาและเห็นชอบในการร่วงกฎหมายทั้งปวงที่คณะกรรมาะิการเสนอก่อนที่จะผ่านให้สภารัฐมนตรีอนุมัติสภายุโรปยังมีอำนาจจัดให้มีการอภิปรายและเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจขอคณะกรรมาธิการ หรือสภารัฐมนตรีในปัญหาสำคัญต่างๆ หรือในการติดต่อสัมพันธ์กับต่างประเทศและอำนาจในการตรวจสอบการใช้จ่ายนั้นสภายุโรปมีอำนาจตรวจสอบการใช้จ่ายของคณะกรรมธิการโดยมีการแต่างตั้งคณะอนุกรรมาธิการให้ทำงานใกล้ชิดกับคณะผู้ตรวจสอบบัญชี สภายุโรปมีอำนาจในการพิจารณางบประมาณทั้งหมดของสหภาพร่วมกับสภารัฐมนตรีด้วย
5. ศาลยุติธรรมยุโรป Court of Justice of the European Union ศาลยุติธรรมยุโรปได้รับการก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1961 โดยสนธิสัญญาปารีสที่ก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กล้าแห่งยุดรป ต่อมาสนธิสัญญากรุงโรม ค.ศ. 1958 ได้บัญญัติให้ประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้ายุโรป ประชาคมเศราฐกิจยุโรป และประชคมพลังงานปรมาณูแห่งยุโรปอยู่ภายใต้ศาลยุติธรรมเดียวกันศาลยุติธรรมยุโรป มีอำนาจในการพิจารณาคดีต่างๆ ระหว่งองค์กรของสหภาพยุโรปและรัฐสมาชิก ตลอดจนให้คำแนะนำปรึกาทงกฎหมายแก่รัฐสมาชิก เอกชน องค์กรต่างๆ
องค์ประกอบของศาลยุติธรรมยุโรป คือ ศาลสูงสุดแห่งสหภาพยุโรป "ศาลยุติธรรมแห่งยุโรป" นอกจากนี้ยังมีศาลชำนัฐพิเศษ โดยถือว่าศาลชำนัญพิเศษเป็นส่วนหจ่งของศาลช้นต้น
ศาลสูงหรือศาลยุติธรรมแห่งยุโรปประกอบด้วยองคคณะผู้พิพากษาจำนวน 27 คน ซึ่งได้รับการแต่างตั้งมาจากประเทศสมาชิกประเทศละ 1 คน มีอัยการ 8 คน ซึ่งได้รับเลือกตั้งมาจากผู้มีความรู้ ความสารมาถทางกฎหมายจากรัฐสมาชิก ทั้งผุ้พิพากษาและอัยการดำรงตำแหน่งในวาระคราวละ 6 ปีเมือครอบวาระแล้วสามารถได้รับเลือกตั้งเข้ามใหม่ได้ ผู้พิพากษาหัวหร้าคณะได้รับเลือกตั้งจากบรรดาผู้พิพากษาทั้งหมด และ ดำรงตำแหน่งในวาระได้ 3 ปี ศาลยุติธรรมมีจ่าศาล 1 คน ทำหน้าที่เลขาธิการท่วไปของศาลจ่าศษลได้รับเลือกตั้งจากผุ้พิพากษาและอัยการร่วมกันโดยดำรงตำแหน่งในวาระได้ 6 ปี
ศาลยุติธรรมจะนั่งพิจารณาคดีเต็มอง์คณะจำนวน 13 คน ในกรณีที่มีข้อพิพาทที่มีความซับซ็อนในคดีที่องค์กร หรือ สถบันต่าง ๆของสหภาพยุโรปพิพาทกันด้วยเรื่องที่สำคัญและได้รับการร้องขอให้พิจารณาเต็มองค์คณะ ส่วนคดีทั่วไป อื่นๆ ต้องมีผุ้พิพากษาอย่างต่ำจำนวนองค์คณะ 3-5 คน ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในองคคณะ 5 คน จะไดรับการเลือกตั้งดำรงตำแหน่งวาระละ 3 ปี สำหรับหัวหน้าคณะในองค์คณะ 3 คน จะได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งตราวละ 1 ปี
ศาลชั้นต้นประกอบด้วยผู้พิพากษาจำนวน 25 คน ซึ่งประเทศสมาชิกส่งมาประจำประเศละ 1 คน โดยดำรงตำแหน่งคราวละ 6 ปี และผู้พิพากษาเหล่านี้โดยความเห็นชอบของแต่ละประเทศสมาชิกจะเลือกตั้งผุ้ดำรงตำแหน่งประธานคณะผู้พิพากษา ซึ่งจะดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี ในศาลชั้นต้นจะไม่มีการแต่างตั้งอัยการประจำศาล องค์คณะของผู้พิพากษามีเพียง 3-5 คน หรือ ในบางกรณีสามารถนั่งพิจารณาคดีเพียงคนเดียวได้ศาลบชั้นต้นจะแต่างตั้งจ่าศาล และดำรงตำแหนงในวารคราวละ 6 ปี...
- บางส่วนจาก บทความ "สหภาพยุโรปกับวิวัฒนาการในการรวมตัวทางเศรษฐกิจ" โดย ลาวัณย์ ถนัดศิลปกุล.
โครงสร้างของสหภาพยุโรป สหภาพยุโรปมีสถาบันหลักที่สำคัญ 5 สถาบัน คือ
1. คณะมนตรีแห่งยุโรป The European Council
2. สภารัฐมนตรี The Council of Ministers
3. คณะกรรมาธิการยุโรป The European Commission
4. สภายุโรป The European Parliament
5. ศาลยุติธรรมยุโรป The Court of Justice of the European Union
1. คณะมนตรีแห่งยุโรป The European Council
คณะมนตรีแห่งยุโรป หรือ ที่ประชุมสุดยอดแห่งยุโรป เป็นที่ประชุมของประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสมาชิกทุกประเทศของสหภาพยุโรป คณะมนตรีแห่งยุโรปมีหน้าที่ดำเนินมาตรการต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาสหภาพยุโรป และ กำหนดแนวนโยบายความัมพันะ์กบประเทศนอกกลุ่มสมาชิกโดยมีสถาบันอื่นๆ เช่นคณะกรรมาธิการยุโรป สภาพยุโรป และสภารัฐมนตรี เป้ฯสถาบัทีปฏิบัติการเพื่อให้เป้นไปตามนโยบายของคณมนตรียุโรป
ธรรมนูญแห่งยุโรปได้กำหนดให้ ำสั่ง ของสหภาพยุโรปในบางเรื่องจะต้องดำเนินการโดยคณะมนตรีแห่งยุโรป นอกจากนี้คณะมนตรีแห่งยุโรป ยังมีบทบาทในการเสนอชื่อบุคคลที่เหมาะสมให้ดำรงตำแหน่งต่างๆ โดยเสนอให้สภาแห่งยุโรปพิจารณา แต่คณะในตรีแห่งยุโรปไม่มีอำนาจในทางนิติบัญญัติดังนั้นกฎ ข้อบังคับต่างๆ ของสหภาพยุโรป จะถูกบัญญัติขึ้นโดยสภารัฐมนตรี ด้วยความเห็นชอบของสภายุโรปแต่คณะมนตรีแห่งยุโรปมีอำนาจในการคัดค้านบทบัญญัติบางข้อได้ เฉพาะข้อที่อนุญารไว้ในรัฐธรรมนูญ ที่เรียกว่าการระงับโดยฉุกเฉิน นอกจากนี้ ธรรมนูญเพื่อยุโรปยังบัญญัติว่ คำสั่ง ของคณะมนตรีแห่งยุโรปจะต้องได้รับความเห้นชอบโดยมติเอกฉันท์ เว้นแต่มธรรมนูญแห่งยุโรปบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น
คณะมนตรีแห่งยุโรปเป็นเวทรหลักในการประสานความร่วมมือระห่างรัฐบาลของประเทศสมาชิกเพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤติการณ์ระหว่าประเทศอย่างมประสิทธิภาพ โดยผลของการประชุมที่เมืองนี้ส คณะมนตรีแห่งยุโรปได้ลงมติจัดตั้งองค์การถาวรทางการเมือง และ การทหารภายในสภารัฐมนตรีแห่งยุโรป องค์กรดังกล่าวคือ
- คณะกรรมการ การเมือง และความมั่นคง
- คณะกรรมการ การทหารของสหภาพยุโรป
- เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติการทางทหารของสหภาพยุโรป
2. สภารัฐมนตรีแห่งสหภาพยุโรป The Council of Ministers สภารัฐมนตรีแห่งสหภายยุดรประกอบด้วยผุ้แทนจากประเทศสมาชิกในระดับรัฐมนตรี ทีอำนาจในการตัดสินใจและ ทำหน้าที่ด้านนิติบัญญัติร่วมกับสภายุโรป ดูแลเรื่องงบประมาณ และเป็นองค์กรประสานงานการประชุมของสภารัฐมนตรีแหงสหภายยุโรป ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกที่มาประชุมในเรื่องต่างๆ ซึ่งปกติแล้วจะเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ แต่ อาจจะเป็นรัฐมนตรีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่มาประชุมการออกเสียงของสภารัฐมนตรจะใช้มติเสียงข้างมากพิเศษ ประเทศสมาชิกจะมีเสียงไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับจำนวนประชากรของแต่ละประเทศ นอกจากนั้นยังเป็นผู้แทนในระัดบคณะทำงาน เอกอัครราชทูตและ ระดับรัฐมนตรีค่างๆ ว฿่งมีอยู่ 9 คณะ คือ
- คณะรัฐมนตรีว่าด้วยกิจการทั่วไป และความสัมพันธ์ภายนอก
- คณะมนตรีว่าด้วยเศรษฐกิจและการเงิน
- คณะมนตรีว่าด้วยงานยุติธรรมและกิจการภายในประเทศ
- คณะมนตรีว่าดวยการจ้างงาน นโยบายสังคม สุขภาพ และผู้บริโภค
- คณะมนตรีว่าด้วยการแข่งขันทางด้านตลาอดภายใน อุตสาหกรรมและ การวิจัย
- คณะมนตรีว่าด้วยการขนส่ง การสื่อสารโทรคมนาคม และพลังงาน
- คณะมนตรีว่าด้วยการเกษตรกรรม และการประมง
- คณะมนตรีว่าด้วยสิ่งแวดล้อม
- คณะมนตรีว่าด้วยการศึกษา เยาวชน และวัฒนธรรม
สภารัฐมนตรีแห่งยุโรป มีหน้าที่สำคัญโดยสรุป คือ ออกกฎ ขอ้บัญญัติต่างดๆ ของสหภาพยุโรป กล่าวคือ มีอำนาจในการออกคำสั่ง ข้อบังคับ และข้อกำหนดนับว่าสภารัฐมนตรีเป็องค์กรที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติของสหภาพยุโรป ทั้งนี้โดยความเห้ฯชอบของสภายุโรป และนำเสนอคณะกรรมาธิการ ซึ่งข้อบัญญัติเหล่านี้เมื่อประกาศใช้แบ้วจะมีผลบังคับทันที่ ดดยมีคณะกรรมาธิการทำหน้าที่ังับให้รัฐสมาชิกทั้งหลายปฏิบัติตาม หน้าที่ประการต่อมาคือการทำหน้าที่ประสานนโยบายเศราฐกิจกับประเทศสมชิก และหน้าที่ ที่สำคัญคือเป็นองค์กรที่มีอำนาจในการทำหความตกลงระหว่างประเศ หลังจากที่คณะกรรมาธิการยุโรปได้ดำเนินการเจรจา เมื่อสภาคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้วว และได้ลงนามในความตกลงแล้วจะมีผลบังคับสถาบันต่างๆ ของสหภาพยุโรปและ รัฐสมาชิกทั้งหลายโดยรวมและ แต่ละรัฐด้วย นอกจากนี้ก็มีหน้าที่ในการอนุมัติงบประมารของสหภาพยุโรป มีหน้าที่พัฒนานโยบายต่างประเทศ และ หน้าที่ในด้านงานยุติธรรมและ กิจการภายใน
3. คณะกรรมธิการยุโรป The European Commission ซึ่งเป้นฝ่ายบริหาร และบริการทั่วไปของสหภาพยุดรป และที่สำคัญสภายุโรปเป็นสถบนเียวที่มีอำนาจในการเสนอกฎหมาย และรับผิดชอบงาน
ด้านกฎหมายของสหภาพยุโรป ทั้งในรูปของ เลคกูเลชั่น, ได้เรคทีฟ และ ดีไซด์ชั่น ที่เห็นชอบโดย สภายุโรป และสภารัฐมนตรียุโรป คณะกรรมาธิการยุโรปทำหน้าที่ปกป้อง หรือทำให้สนธิสัญญามีผลบังคับใช้ นอกจากนี้ยังทำงานร่วมกับศาลยุติธรรมยุโรป ในส่วนของความร่วมมือระหว่างประเทศนอกกลุ่มสหภาพนั้น คณะกรรมะิการยุดรปทำหน้าที่เจรจความตกลง และสนธิสัญญา ทั้งหลาย
คณะกรรมาธิการยุโรปประกอบด้วยสมชิก 25 คน โดยรัฐบาลของแต่ละประเทศสมาชิกแต่งตั้งเข้ามา ดำรงตำแหน่งวาระ 5 ปี เมื่อครบวาระแล้วสามารถได้รับการแต่งตั้งเข้ามาหใา่ได้ กรรมาธิการนี้จะต้องดำรงตำแหน่งทางการเมืองระดับสูง หรือ เป็นรัฐมนตรีในคณะรัฐบาล และเมื่อได้รับการแต่างตั้งเป็นกรรมาธิการแล้วจะต้องทำหน้าที่เพื่อสหภาพยุโรปโดยรวม และเป็นอิสระจากรัฐของตน เพราะคณะกรรมาธิการ เป็นองค์กรของสหภาพยุโรป จึงทำหน้าที่ปกป้องผลประโยชน์ของสหภาพโดยรวมเท่นานั้นไม่ใช่เพื่อผลประโยชน์ของรัฐสมาชิกมีสภายุโรปเท่านั้นสามารถให้คณะกรรมาธิการออกจากำหแหน่งทั้งคณะ การออกเสียงของคณะกรรมาธิการใช้ระบบเสียงข้างมากเป็นหลัก
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการ โดยสรุป คือ อำนาจในการเสนอร่างข้อบัญญัติ ข้อกูหมาย กล่าวคือมีอำนาจทำคำแนะนำ หรือความเห็น ดังนั้นคณะกรรมาธิการมีหน้าที่จัดทำข้อเสนอ ขอ้อบัญญัติต่างๆ ต่อสภารัฐมนตรีเพื่อขอความเห็นชอบ เมื่อสภามนตรีเห็นชอบแล้วคณะกรรมาธิการสามารถออกคำสั่ง เพื่อดำเนินการตามวัตถุประสงค์ไ้ หร้าที่ประการ่อไป คือ หน้าที่ในการบริหารงานตามนโยบายและภายในงบประมาณของสหภาพยุโรป ซึ่งมี 2 ประเภท คือ อำนาจที่สนธิสัญญามอบให้โดยเฉพาะ และอำนาจที่สภารัฐมนตรีมอบให้เพื่อบริหารตามคำสั่งขอบงสภารัฐมนตรี ซึ่งมีแต่อำนาจในการออกคำสั่งเท่านั้น การบริหารคำสั่งนี้ปฏิบัติในระดับประเทศ และ ระดับท้องถ่ิน คณะกรรมาธิการดำเนินงานภายใต้การสอดส่องของคณะผุ้ตรวจสอบบัญชีแห่งยุโรปด้วยนอกจากนี้คณะกรรมาธิการยังมีหน้าที่เป็นผุ้แทนในการเจรจาความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างประเทศนอกกลุ่ม และอำนาจในกาพิทักษ์กฎหมายของสหภาพยุโรป กล่าวคือ คณะกรรมาธิการกับศาลยุติธรรมจะร่วมกันรับผิดชอบทำให้กฎหมาวยของสหภาพมีประสิทธิภาพในการนไปบังคับใช้
รัฐมนตรีฝ่ายกิจการต่างประเทศ คณะกรรมาธิการยุโรป จะเกี่ยวพันกับรํบมนตรีฝ่ายกิจการต่างประเทศ ในส่วนทีเีก่ยข้องกับกิจการต่างประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีฝ่ายกิจการต่างประเทศ ทำหน้าที่รอบประธานคณะกรรมาธิการยุดรป และเป็นผู้แทนของคณะมนตรียุโรปในการกำหนดนโยบายร่วมด้านต่างประเทศและความมั่นคง ของสหภาพยุโรปเท่าน้น และเป้นผู้แทนสหภายในกาเจรจาทางการเมือง รัฐผิดชอบด้านการทุตกับผุ้แทนของประเทศทั่วโลก รัฐมนตรีฝ่ายกิจการต่างประเทศนี้ได้รับการแต่างตั้งดยคณะในตรียุโรปด้วยการลงมติเสียงข้างมากพิเศษ ด้วยความเห็นชอบของประธานคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป และโดยความเห็นชอบองสภายุโรปด้วย นอกจากนี้ในแง่องค์กร สหภายพยุโรปยังได้จัดตั้ง ศูนย์บริการวิเทศน์สัมพันะ์แห่งสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางช่วยเหลืองานของรัฐมนตรีฝ่ายกิจการต่างประเทศด้วย
4.สภายุโรป The European Parliament พลเมืองของประเทศสมาชิกทั้งหมดของสหภาพยุโรปมีสิทธิในการเลือกตั้งสมาชิกสภายุโรปโดยวิธีเลือกตั้งตรง และทั่วไป ทั้งนี้ตามมาตรา 138 แห่งสนธิสัญญากรุงโรมได้บัญญํติวไว่ "สภาจะร่างข้อเสนอสำหรับการเลือกตั้งทั่วไปโดยตรงให้เป็นไปตามกระบวนการอย่งเดียวกันของประเทศสมาชิกทุกประเทศ" การเลือกตั้งครั้งแรกกระทำขึ้นะมื่อ วันที่ 7-10 มิถุนยน ค.ศ.1979 การเลื่อกตั้งทั่วไปเป็นการเลือกตั้งโตตรงด้วยการลงคะแนนิสระและลับ พลเมืองของสหภาพยยุโรปจะเลือกผู้แทนของประเทศตนให้ดำรงตำแหน่งในวาระคราวละ 6 ปี ทั้งนี้ตามมาตรา 1-20 และมาตรา III - 330 แห่งธรรมนูญยังบัญญัติให้การดำเนินการเลือกตั้งสมาชิกสภายุโรปสอดคล้องกับกระบวนการเลือกตั้งที่มีอยู่แล้วในแต่ละประเทศสมชิกจะมีจำนวนที่น่งในสภไม่เท่ากัน โยประเทศที่มีที่นั่งสูงสุด คือ ไม่เกิน 96 ที่นั่ง และที่นั่งต่ำสุด คือ 6 ที่นั่ง
อำนาจของสภายุโรปจะถูกบัญญัติไว้ในมาตรา 137 แห่งสธิสัญญาประชาคมยุโรป วึ่งมีอำนาจหน้าที่สำคัญอยู่ 3 ประการ คือ อำนาจในการควบคุม อำนจทางนิติบัญญํติ อำนาจในการตรวจสอบการใช้จ่าย ดังรายละเอียดโดยสังเขปดังต่อไปนี้
อำนาจในการควบคุมดุแลการบริหารงานของคณะกรรมาธิการ และสภายุโรปมีอำนาจในการลงมติไม่ไว้วงางใจคณะกรรมาธิการโดยต้องได้รับคะแนนเสียงสนับสนุนไม่น้อยกว่าสองในสามของสมาชิกที่มาออกเสียง ซึ่งจะมีผลให้คณะกรรมาธิการต้องละออกทั้งคณะ
ส่วนอำนาจในทงนิติบัญญัติ คือกระบวนการตัดสินใจร่วม ระหว่างสภายุโรปและสภรัฐมนตรีในการให้ความเห็นชอบกฎข้อลบังคับต่างๆ เืพ่อนำมาใช้บังคับแก่ประเทศสมาชิก สภายุโรปมีอำนาจในการให้คำปรึกษาและเห็นชอบในการร่วงกฎหมายทั้งปวงที่คณะกรรมาะิการเสนอก่อนที่จะผ่านให้สภารัฐมนตรีอนุมัติสภายุโรปยังมีอำนาจจัดให้มีการอภิปรายและเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจขอคณะกรรมาธิการ หรือสภารัฐมนตรีในปัญหาสำคัญต่างๆ หรือในการติดต่อสัมพันธ์กับต่างประเทศและอำนาจในการตรวจสอบการใช้จ่ายนั้นสภายุโรปมีอำนาจตรวจสอบการใช้จ่ายของคณะกรรมธิการโดยมีการแต่างตั้งคณะอนุกรรมาธิการให้ทำงานใกล้ชิดกับคณะผู้ตรวจสอบบัญชี สภายุโรปมีอำนาจในการพิจารณางบประมาณทั้งหมดของสหภาพร่วมกับสภารัฐมนตรีด้วย
5. ศาลยุติธรรมยุโรป Court of Justice of the European Union ศาลยุติธรรมยุโรปได้รับการก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1961 โดยสนธิสัญญาปารีสที่ก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กล้าแห่งยุดรป ต่อมาสนธิสัญญากรุงโรม ค.ศ. 1958 ได้บัญญัติให้ประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้ายุโรป ประชาคมเศราฐกิจยุโรป และประชคมพลังงานปรมาณูแห่งยุโรปอยู่ภายใต้ศาลยุติธรรมเดียวกันศาลยุติธรรมยุโรป มีอำนาจในการพิจารณาคดีต่างๆ ระหว่งองค์กรของสหภาพยุโรปและรัฐสมาชิก ตลอดจนให้คำแนะนำปรึกาทงกฎหมายแก่รัฐสมาชิก เอกชน องค์กรต่างๆ
องค์ประกอบของศาลยุติธรรมยุโรป คือ ศาลสูงสุดแห่งสหภาพยุโรป "ศาลยุติธรรมแห่งยุโรป" นอกจากนี้ยังมีศาลชำนัฐพิเศษ โดยถือว่าศาลชำนัญพิเศษเป็นส่วนหจ่งของศาลช้นต้น
ศาลสูงหรือศาลยุติธรรมแห่งยุโรปประกอบด้วยองคคณะผู้พิพากษาจำนวน 27 คน ซึ่งได้รับการแต่างตั้งมาจากประเทศสมาชิกประเทศละ 1 คน มีอัยการ 8 คน ซึ่งได้รับเลือกตั้งมาจากผู้มีความรู้ ความสารมาถทางกฎหมายจากรัฐสมาชิก ทั้งผุ้พิพากษาและอัยการดำรงตำแหน่งในวาระคราวละ 6 ปีเมือครอบวาระแล้วสามารถได้รับเลือกตั้งเข้ามใหม่ได้ ผู้พิพากษาหัวหร้าคณะได้รับเลือกตั้งจากบรรดาผู้พิพากษาทั้งหมด และ ดำรงตำแหน่งในวาระได้ 3 ปี ศาลยุติธรรมมีจ่าศาล 1 คน ทำหน้าที่เลขาธิการท่วไปของศาลจ่าศษลได้รับเลือกตั้งจากผุ้พิพากษาและอัยการร่วมกันโดยดำรงตำแหน่งในวาระได้ 6 ปี
ศาลชั้นต้นประกอบด้วยผู้พิพากษาจำนวน 25 คน ซึ่งประเทศสมาชิกส่งมาประจำประเศละ 1 คน โดยดำรงตำแหน่งคราวละ 6 ปี และผู้พิพากษาเหล่านี้โดยความเห็นชอบของแต่ละประเทศสมาชิกจะเลือกตั้งผุ้ดำรงตำแหน่งประธานคณะผู้พิพากษา ซึ่งจะดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี ในศาลชั้นต้นจะไม่มีการแต่างตั้งอัยการประจำศาล องค์คณะของผู้พิพากษามีเพียง 3-5 คน หรือ ในบางกรณีสามารถนั่งพิจารณาคดีเพียงคนเดียวได้ศาลบชั้นต้นจะแต่างตั้งจ่าศาล และดำรงตำแหนงในวารคราวละ 6 ปี...
- บางส่วนจาก บทความ "สหภาพยุโรปกับวิวัฒนาการในการรวมตัวทางเศรษฐกิจ" โดย ลาวัณย์ ถนัดศิลปกุล.
วันพฤหัสบดีที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2561
Cultural heritage of The European Union
มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน ข้อคิดจากสหภาพยุโรปถึงเอาเซียน
ตามข้อมูลของยูเนสโก สหภาพยุโรป หรอที่เรียกกันติดปากว่า "อียู" มีมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน ที่เป็นมรดกดลกมากว่าภูมิภาคอื่นๆ ในโลก มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนน้หมายถึง มรดกวัฒนธรรม หรือมรดกทางธรรชาติที่มีอาณาบิรเวณตังอยู่ในประเทศมากกว่าหนึ่งประเทศขึ้นไปโดยบริเวณส่วนหน่งของมรดกวัฒนธรรมนั้น ถ้าตั้อยู่ในประเทศใดก็ถือว่าเป็นดินแดนของประเทศนั้น
มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนนี้ ฟังดูแล้วไม่ได้เป็นเพียงสิ่งประหลาดสำหรัฐประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในเอเชียเท่านั้น เผลอๆ อาจเป็นส่ิงีที่หลายคนอย่ากให้เกิดขึ้นแต่ไม่กล้าฝันและลงมือและผุ้คนอีกจำนวนมากอาจสบถและไม่แยแสกับมันแม้แต่วินาที่เีดยวเนื่องจากแนงคิดชาตินิยมข้ามศตวรรษที่ตกทอดมาตั้อต่ศตวรรษที่ 19 ทั้งแบบบ้านๆ และแบบสุดโต่ง ทำให้จิตนาการเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรมของคนเหล่านี้ลีเรียวอยุ่ในรูปแบบของมรดกแห่งชาติเท่านั้น
มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแกนของสหภาพยุโรปในปัจจุบันเกิดจากสองลักษณะ คือ
1. มรดกวัฒนธรรมทีมีมาก่อนการเกิดรัฐชาติและการสร้างเขตแดนของรัฐชาติ แต่เมื่อเกิดรัฐชาติในยุโรป มรดกวัฒนธรรมเหล่านี้ถูกแบ่งออกสวนๆ ตามเขตแดนของรัฐสมัยใหม่ ตัวอย่งเช่น สวนมุสเคาซึ่ง ตั้งอยุ่ระหว่างประเทศโปแลนด์และเยอรมนี
2. มรดกทางวัฒนธรรมข้ามพรมแดนที่เกิดจากการเชื่อมโยงรากเหล้าทางวัฒนธรรมและศิลปะของโบราณสถานที่มีลักษณะคล้ายกันซึ่งตั้งอยู่ในประเทศต่างๆ ว่าเป้นกลุ่มมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน(ประเทศหรือรัฐชาติ) เช่น กลุ่มหอระฆัง จำนวนมากที่ตั้งอยุ่ในฝรั่งเศสและในเบลเยี่ยมซึ่งไ้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก และยูเนสโกจัดให้เป้นมรดกวัฒนธรรมี่ถือว่ามีลักาณะพิเศษเป็นมรดกวัฒนธรมช้ามพรมแดน
มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนทั้งสองลักษณะข้างต้น เป็นผลมาจากจินตนาการเกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรมที่อยุ่นอกรอบแนวคิดมรดกชาติ ซึ่งกรณีของสหภาพยุโรปนั้นเกิดจากพัฒนาการของสหภาพยุโรปที่ก่อให้เกิดแนวคิดข้ามพรมแดนทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรม
ก้าวข้ามชาตนิยมและการเผชิญหน้า
การข้ามพรแดนทั้งภาคการเมือง เศราฐกิจและวัฒนธรรมของสหภาพยุโรปมีรากฐานมาจากความต้องการหลุดจากวังวนของชาตินิยมและการเปชิญหน้า ซึ่งต้องเท้าความไปถึงยุคการเกิดรัฐชาติในยุโรปว่าเป็นยุครักชาติแบบหลงผิดที่ยุโรปไปยึดครองบ้านเมืองคนอื่นเป็นอาณานิคมทั่วดลก เรื่อยมาจนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่นาซีเยอรมันทำลายบ้าง ฆ่าล้างเผ้าพันธ์ุชาวยิว และนอกจากนี้ประเทศอื่นๆ ยังรบกันจนวินาศสันตะโร
ผุ้คนในยุโรปจึงเกิดปัญญาว่า ความรักและคลั่งชาตินี่เองเป็นต้นเหตุของความตาย โศกนาฎกรรมและความพินาศ ส่งผลให้เกือบทุกภาคส่วนของสังคมมุ่งมั่นลงมือกำจัดความคลั่งชาติอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการยึดถือแนวคิดใหม่ที่มุ่งสู่การบูรณาการทางเศณาฐกิจและการเมืองเพื่อให้เกิดสันตถภาพที่ถาวร
การจัดการมรดกวัฒนธรรมและพรมแดนในอียูเป็นตัวอย่างที่ดีที่แสดงให้เห็นว่า การบูรณาการยุโรปต้องการหันหลังให้กับความคิดชาตินิยมในการดำเนินการทางการเมืองภายในระหว่างประเทศสมาชิก กล่าวคือ เน้นเรื่องความร่วมมือ กัประเทศเพื่อนบ้านซึ่งเป็นสมาชิกอียูด้วยกันมากว่าสร้างความขัดแย้ง และการเผชิญหน้า
การสร้างความร่วมมือเกี่ยวกับการจัดการมรดกวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในอียู คื อการเพ่ิมความหมายของมรดกวัฒนธรรมซึ่งเคยแต่เป็นตัวแทนลักษณะฉพาะของชาติ ให้ขยายเป็นตัวแทนของความเป็น "ยุโรป" และเป็นสากล ด้วยการใช้ระบบโลกาภิวัตน์โดยเฉาพะโครงการมรดกโลกของยูเนสโกให้เป็นประโยชน์
ความเป็นไปดังกล่าวเกิดขึ้นภายใต้ความพยายามจัดการเรื่องพรมแดนที่ลดความสำคัญของเตแดนระหว่างประเทศสมาชิก ด้วยการใช้แนวคิดปราศจากพรมแดน เพื่อให้เกิระบบตลาดเดียวภายในประเทศกลุ่มอียู และเกิดเป้าหมายสูงสุดในการบูรณาการทางเศราฐกิจ คือ การใช้ระบบเงินสกุลเดียวกันคือ เงินยูโร หรือที่่เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า มันเนแทรรี ยูเนี่ยน
แนวคิดปราศจากพรมแดนนี้มีลักษณะสำคัญ คือ
1) ไม่ได้แปลว่ เขตแดนระวางประเทศสมาชิกซึ่งเป็นรัฐชาติอีสระนั้นหายไป แต่ส่ิงที่เปลี่ยนไปคือ กระบวนคิดเกี่ยวกับเขตแดนและพรมแดน ความคิดว่าเขตแดนและเส้นเขตแดนที่เคยเป็นเส้นศกดิ์สิทธิ์ทั้งในจิตนาการและในแผนที่นั้น แปรสภาพมาให้ความสำคัญกับพรมแดนในฐานะเป้ฯเื้องที่พิเศษ คือ เป็นที่พบปะของผู้คนจากหลายประเทศ เป็นที่แลกเปลี่ยนกันทางวัฒณธรรมและสังคมเศณาฐกิจแทน
ทัศนะดังกล่าวเกิดจากแนวคิดว่ การยึดติดเขตแดนของชาติว่า เป็นเส้นศักดิ์สทิธิ์คือตัวปัญหา เป็นที่มาของความดิดชาตินิยม และความขัดแย้งนั้นเป็นอุปสรรคของการเกิดและการขยายโอกาสไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การลงทุน การเมือง การศึกษา หรือแม้แต่การสร้างและเติบโตของธุรกิจเกี่ยวกบมรดกวัฒนธรม หรือที่เรียกว่า อุตสาหกรรมมรดกวัฒนธรรม ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นและสร้างการเติบโตทางเศราฐกิจให้กับท้องถ่ินต่างๆ ในประเทศสมาชิก
2) ภายใต้แนวคิดปราศจากพรมแดนนี้ เขตแดนของชาติยังคงดำรงอยู่ แต่มฐานะเป็นเพียงตัวบ่งชี้ขอบเขตการทำงานของหน่วยงานรัฐบาลในแต่ละประเทศ ว่ามีขอบเขตการรับผิดชอบในด้านสาธารณูปโภค ด้านภาษีและการดูแลพละเมืองกว้างขวางเพียงใดเท่านั้น
3) ภายใต้แนวคิดนี้ เขตแดนแปรสภาพเป็นพรมแดนด้วยการทำให้การตรวจเช็คของด่านศุลกากรตามพรมแดนนั้นหายไปตามแนวคิดของการสร้างระบบตลาดเีดยวหรือตลาดร่วมยุโรป ซึ่งทำให้ประชาชนในกลุ่มประเทศอียูสามารถเดินทาง ทำงาน ลงทุน ศึกษาและย้ายถ่อฯบานไปในประเทศสมชิกต่างๆ ได้อย่างเสรี และนอกจากนี้ในกลุ่มประทเศสมาชิกซึ่งร่วมกันเซ็นสนธิสัญญาเซ็งเก้น บุคคลซึ่งเป็นพลเมืองของประเทศนอกกลุ่มอียูหรือศัพท์ทางการเรียกว่าบุคคลจากประเทศที่สาม ก็สามารถเดินทางในประเทศสมาชิกอียูที่ร่วมเซ้นสนธิสัญญาเซ็งเก้นได้อย่างอิสระ
สหภาพยุโรปและมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน
มรดกวัฒนธรรมไม่ว่าจะเป็นสถาปัตยกรรมเช่นโบสถ์ปราสาท หอระฆัง สวนภูมิทัศน์ เหมืองถ่านหินบ้านพักคนงานเหมืองหรืออื่นๆ ในแต่ละประเทศสมาชิกอียูนั้น แน่นอนว่าผ่านการประทับตราหรือการทำให้มีลักษณะเฉพาะของชาติ ดดยเกิดจาการวมมาดกท้องถ่ินไว้ใต้ร่มของวัฒนธรรมของชาติ โดยเกิดจากการรวมมรดกท้องถ่ินไว้ใต้ร่มของวัฒฯธรรมชาติ พร้อมๆ กับสร้างมาดกวัฒนธรรมใหม่ ๆ ผ่านกระบวนการผลิตความรู้ เช่น การศึกษาไม่ว่าจะเป็นด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะ ประวัติศาสตร์ หรือการ
ศึกษาทั่วไป และผ่านกระบวนการสร้างประเพณีและการบันเทิงใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับมรดกวัฒนธรรมเหล่านั้น
การเติบโตของอียูในช่วงสองทศวรษที่ผ่านมา แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของหน่วยทางการเมืองในยุโรปว่ามีหน่วยการเมืองที่เหนือชาติคือ "ยุโรป" หรือ อียู เพ่ิมเติมจากหน่วยทางการเมืองท้องถ่ินและรัฐชาติซ่งมีอยู่มาก่อนแล้ว ความเป็นไปดังหล่าวเก่ยวพันไปถึงมรดกวัฒนธรรมอยางเหลีกเลี่ยวงไม่ได้ อียูต้องการทำให้มรดกวัฒนธรรมทั้งหลายที่มีอยุ่แล้วสื่อวามเป็นยุโรป จึงดำเนินการสร้างความเป็นยุโรปหรือยูโรเปี้ยนไนเซชั่น มรดกวัฒนธรรมต่างๆ ด้วยกาทำให้มรดกทางวัฒนธรรมเหล่านี้เพ่ิมความสามารถในการแข่งขันในวงการอุตสาหกรรมมรดกวัฒนธรรมระดับภูมิภาคและโลก ด้วยกาดำเนินนโยบายวัฒนธรรมและนโบายภุมิภาค ที่ส่งเสริมให้เกิดความี่วมมือระหว่างประเทศามาชิกหลายประเทศเืพ่อรวมตัวกันเป็นเครือช่าย ร่วมกันคิดและสร้างโรงการมดกวัฒนธรรม ใหม่ๆ ที่เกิดจากการรวมกลุ่มรดกวัฒนธรรมชาติที่มลักษณะคล้ายกัน แล้วดึงลักษณะที่เป็นสากลมาคิดเป็นโครงการที่มีลักาณะสร้างสรรค์เพื่อับเงินสนับสนุนจาอียู ส่งเสริมให้เกิดความสร้างมาดกวัฒนธรรมใหา่ๆ จำนวนมหาศาล
กล่าวอีกนัยหนึ่ง กระบวนการยูโรเปี่้ยนไนเซชี่นของมรดกวัฒนธรรม คื อการส่งเสริมให้มีการสร้างและพัฒนโครงการมรดกวัฒนธรรมที่มีลักษณะข้ามชาติและพรมแดนนั่นเอง ซึ่งเท่ากับเป็นการเพิ่มมูลค่าทางเศณาฐกิจและการแข่งขันให้กับมรดกวัฒนธรรม ชาติด้วยการสร้างแพ็คเกจใหม่ในรูปแบบของมรดกวัฒนธรรมข้ามชาติหรือมีความเป็นยุโรปที่น่าตื่นเต้นกว่าแบบเดิม
กระบวนการยูโรเปี้ยนไนเซชั่นของมรดกวัฒนธรรมนี้ดำเนินการโดยไม่ได้ทวนกระแสโลกาภิวัตน์ คื อ มีการใช้การดำเนินการมรดกโลกของยูเนสโกในการสร้างและโฆษณามาดกวัฒนธรรมใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น นั่นคือ ยูโรเปี้ยนไนเซชั่นของมรดกวัฒนธรรมเตรียมความพร้อมในการพัฒนาโครงการมรดกวัฒนธรรมที่เน้นความร่วมมือข้ามพรมแดน ที่ส่งเสริมให้โครงการเหล่านี้ได้รับการคัดเลือกเป็นมรดกโลกและใช้ป้ายมรดกโลกในการส่งเสริมการท่องเที่ยวและพัฒนาท้องถ่ิน
สวนมุสเคา
ยูเนสโกประกาศให้เป็นมรดกโลกในปี ค.ศ. 2004 เป็นตัวอย่างความร่วมมือทางมรดกวัฒนธรรมแลพรมแดนระหว่างเยอมนีและโปแลนด์ซึ่งเป็นสมาชิกอียูที่น่าสนใจอย่างยิ่ง ดดยส่วนแห่งนี้เป็นสวนภูมิทัศน์ หรือ แลนด์สเคป ปาร์ค เป็นศิลปะแขนงใหม่ที่มีลักษณะเป็เสมือการวารูปด้วยการใชพรรณไม้ ทำให้เกิดสวนขนาดใหญ่เต็มไปด้วยไม่นานาพรรณกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม
สวนภูมิทัศน์มุสเคามีอาณาบริเวณกว้างขวางถึง 559 เฮคเตอร์ โดยมีแม่น้ำไนเซอร์ซึ่งเป็นเขตแดนธรรมชาิตระห่างเยอมนีและโปลแลน์ไหลผ่านกลางสวน ดังนั้นเนื่องที่ของส่นประมาณ 300 กว่าเฮคเตอร์จึงอยุ่ในเขตแดนเยอมนี และส่วนที่เหลืออยุ่ในเขตแดนของโปแลนด์ โดยส่วนที่เป็น บัฟเฟอร์ โซน ตามกฎของยูเนสโกก็อยุ่ในดินแดนของทั้งสองประเทศ
ตอนที่่แฮร์มานนผอน ปุ๊คเลอร์-มุสเคาแห่งปรับเซียสร้างสวนนี้ในช่วงต้อคริสต์ศตวรรษที่ 19 แม่น้ำไนเซอร์ที่ไหลผ่านสวนมุสคายังไม่ได้เป็นเขตแดจธรรมชาติระห่างประเทศ ซึ่งความเป็นไปดังกล่าวเพ่ิงมาเปลี่ยนแปลงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นี้เอง เมื่อผุชนะสงครามในครั้งนั้นอันประกอบด้วยรัสเซีย อังกฤษ ฝรั่งเศสและอเมริกาเข้ามาเป็นผุ้ขีดเส้นพรมแดนระหว่างโปแลน์กับเยอมนีด้วยการใช้แม่น้ำไนเซอร์เป็นพรมแดนธรรมชาติที่สำคญ สวนมุสเคาซึ่งเป็นสมรภูมนองเลือดที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งก่อนที่สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงจึงกลายเป็นสวนอกแตก
ความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในยุโปรหลัวงสงครามโลกครั้งที่ 2 มีผลต่อความเปลี่ยนแปลงของสวนมุสเคาซึ่งตั้งอยู่บนดินแดของสองประเทศ เร่ิมจกความเปลี่ยนแปลงระดับประเทศ เยอมนีถูกแบ่งออกเป็นสองประเทศ เยอมันตะวันตกและเยอรมันตะวันออก ต่างมีจุดยืนทางการเมืองครละขั้น ส่วนระดับภูมิภาคเกิดการเร่ิมต้นการบูรณาการในยุโปรตะวันตก ฦโดยประเทศสมาชิกเร่ิมแรกหกประเทศรวมทั้งเยอรมนันตะวันตกร่วมกันก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจร่วมยุโรป โดยมุ่งไปสู่การพัฒนาเศราหบิจแบบทุนนิยม ซึ่งต่อมาพัฒนมาเป็ฯอียู่ในปี 1992 ส่วนในประเทศยุโรปตะวันออกซึ่งรวมถึงโปแลนด์และเอยมันตะวันออกเร่ิมพัฒนาภายใต้องค์การโคมินเทิร์นตามทิศทางของระบบสังคมนิยม...
ความเปลี่ยนแปลงสำคัญของสวนมุสเคาเร่ิมเกิดขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ 1980 เมื่อเกิดนโยบายเปเรสทรอยก้า-กลาสนอส และการล่มสลายของระบบสังคมนิยมในยุโรป รวมไปถึงเกิดการรวมชาติเยอมันตะวันออกและตะวันตกเข้าด้วยกัน ที่สำคัญย่ิงไปกว่านั้นคือ การที่อียูถือเอาการขยายรับประเทศในยุโรปตะวันออกมาเป็นสมาชิกใหม่เป็นนโบบายสำคัญเร่งด้วน ส่งผลให้โปแลนด์เป็นรายชื่อต้นๆ ของประเทศที่จะได้เข้าเป็นสมาชิกใหม่อียู และได้รับเงินทุนช่วยเหลือในการพัฒนาโครงการมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนหลายโครงการภายใต้นโยบายภูมิภาคของอียูซึ่งสวนมุสเคาเป็นโครงการสำคัญภายใต้นโยบายดังกล่าว
ตอนนี้ทั้งเยอรมนีและโปแลนด์มาถึงจุดที่ต้องตัดสินใจว่า จะเลือกความยึดมั่นถือมั่นอคติด้านพรมแดน ความรักชาติ และบาดแผลในความทรงจำระหว่างโปแลนด์กับเยอมนีที่รุนแรงร้างวลึก หรือจะก้าวข้ามชาตินิยมและการเผชิญหน้าในการจักดารด้านพรมแดนและมรดกวัฒนธรรม
ความร่วมมือกันระหว่างโปแลนด์และเยอมนีในการเสนอสวนภูมิทัศน์มุสเคาเป็นมรดกโลกต่อยูเนสโกในปี ค.ศ. 2002 เป็นส่ิงที่ชี้ให้เห็นได้ชัดว่าทั้งสองประเทศเลือเส้นทางประการหลัง เพราเสนทางนี้เป็นเส้นทางแห่งโอกาส
ปัจจุบันสวนมุสเคาเป็นมรดกดลกข้ามพรมแดนที่มีนักท่องเที่ยวจำนวนมาก เว็บไซต์ของสวนแห่งนี้นำเสนอให้เห็นชัดเจนว่า การสร้างมรดกโลกข้ามพรมแดนนั้นเป็นการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับมรดกทางวัฒนธรรมได้อย่างน่าอัศจรรย์....
- บทความ "มรดกวัฒนธรรมช้ามพรมแดนข้อคิดจากยุโรปถึงอาเซียน" โดย มรกต เจวจินดา ไมยเยอร์
ตามข้อมูลของยูเนสโก สหภาพยุโรป หรอที่เรียกกันติดปากว่า "อียู" มีมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน ที่เป็นมรดกดลกมากว่าภูมิภาคอื่นๆ ในโลก มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนน้หมายถึง มรดกวัฒนธรรม หรือมรดกทางธรรชาติที่มีอาณาบิรเวณตังอยู่ในประเทศมากกว่าหนึ่งประเทศขึ้นไปโดยบริเวณส่วนหน่งของมรดกวัฒนธรรมนั้น ถ้าตั้อยู่ในประเทศใดก็ถือว่าเป็นดินแดนของประเทศนั้น
มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนนี้ ฟังดูแล้วไม่ได้เป็นเพียงสิ่งประหลาดสำหรัฐประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในเอเชียเท่านั้น เผลอๆ อาจเป็นส่ิงีที่หลายคนอย่ากให้เกิดขึ้นแต่ไม่กล้าฝันและลงมือและผุ้คนอีกจำนวนมากอาจสบถและไม่แยแสกับมันแม้แต่วินาที่เีดยวเนื่องจากแนงคิดชาตินิยมข้ามศตวรรษที่ตกทอดมาตั้อต่ศตวรรษที่ 19 ทั้งแบบบ้านๆ และแบบสุดโต่ง ทำให้จิตนาการเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรมของคนเหล่านี้ลีเรียวอยุ่ในรูปแบบของมรดกแห่งชาติเท่านั้น
มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแกนของสหภาพยุโรปในปัจจุบันเกิดจากสองลักษณะ คือ
1. มรดกวัฒนธรรมทีมีมาก่อนการเกิดรัฐชาติและการสร้างเขตแดนของรัฐชาติ แต่เมื่อเกิดรัฐชาติในยุโรป มรดกวัฒนธรรมเหล่านี้ถูกแบ่งออกสวนๆ ตามเขตแดนของรัฐสมัยใหม่ ตัวอย่งเช่น สวนมุสเคาซึ่ง ตั้งอยุ่ระหว่างประเทศโปแลนด์และเยอรมนี
2. มรดกทางวัฒนธรรมข้ามพรมแดนที่เกิดจากการเชื่อมโยงรากเหล้าทางวัฒนธรรมและศิลปะของโบราณสถานที่มีลักษณะคล้ายกันซึ่งตั้งอยู่ในประเทศต่างๆ ว่าเป้นกลุ่มมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน(ประเทศหรือรัฐชาติ) เช่น กลุ่มหอระฆัง จำนวนมากที่ตั้งอยุ่ในฝรั่งเศสและในเบลเยี่ยมซึ่งไ้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก และยูเนสโกจัดให้เป้นมรดกวัฒนธรรมี่ถือว่ามีลักาณะพิเศษเป็นมรดกวัฒนธรมช้ามพรมแดน
มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนทั้งสองลักษณะข้างต้น เป็นผลมาจากจินตนาการเกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรมที่อยุ่นอกรอบแนวคิดมรดกชาติ ซึ่งกรณีของสหภาพยุโรปนั้นเกิดจากพัฒนาการของสหภาพยุโรปที่ก่อให้เกิดแนวคิดข้ามพรมแดนทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรม
ก้าวข้ามชาตนิยมและการเผชิญหน้า
การข้ามพรแดนทั้งภาคการเมือง เศราฐกิจและวัฒนธรรมของสหภาพยุโรปมีรากฐานมาจากความต้องการหลุดจากวังวนของชาตินิยมและการเปชิญหน้า ซึ่งต้องเท้าความไปถึงยุคการเกิดรัฐชาติในยุโรปว่าเป็นยุครักชาติแบบหลงผิดที่ยุโรปไปยึดครองบ้านเมืองคนอื่นเป็นอาณานิคมทั่วดลก เรื่อยมาจนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่นาซีเยอรมันทำลายบ้าง ฆ่าล้างเผ้าพันธ์ุชาวยิว และนอกจากนี้ประเทศอื่นๆ ยังรบกันจนวินาศสันตะโร
ผุ้คนในยุโรปจึงเกิดปัญญาว่า ความรักและคลั่งชาตินี่เองเป็นต้นเหตุของความตาย โศกนาฎกรรมและความพินาศ ส่งผลให้เกือบทุกภาคส่วนของสังคมมุ่งมั่นลงมือกำจัดความคลั่งชาติอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการยึดถือแนวคิดใหม่ที่มุ่งสู่การบูรณาการทางเศณาฐกิจและการเมืองเพื่อให้เกิดสันตถภาพที่ถาวร
การจัดการมรดกวัฒนธรรมและพรมแดนในอียูเป็นตัวอย่างที่ดีที่แสดงให้เห็นว่า การบูรณาการยุโรปต้องการหันหลังให้กับความคิดชาตินิยมในการดำเนินการทางการเมืองภายในระหว่างประเทศสมาชิก กล่าวคือ เน้นเรื่องความร่วมมือ กัประเทศเพื่อนบ้านซึ่งเป็นสมาชิกอียูด้วยกันมากว่าสร้างความขัดแย้ง และการเผชิญหน้า
ความเป็นไปดังกล่าวเกิดขึ้นภายใต้ความพยายามจัดการเรื่องพรมแดนที่ลดความสำคัญของเตแดนระหว่างประเทศสมาชิก ด้วยการใช้แนวคิดปราศจากพรมแดน เพื่อให้เกิระบบตลาดเดียวภายในประเทศกลุ่มอียู และเกิดเป้าหมายสูงสุดในการบูรณาการทางเศราฐกิจ คือ การใช้ระบบเงินสกุลเดียวกันคือ เงินยูโร หรือที่่เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า มันเนแทรรี ยูเนี่ยน
แนวคิดปราศจากพรมแดนนี้มีลักษณะสำคัญ คือ
1) ไม่ได้แปลว่ เขตแดนระวางประเทศสมาชิกซึ่งเป็นรัฐชาติอีสระนั้นหายไป แต่ส่ิงที่เปลี่ยนไปคือ กระบวนคิดเกี่ยวกับเขตแดนและพรมแดน ความคิดว่าเขตแดนและเส้นเขตแดนที่เคยเป็นเส้นศกดิ์สิทธิ์ทั้งในจิตนาการและในแผนที่นั้น แปรสภาพมาให้ความสำคัญกับพรมแดนในฐานะเป้ฯเื้องที่พิเศษ คือ เป็นที่พบปะของผู้คนจากหลายประเทศ เป็นที่แลกเปลี่ยนกันทางวัฒณธรรมและสังคมเศณาฐกิจแทน
ทัศนะดังกล่าวเกิดจากแนวคิดว่ การยึดติดเขตแดนของชาติว่า เป็นเส้นศักดิ์สทิธิ์คือตัวปัญหา เป็นที่มาของความดิดชาตินิยม และความขัดแย้งนั้นเป็นอุปสรรคของการเกิดและการขยายโอกาสไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การลงทุน การเมือง การศึกษา หรือแม้แต่การสร้างและเติบโตของธุรกิจเกี่ยวกบมรดกวัฒนธรม หรือที่เรียกว่า อุตสาหกรรมมรดกวัฒนธรรม ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นและสร้างการเติบโตทางเศราฐกิจให้กับท้องถ่ินต่างๆ ในประเทศสมาชิก
2) ภายใต้แนวคิดปราศจากพรมแดนนี้ เขตแดนของชาติยังคงดำรงอยู่ แต่มฐานะเป็นเพียงตัวบ่งชี้ขอบเขตการทำงานของหน่วยงานรัฐบาลในแต่ละประเทศ ว่ามีขอบเขตการรับผิดชอบในด้านสาธารณูปโภค ด้านภาษีและการดูแลพละเมืองกว้างขวางเพียงใดเท่านั้น
3) ภายใต้แนวคิดนี้ เขตแดนแปรสภาพเป็นพรมแดนด้วยการทำให้การตรวจเช็คของด่านศุลกากรตามพรมแดนนั้นหายไปตามแนวคิดของการสร้างระบบตลาดเีดยวหรือตลาดร่วมยุโรป ซึ่งทำให้ประชาชนในกลุ่มประเทศอียูสามารถเดินทาง ทำงาน ลงทุน ศึกษาและย้ายถ่อฯบานไปในประเทศสมชิกต่างๆ ได้อย่างเสรี และนอกจากนี้ในกลุ่มประทเศสมาชิกซึ่งร่วมกันเซ็นสนธิสัญญาเซ็งเก้น บุคคลซึ่งเป็นพลเมืองของประเทศนอกกลุ่มอียูหรือศัพท์ทางการเรียกว่าบุคคลจากประเทศที่สาม ก็สามารถเดินทางในประเทศสมาชิกอียูที่ร่วมเซ้นสนธิสัญญาเซ็งเก้นได้อย่างอิสระ
สหภาพยุโรปและมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน
มรดกวัฒนธรรมไม่ว่าจะเป็นสถาปัตยกรรมเช่นโบสถ์ปราสาท หอระฆัง สวนภูมิทัศน์ เหมืองถ่านหินบ้านพักคนงานเหมืองหรืออื่นๆ ในแต่ละประเทศสมาชิกอียูนั้น แน่นอนว่าผ่านการประทับตราหรือการทำให้มีลักษณะเฉพาะของชาติ ดดยเกิดจาการวมมาดกท้องถ่ินไว้ใต้ร่มของวัฒนธรรมของชาติ โดยเกิดจากการรวมมรดกท้องถ่ินไว้ใต้ร่มของวัฒฯธรรมชาติ พร้อมๆ กับสร้างมาดกวัฒนธรรมใหม่ ๆ ผ่านกระบวนการผลิตความรู้ เช่น การศึกษาไม่ว่าจะเป็นด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะ ประวัติศาสตร์ หรือการ
ศึกษาทั่วไป และผ่านกระบวนการสร้างประเพณีและการบันเทิงใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับมรดกวัฒนธรรมเหล่านั้น
การเติบโตของอียูในช่วงสองทศวรษที่ผ่านมา แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของหน่วยทางการเมืองในยุโรปว่ามีหน่วยการเมืองที่เหนือชาติคือ "ยุโรป" หรือ อียู เพ่ิมเติมจากหน่วยทางการเมืองท้องถ่ินและรัฐชาติซ่งมีอยู่มาก่อนแล้ว ความเป็นไปดังหล่าวเก่ยวพันไปถึงมรดกวัฒนธรรมอยางเหลีกเลี่ยวงไม่ได้ อียูต้องการทำให้มรดกวัฒนธรรมทั้งหลายที่มีอยุ่แล้วสื่อวามเป็นยุโรป จึงดำเนินการสร้างความเป็นยุโรปหรือยูโรเปี้ยนไนเซชั่น มรดกวัฒนธรรมต่างๆ ด้วยกาทำให้มรดกทางวัฒนธรรมเหล่านี้เพ่ิมความสามารถในการแข่งขันในวงการอุตสาหกรรมมรดกวัฒนธรรมระดับภูมิภาคและโลก ด้วยกาดำเนินนโยบายวัฒนธรรมและนโบายภุมิภาค ที่ส่งเสริมให้เกิดความี่วมมือระหว่างประเทศามาชิกหลายประเทศเืพ่อรวมตัวกันเป็นเครือช่าย ร่วมกันคิดและสร้างโรงการมดกวัฒนธรรม ใหม่ๆ ที่เกิดจากการรวมกลุ่มรดกวัฒนธรรมชาติที่มลักษณะคล้ายกัน แล้วดึงลักษณะที่เป็นสากลมาคิดเป็นโครงการที่มีลักาณะสร้างสรรค์เพื่อับเงินสนับสนุนจาอียู ส่งเสริมให้เกิดความสร้างมาดกวัฒนธรรมใหา่ๆ จำนวนมหาศาล
กล่าวอีกนัยหนึ่ง กระบวนการยูโรเปี่้ยนไนเซชี่นของมรดกวัฒนธรรม คื อการส่งเสริมให้มีการสร้างและพัฒนโครงการมรดกวัฒนธรรมที่มีลักษณะข้ามชาติและพรมแดนนั่นเอง ซึ่งเท่ากับเป็นการเพิ่มมูลค่าทางเศณาฐกิจและการแข่งขันให้กับมรดกวัฒนธรรม ชาติด้วยการสร้างแพ็คเกจใหม่ในรูปแบบของมรดกวัฒนธรรมข้ามชาติหรือมีความเป็นยุโรปที่น่าตื่นเต้นกว่าแบบเดิม
กระบวนการยูโรเปี้ยนไนเซชั่นของมรดกวัฒนธรรมนี้ดำเนินการโดยไม่ได้ทวนกระแสโลกาภิวัตน์ คื อ มีการใช้การดำเนินการมรดกโลกของยูเนสโกในการสร้างและโฆษณามาดกวัฒนธรรมใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น นั่นคือ ยูโรเปี้ยนไนเซชั่นของมรดกวัฒนธรรมเตรียมความพร้อมในการพัฒนาโครงการมรดกวัฒนธรรมที่เน้นความร่วมมือข้ามพรมแดน ที่ส่งเสริมให้โครงการเหล่านี้ได้รับการคัดเลือกเป็นมรดกโลกและใช้ป้ายมรดกโลกในการส่งเสริมการท่องเที่ยวและพัฒนาท้องถ่ิน
สวนมุสเคา
ยูเนสโกประกาศให้เป็นมรดกโลกในปี ค.ศ. 2004 เป็นตัวอย่างความร่วมมือทางมรดกวัฒนธรรมแลพรมแดนระหว่างเยอมนีและโปแลนด์ซึ่งเป็นสมาชิกอียูที่น่าสนใจอย่างยิ่ง ดดยส่วนแห่งนี้เป็นสวนภูมิทัศน์ หรือ แลนด์สเคป ปาร์ค เป็นศิลปะแขนงใหม่ที่มีลักษณะเป็เสมือการวารูปด้วยการใชพรรณไม้ ทำให้เกิดสวนขนาดใหญ่เต็มไปด้วยไม่นานาพรรณกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม
สวนภูมิทัศน์มุสเคามีอาณาบริเวณกว้างขวางถึง 559 เฮคเตอร์ โดยมีแม่น้ำไนเซอร์ซึ่งเป็นเขตแดนธรรมชาิตระห่างเยอมนีและโปลแลน์ไหลผ่านกลางสวน ดังนั้นเนื่องที่ของส่นประมาณ 300 กว่าเฮคเตอร์จึงอยุ่ในเขตแดนเยอมนี และส่วนที่เหลืออยุ่ในเขตแดนของโปแลนด์ โดยส่วนที่เป็น บัฟเฟอร์ โซน ตามกฎของยูเนสโกก็อยุ่ในดินแดนของทั้งสองประเทศ
ตอนที่่แฮร์มานนผอน ปุ๊คเลอร์-มุสเคาแห่งปรับเซียสร้างสวนนี้ในช่วงต้อคริสต์ศตวรรษที่ 19 แม่น้ำไนเซอร์ที่ไหลผ่านสวนมุสคายังไม่ได้เป็นเขตแดจธรรมชาติระห่างประเทศ ซึ่งความเป็นไปดังกล่าวเพ่ิงมาเปลี่ยนแปลงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นี้เอง เมื่อผุชนะสงครามในครั้งนั้นอันประกอบด้วยรัสเซีย อังกฤษ ฝรั่งเศสและอเมริกาเข้ามาเป็นผุ้ขีดเส้นพรมแดนระหว่างโปแลน์กับเยอมนีด้วยการใช้แม่น้ำไนเซอร์เป็นพรมแดนธรรมชาติที่สำคญ สวนมุสเคาซึ่งเป็นสมรภูมนองเลือดที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งก่อนที่สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงจึงกลายเป็นสวนอกแตก
ความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในยุโปรหลัวงสงครามโลกครั้งที่ 2 มีผลต่อความเปลี่ยนแปลงของสวนมุสเคาซึ่งตั้งอยู่บนดินแดของสองประเทศ เร่ิมจกความเปลี่ยนแปลงระดับประเทศ เยอมนีถูกแบ่งออกเป็นสองประเทศ เยอมันตะวันตกและเยอรมันตะวันออก ต่างมีจุดยืนทางการเมืองครละขั้น ส่วนระดับภูมิภาคเกิดการเร่ิมต้นการบูรณาการในยุโปรตะวันตก ฦโดยประเทศสมาชิกเร่ิมแรกหกประเทศรวมทั้งเยอรมนันตะวันตกร่วมกันก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจร่วมยุโรป โดยมุ่งไปสู่การพัฒนาเศราหบิจแบบทุนนิยม ซึ่งต่อมาพัฒนมาเป็ฯอียู่ในปี 1992 ส่วนในประเทศยุโรปตะวันออกซึ่งรวมถึงโปแลนด์และเอยมันตะวันออกเร่ิมพัฒนาภายใต้องค์การโคมินเทิร์นตามทิศทางของระบบสังคมนิยม...
ความเปลี่ยนแปลงสำคัญของสวนมุสเคาเร่ิมเกิดขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ 1980 เมื่อเกิดนโยบายเปเรสทรอยก้า-กลาสนอส และการล่มสลายของระบบสังคมนิยมในยุโรป รวมไปถึงเกิดการรวมชาติเยอมันตะวันออกและตะวันตกเข้าด้วยกัน ที่สำคัญย่ิงไปกว่านั้นคือ การที่อียูถือเอาการขยายรับประเทศในยุโรปตะวันออกมาเป็นสมาชิกใหม่เป็นนโบบายสำคัญเร่งด้วน ส่งผลให้โปแลนด์เป็นรายชื่อต้นๆ ของประเทศที่จะได้เข้าเป็นสมาชิกใหม่อียู และได้รับเงินทุนช่วยเหลือในการพัฒนาโครงการมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนหลายโครงการภายใต้นโยบายภูมิภาคของอียูซึ่งสวนมุสเคาเป็นโครงการสำคัญภายใต้นโยบายดังกล่าว
ตอนนี้ทั้งเยอรมนีและโปแลนด์มาถึงจุดที่ต้องตัดสินใจว่า จะเลือกความยึดมั่นถือมั่นอคติด้านพรมแดน ความรักชาติ และบาดแผลในความทรงจำระหว่างโปแลนด์กับเยอมนีที่รุนแรงร้างวลึก หรือจะก้าวข้ามชาตินิยมและการเผชิญหน้าในการจักดารด้านพรมแดนและมรดกวัฒนธรรม
ความร่วมมือกันระหว่างโปแลนด์และเยอมนีในการเสนอสวนภูมิทัศน์มุสเคาเป็นมรดกโลกต่อยูเนสโกในปี ค.ศ. 2002 เป็นส่ิงที่ชี้ให้เห็นได้ชัดว่าทั้งสองประเทศเลือเส้นทางประการหลัง เพราเสนทางนี้เป็นเส้นทางแห่งโอกาส
ปัจจุบันสวนมุสเคาเป็นมรดกดลกข้ามพรมแดนที่มีนักท่องเที่ยวจำนวนมาก เว็บไซต์ของสวนแห่งนี้นำเสนอให้เห็นชัดเจนว่า การสร้างมรดกโลกข้ามพรมแดนนั้นเป็นการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับมรดกทางวัฒนธรรมได้อย่างน่าอัศจรรย์....
- บทความ "มรดกวัฒนธรรมช้ามพรมแดนข้อคิดจากยุโรปถึงอาเซียน" โดย มรกต เจวจินดา ไมยเยอร์
วันพุธที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2561
Social unity of EU
...ความรุ่งเรืองของยุโรปจะเกิดได้หใม่นั้นก็ต้องอาศัยความพร้อมใจของประเทศสมาชิกในการผลักดันนโยบายและการปฏิบัติตามมาตรการต่างๆ การอยุ่อย่างเอกเทศเช่นเดิมต้องเผชิญกับการแข่งขันสุงทั้งในหมุ่ชาติยุโรปเองและกับชาติอื่นๆ จึงไม่เดื้อต่ผลประโยชน์างเษรษฐกิจ การรวมตัวเป็นกลุ่มหรือบูรณาการเป็นสหภาพระดับถุมิภาคจึงเป็นทางเลือกที่น่าจะทำให้สถานะดีกว่าการที่ต่างคนต่างอยุ่ ที่น่าสั่งเกตคือ การร่วมมือกนทางเศราฐกิจครั้งนี้แตกต่างจากความร่วมมือต่างๆ ที่เคยมีมาเพราะตามสนธิสัญญามาสตริชต์ สหภาพยุโรปมีลักษณะเป็นงค์การเหนือรัฐ ไร้พรมแกนประเทศขวางกั้นในองค์กร ประเทศสมาชิกจึงต้องสละอำนาจอธิปไตยส่วนหนึ่งและยินยอมให้นโยบายหรือมาตรการของสหภาพฯ สามารถบังคัยใช้ในดินแดนของตนได้...
อย่างไรก็ดี การท่จะให้เกิดความรู้สึกร่วมมือร่วมใจหรือการยินยอมให้บังคับใช้มาตรการข้ามชาติโดยฝืนความรู้สึกน้อยที่สุ ก็จำเป็นที่จะต้องหาวิธีการที่ทำให้ประเทศสมาชิกรู้สึกถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ความเป็นประชาคมเดียวกัน หรือความเป็นยุโรปด้วยกัน ด้วยเหตุนี้เอง เพื่อบรรลุความเป็นสไภาพทางเสณาฐกจและทางการเมือง จึงจำต้องอาศัยมาตการทางสังคมบางประการเกื้อหนุนด้วยหากประเทศสมาชิกขาดความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันแล้ว การดำเนินงานของสหภาพยุโรปในลักษณะองค์กรเหนือรัฐจะเป็นไปอย่างยากลำบากทุกขั้นตอนความมั่่งคั่งทางเศณาฐกิจและความเป็นผุ้นำในเวทีดลกจะกลายเป็นเป้าหมายที่ห่างไกลออกไปอีก
บทความนี้ เสนอข้อสังเกตุบางประการเกี่ยวกับความเป็นยุโรป เพื่อบ่งชี้ว่าเรื่องที่ไม่น่าจะเป็นปัญหาได้กลายเป็นปัญาและทางออกที่เป็นอยู่ในขณะนี้ก็เป็นเพียงการพยายามลดความรู้สึกชาตินิยมหรือความรู้สึกว่าตนเป็นชาว ฝรั่งเศส เยอรมัน อังกฤษ อิตาลี ฯลฯ ของพลเมืองในประเทศสมาชิก เพื่อให้รู้สึกวว่าอย่างน้อยก็เป็นชาวยุโรปด้วยในขณะเดียวกัน
อุปสรรคในการสร้างสำนึกของ "ความเป็นยุโรป" ร่วมกันอันเป็นปัจจัยเกื้อหนุนการรวมตัวทางเศณาฐกิจและการเมืองนั้น ในที่นี้จะพิจารณา 2 ประเด็น ใหญ่ซึ่งมีความเกี่ยวพันกัน นันคือ ปัญหาที่วาอะไรคือเอกลักษณ์ของความเป็นยุโรป และความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เพี่ิมขึ้นในยุโรปปัจจับุันได้ทำให้ปัญหาเรื่องเอกลักษณ์ซับซ้อนมากขึ้นเพียงไร มีผลกระทบอย่างไรต่อการพิจารณารับสมาชิกใหม่ของสหภาพยุโรป
สำหรับคนนอกทวีปยุโรปแล้ว การที่ชาวอังกฤษ ฝรั่งเศส เดนมาร์ก สวิส ฯลฯ จะกล่าวอ้างว่าเป็นชาวยุโรปนั้นไม่เห็นเป็นเื่องแปลกประหลาดแต่อย่างใดแต่ปรากฎว่า ชาวยุโรปจำนวนมาก ลังเลที่จะกล่าวเช่นนั้น นักวิชาการบางคนถึงกับระบุว่า ที่เรียกกันว่าชาวยุโรปนั้นผิดทั้งเพ เพราะมีแต่ชาวฝรั่งเศสเยอรมน อิตาลี ต่างหาก" เจ้าหน้าที่ของสหภาพยุโรปเองบางคนยังบอกว่าครั้งที่รู้สึกว่าเป็นชาวยุโรปก็เมื่อคราวต้องไปพำนักในสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นเท่านั้นย่ิงน้อยคนที่จะเอ่ยว่าตนเป็นชาวยุโรปก่อนปละเป็นพลเมืองของประเทศใดประเทศหนึ่งด้วยตามหลง ย่ิงคนอังกฤษแล้วแทบจะพูดอย่างเดียวว่าตนเป็นชาว อังกฤษ ไม่เอ่ยถึงยุโรปเลยด้วยซ้ำ สาเหตุที่ป็นเช่นนั้นก้เพราะเอกลักษณ์หรือลัษณะเฉพาะที่บ่งชี้ว่าเป็นยุโรปที่จะกระตุ้นเตือนใจให้ผู้คนตระหนักว่ามีอยู่ร่วมกน หรือเป็นพวกเดียวกันนั้น จริงๆ แล้วมีหรือไม่
เมื่อจะพิจารณาหาคำตอบนี้ ก็เกิดคำถามข้อหนึ่งขึ้นมาก่อนนั่นคือ ที่เรียกกันว่า "ยุโรป" นั่นหมายถึง อะไร มีขอบเขตแค่ไหน เราสามารถใส่คุณศัพท์ให้สิ่งนั้นสิ่งน้ว่าเป็นยุโรป ได้กระนั้นหรือถ้าเรายังตอบไม่ได้ชัดเจนว่ายุโรปแยกออกจากเอเชีย ณ ที่ใด ที่ทุกวันนี้เรียกว่ายุโรปนั้นสืบมาตั้งแต่ครั้งนักเดินเรือชาวกรีกโลราณที่ล่องเรือจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนขึ้ไปตามทะเลอีเจีนย และเรียกดินแดนฝั่งซ้ายวายุโรป ฝั่งขวาว่าเอเชีย แต่หารู้ไม่ว่าดินแดนสองฝั่งทะเลนั้นบรรจบเป็นผืนเดียวกันทั้งเหนือขึ้นไป บางคนจึงกล่าว่า ยุโรปเป็นพียงคาบสมุทรหนึ่งของยูเรเซีย ไม่สมควรเรียกว่าทวีป บ้างก็บอกแต่เพียงว่าถ้าเดินทางมุ่งไปทิศตะวันออกมากขึ้น คามเป็นยุโรปก็จะลดลงเรื่อยๆ แต่ไม่รู้ว่าเส้นแบ่งเด็ดขาดระหว่งเอเชียกับยุโรปอยู่ตรงไหน ก็อาจจะเป็นอย่างที่นักสังคมศาสตร์อเมริกันกลาวถึงความเป็น "รัฐ" ว่าเป้นเพียงประชาคมตามที่จินตนาการ ว่ามีขนาดและลักษณะอย่างไรเท่าน้้น
ก่อนหน้านี้ ประเด็นเส้นแบ่งเขตระหวางยุโรปกับเอเชียไม่จำต้องนำมาขบคิด แต่ปัจจุบัน สงครามเย็นได้สิ้นสุดลงและสไภาพโซเวียตก็ล่มสลายแล้ว ยุโรปไม่ได้หายถึงยุโรปตะวันตกเท่านั้น ขณะนี้สหภาพยุโรปมีสมาชิก 15 ประเทศ แต่มีประเทศในเขตที่เรียกกันว่าเป้นยุโรปกลาง และยุโรปตะวนออกของสมัครเข้าร่วมองค์การด้วยอี 10 ประเทศ และดินแดนอื่นๆ อีก 4 ประเทศ ซึ่งทำให้ประเด็นขอบเขตของยุโรปเป้นปัญหาขึ้นมา ประเด็น "เอกลักษณ์" ของยุโรปจึงกลายเป็นคำถามขึ้นด้วย
..ขณะที่ความคิดเห็นแตกต่างกันเกี่ยวกับองค์ประกอบสำคัญๆ ของความเป็นยุโรปดำเนินไปผุ้บริหารอียูก็เพิ่มการดำเนินงานรวมตัวของสหภาพมากขึ้น เกิดคำถามเร่งด่วนขึ้นใหม่ว่าใครจะอยู่ "ภายใน" และ "ภายนอก" ของสหภาพฯบ้าง เราจะหมายความว่า
ประเทศที่อยู่ "ภายนอก" มีความเป็นยุโรปนหด้อยกว่าประเทศที่อยู่ "ภายใน" สหภาพฯได้หรือไม่โดยทั่วไปแล้ว ประเทศยุโรปปัจจุบันที่มีมากว่า 35 ประเทศตามแนวพรมแดนสมมติที่ลากผ่านเทือกเขายูราล ลงสู่ทะเลสาบแคสเปี่ยนและตามแนวเทือกเขาคอเคซัสสู่ทะเลดำออกช่องแคบบอสฟอรัสสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน จากนั้นออกช่องแคบจิบรอลตาร์สุ่มหาสมุทรแอตแลนติกนั้น แตกต่างกันทางด้านพัฒนาการทางการเมือง เสราฐกิจและวัฒนธรรมซึ่งทำให้เป็นอุปสรรคต่อกความรู้สึกที่ว่าเป็นกลุ่ม
ประชาคมเดียวกัน ประการสำคัญข้อหนึ่ง คือ ความไม่เท่าเทียมกันในพัฒนาการทางการเมืองและเสณษบกิจซึ่งทให้มีการแบ่งยุโรปออกเป็นประเทศแกน และประเทศชายชอบ ประเภทแรกนั้นมีนัยนัยบ่งถึงความทันสมัยทางเสณาฐกิจ ความเป็นปราธิปไตยและเสถียรภาพทางการเมือง ส่วนประเภทหลังบ่งว่าเป็นประเทศที่ภาวะเศรษฐกิจและการเมืองอยู่ในภาวะเปลี่ยนผ่าน ความไร้เสถียรภาพมีระดับสูงต่ำคละกันไป
ประเทศแกนจึงไม่ค่อยเต็มใจที่จะรับสมาชิกใหม่ที่การพัฒนาทางเศรษฐกิจและการเมืองยังล้าหลังอยู่มากปัจจัุบันพลเมืองในสหภาพยุโรปมีประมาณ 370 ล้านคน ประชากรเพียงร้อยละ 5.3 อยู่ในภาคการเกษตรส่วนประเทศที่มีฐานะการคลังดีที่สุดที่กำลังขอสมัครเป็นสมาชิก คือ สโลวิเนีย ก็ยังคงยากจนกว่าโปรตุเกส ซึ่งเป็นสมาชิกสหภาพฯ ปัจจุบันต่างจากประเทศยุโปรกลางและยุโรปตะวันออกมาก ขณที่ประเทศแกนตั้งข้อรังเกียจประเทศชายขอบ ประเทศชายขอบกลับแสดงความต้องการเข้ารวมสมัครสโมสรเพราะคำว่า "ยุโรป" บ่งถงความทันสมัยและความเป็นประชาธิปไตย" ยิ่งจะมีการรวมตัวทางการเงิน ประเทศแกนจึงย่ิงหนักใจกับความล้าหลังทั้งของประเทศที่เป็นสมาชิกอยู่และประเทศที่กำลังขอสมัครเข้าร่วม รายได้ของชาวโปรตุเกสและ กรีก เป็นเพียง 1 ใน 8 ของรายได้ที่พลเมืองในนครใหญๆ ของประเทศแกนได้รับอยู่และกลับย่ิงแย่ไปกว่านั้นอีกในกรณีของแอลเนียและโรมาเนีย ควมแตกต่างทางด้านมาตฐานการครองชีพ ความแข้งแกร่งของสกุลเงินและค่าจ้างแรงงานขึ้นต่ำต่อชั่วโมง ทำให้เกิดความลังเลที่จะใช้เงินสกุลยุโรปเป็นเงินสกุลกลางของยุโรป ความไม่เท่าเที่ยมกันนี้ทำให้ยุโรปใต้ต่างกับยุโรปเหนือ และยิงมากขึ้นระหว่างผลดีกับผลเสียในการสร้างประชาคมที่สมาชิกมีความเท่าเทียมกัน
นอกจากระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและการเมืองที่ต่างกันแล้ว ควาแตกต่างทางด้านสังคมและวัฒนธรรมก็เป็นอีกสาเหตุที่ทำให้ประเทศในยุดรปรู้สึกแปลกแยกต่อกัน ปัจจัยสำคัญๆ ได้แก่ ภาษา เชื้อชาติ ศาสนา และวิถีการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกัน ประเทศสมาชิกบางประเทสจึงไม่ปรารถนาการรวมตัวอย่างสมบูรณ์และเกรงว่าวัฒนธรรมของประเทศตนจะถูกกระทบหรือสูญสลาย
ในเรื่องอุปสรรคทางด้านภาษนั้น ภาษายุโรปแบ่งออกเป็น 3 ตระกูล ใหญ่ โดยปกติดินแดนที่ขาดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกันทางวัฒนธรรมนั้นพลเมืองจะรู้สึกใหล้ชิดหรือสนิทใจกบคนที่พูดภาษาถ่ินเดียวกัน แต่ดินแดนยุโรปนั้นไม่มีภาษากลางและ(ุ้นำของสหภาพยุโรปก้ไม่มีความคิดที่จะให้มีถึงแม้จะช่วยทำให้การประสานงานต่างๆ สะดวกขึ้นและช่วยทำให้เกิดความรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกันก็ตาม...
เมื่อยุโรปไม่มีวามเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทางด้านภาษา เชื้อชาติ ศาสนา ประวัติศาสตร์ ประเพณีและค่านิยม ทัศนคติของประชาชนในแต่ละประเทจึงแตกต่างกันไปด้วย เหตุกาณ์ทีเกิดขึ้นบนท้องถนนในชีวิตประจำวันที่กรุงปารีส ลอนดอน มิลาน แม้จะคล้ายคลึงกันแต่ก็ไม่เหมือนกันอยู่ดี เพราะกติกาและประสบการณ์ของแต่ละท้องถ่ินต่างกัน การตีความบางเรื่องจึงต่างกันไปด้วย..
ปัญหาอัตลักษณ์ทางสังคมของยุโรปไม่ได้เกิดจากความแตกต่างระหว่างกันเ่านั้น แต่เกิดจากความหลากหลายทางวัฒนธรรมในแต่ละประเทศสมาชิกเองด้วย แทบจะไม่มีประเทศใดในยุโรปเลยที่มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทางด้านเชื้อชติและเผ่าพันะู์และแต่ละเชื้อชาติก็บอกว่าตนเป็ "ชาติ" ที่มีความเฉพาะ ไม่เหมือนกลุ่มเชื้อชาติอื่นๆ" เมื่อประเทศยูโกสลาเวียสลายใน ค.ศ. 1991 พลเมืองก็แสดงองค์ประกอบทาสังคมที่หลากหลายมาก
การเคลื่อนย้ายของประชากรก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งของความหลากหลายทางวัฒนธรรมในสังคมยุโรป การเคลื่อนย้ายเนื่องจากการปลดปล่อยอาณานิคมของโลกตะวันตกให้เป็นอิสระ ความต้องการแรงงานในยุโรป สงครามและความขัดแย้งทางการเมืองในประเทศโลกที่สาม เมื่อหลังไหลไปมากๆ อังกฤษเป็นประเทศแรกที่เร่ิมควบคุมการอพยพโดยการออกกฎหมาย ซึ่งประเทศแกนอื่นๆ ก็ทำตาม ต่อมารัฐบาลของอังกฤษก็เลิการให้สัญชาติแก่คนที่ไม่มีพรรพบุรุษเกี่ยวข้องกับอังกฤษ
แม้ในโครงสร้างสังคมของยุโรปเปบียยนไป มีคนหลายเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์เข้าไปอยู่อศัยอมากขึ้นหลังสงครามดลก แต่ผุ้นำของอียูก้เล็งว่าการสร้างเอกลักษณืของสหภาพฯ ขึ้นโดยเฉาพะ จะทำให้ประเทศสมชิกรูสึกใหล้ชิดกันย่ิงขึ้น และจะนำไปสู่ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของยุโรปได้ในที่สุดด้วยเหตุนี้จึงมีการออกมาตรการต่างๆ ขึ้นมาสนองวัตถุประสค์ดังกล่าว ซึ่งมี ๒ แนวทาง แนวทางแรก เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนในสหภาพฯ ไปมาหาสู่กันได้อย่างคล่อตัว รวมทั้งการำปทำงานในประเทศสมาชิกด้วยกัน.. แนวทางที่สอง คือ การสนับสนุนการแลกเปลียนทางวัฒนธรรมและการสร้างสัญลักษณ์ที่แสดงความเป็นยุโรปขึ้นมาเพื่อพลเมืองจะได้รู้สึกสนิทใจมากขึ้นในการกล่าว่าตนเป็นสมาชิกคนหนึ่งของประชาคมยุโรป
ในส่วนของการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมและการสร้างอัตลักษณ์ของยุโรป มีการกำหนดนโยบายหลายประการ โดยเฉพาะทางด้านการศึกาาเพื่อบ่มเพาะคนรุ่นใหม่ให้ตระหนักเรื่องความเป็นยุโรปมากขึ้นปัจจุบันมีแผนงานต่างๆ กว่า สองพันห้าร้อยแผนงาน ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างประเทศสมาชิก ผุ้บริหารสหภาพยุโรปพอใจที่สามารถสอนเยาวชนยุโรปให้เข้าใจความซับซ้อนในสังคมยุคใหม่และนำตนให้หลุดพนจากอุสรรคที่ทำให้ไม่เข้าใจกันโดยการยอมรับและเคารพความหลากหลายไม่ใ่การปฏิเสธความแตกต่างจากตนแบบคนรุ่นก่อน
นอกจากทางด้านการศึกษาแล้ว โครงการทางด้านวัฒนธรรม ก็มุ่งสนับสนุกิจกรรมวัฒนธรรมร่วมกันของประเทศสมาชิกโครงการต่างๆ สนับสนุนการร่วมมือของอุตสาหกรรมโสตทัสนูปกรณ์ในยุโรป และสนับสนุนงานมรดกทางวัฒนธรรม.....
- บทความ "สหภาพยุโรปกับการแสดงหาเอกภาพทางสังคม" โดย ผศ.ดร.ชาคริต ชุ่มวัฒนะ
วันอังคารที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2561
The strength of EU
สหภาพยุโรป
ในปี ค.ศ. 1978 สมาชิกประชาคมยุโรปมีการตกลงร่วมกันที่จะใช้ระบบการเงินยุโรป จนถึงปี ค.ศ. 1990 ก็ได้จัดตั้งเป็น "สหภาพการเงินยุโรป" ทั้งนี้เพื่อให้เกิดเสถียรภาพของตาดการเงินและการลงทุนในกลุ่มประชาคมยุโรป ซึ่งต่อมาได้จัดตั้งเป้นเขตเงินยูโรหรือ "ยูโรโซน" และในวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1993 กลุ่มประชาคมเศณาฐกิจยุโรป ได้มีการลงนามในสนธิสัญญามาสทิรชต์ ที่ประเทศสเปน ซึ่งเป้นสัญญาที่นำไปสู่การจัดตั้งสหภาพยุโรป อันเป็นกลุ่มที่ีมีรากฐานมาจากกลุ่มประชาคมเศราฐกิจยุโรป หรือ อีอีซี ซึ่งการรวมหลุ่มของประเทศในยุโรปเป็นสหภาพยุโรปนี้มีวัตถุประส่งค์เพื่อส่งเสริมด้านเศราฐกิจและความสัมพันะ์ทางการเมืองที่ดีในกลุ่มประเทศสมาชิก
ต่อมาในปี ค.ศ. 1995 ออสเตรีย สวีเดน และฟินแลนด์ ได้เข้าร่วมเป้นสมาชิกใหม่ของสหภาพยุโรป และในปี ค.ศ. 2002 สมาชิก 12 ประเทศ จาก 15 ประเทศ คืองรั่งเศส เยอมนี อตาลี กรีก ฟินแลนด์ ไอร์แลนด์ สเปน เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก ออสเตรย และโปรตุเกส ได้ตกลงที่จะใช้เงินยู่โรปทนที่เงินสกุลแห่งชาติของตน ส่วนอีก 3 ประเทศ คือ สหราชอาณาจักร สวีเดน และเินมาร์ก ยังไม่ได้เข้าร่วม เนื่องจากยังไม่มีความพ้อมบางประการ โดยเฉพาะ สหราชอาณาจักรซึ่งถือว่าเป้นประเทศใหญ่อันดับสองในยุโรปรองลงมาจากเยอมนีนั้น ยังไม่สามารถผ่านประชามติควาเมห็นชอบจากประชาชนในประเทศของตนได้ ต่อมาในปี ค.ศ. 2004 สหภาพยุโรปได้ขยายจำนวนจาก 15 ประเทศ เป็น 25 ประเทศต่อมาในปี 2007 มีสามชิกใหม่ เพ่ิมอี 2 ประเทศ รวมเป็น 27 ประเทศ
ในระยะเริ่มต้นที่ใช้เงินยูโรนั้น สหภาพยุโรปได้ตกลงร่วมกันว่าในวันที่ 1 มกราคม 1999 สหภาพยุโรป 12 ประเทศ จะเริ่มใช้เงินยูโรเป็นครั้งแรกในระบบการหักบัญชีของธนาคารซึ่งเป้นการเตรียมการเบื้องต้นก่อนทีจะเร่ิมีการใช้เงินตราร่วมกันในตลาดแลกเปลี่ยนซื้อขายในอี 3 ปีต่อมา และเมือถึงวันที่ 1 มกราคม 2002 สมาชิกสหภาพยุโรปที่เข้าร่วมยูดรโซนทั้ง 12 ประเทศ จึงได้เิ่มเงนยูโรในตลาดแลกเปลี่ยนของสมาชิกอย่างเป้นทางกา ต่อมาในวันที 1 มกราคม 2009 มีสมาชิกสหภาพยุโรปใหม่เข้าร่วมใช้เงินยูโรอีก 4 ประเทศ คือ สโลวาเนีย มอลตา ไซปรัส และสโลวาเกีย รวมเป้น 16 ประเทศในปัจจุบัน ดยมีสโลวาเกีย เป้นประเทศล่าสุดที่เข้าร่วม
การขยายตัวของสหภาพยุโรป
ที่ประชุมสุดยอดยุโรป ณ กรุงมาตริค ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1995ได้กล่วถึงการรับสมชิกเพิ่มของสหภาพยุโรปไว้ว่า "เป็นท้งความจำเป็นในทางการเมืองและเป็นโอกาศที่สำคัญย่ิงของยุดรป" ในปี ค.ศ. 199ุุ6 คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปได้รับใบสมัคราเขเ้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปจากประเทศ ต่างๆ รวมท้งสิ้น 14 ประเทศซ่งประกอบด้วยประเทศจากยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก 10 ประเทศและประเทศอื่นๆ อีก 4 ประเทศ ในขณที่คณะกรรมาธิการยุโรปไม่เห็นด้วยกับการรับตุรกีเข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 1989 แต่กลับมีความเห็นยอมรับใบสมัครของไซปรัสและมอลตาในวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1993 สำหรับแนวโน้มการรับสวิตเซอร์แลนด์เข้าเป็นสมาชิกนั้นยังคงชะงักงันเนือง จากชาวสวิสได้ลงประชมติไม่เข้ร่วมใน "เขตเศราฐกิจยุโรป" เมื่อเดือนธันวาคม 1992 ในการนี้คณะกรรมธิการยุโรปได้หารือกันถึงการรับประเทศที่ได้ทำ "ข้อตกลงยุโรป" กับสหภาพยุโรปเข้าเป็นสมาชิกก่อน ฉะน้น การพิจารณารับประเทศกลุ่มนี้เข้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปนี้เองจึงได้กลายเป็นหัวใจสำคัญของนโยบายการรับสมาชิกใหม่ของสหภาพยุโรปในเวลานั้น ต่อมาในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1996 ที่ประชุมสุดยอดยุโรปที่เมืองฟลอเรนซ์ได้ระบุว่า การเจรจารับสมาชิกรอบแรกที่จะทำกับกลุ่มประเทศยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกจะมีขึ้นพร้อมๆ กับการเจรจารับไซปรัสเป้นสมาขิก คอในเวลา 6 เอืนหลังจากการประชุมระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิกส้ินสุดลง การประชุมระหว่างรัฐบาลดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ประการหนึ่ง คือเพื่อเตียมสหภาพยุโรปให้สามารถรองรบการมีสมาชิกเพิมขึ้นในระดับ 20-25 ประเทศ ทั้งนี้โดยการปฏิรุปกระบวนการตัดสินใจและโครงสร้างทางด้านสถาบันให้พัฒน ขึ้น ทั้งในเรื่องประสิทธิภาถภ ความแน่นอนและความชอบธรรม
บรรดาประเทศในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกต่างก็มอง่การเข้าเป็นสมาชิกของ สหภาพยุโรปนั้น จะเป็นหนทางไปสู่การสร้างความมันคงและเป้นการส่งเสริมกระบวนการพัมนาประเทศ ของตนให้ทั้นสมัย อันจะเป็นผลให้การปรับเปลี่ยนไปสู่ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยและระบบ เศราฐกิจแบบตลาดเสรีเป้นไปอย่างมีเสถียรภาพ ในขณะเดียวกันสหภาพยุโรปเองก็มองเห็นความสำคญของการรบยุโรปตะวันออกเข้า เป็นสมาชิก เรพาะเชื่อว่าการสถาปนาหลัการทางการเมืองและเศราฐกิจแบบยุโรป
ตะวันตกให้แก่ ประเทศเพื่อบ้านในยุโรปตะวันออกจะเป้นผลดีในระยะยาว สหภาพยุโรปให้ความสำคัญกับประดยชน์ใทางการเมืองดังกล่าวมากกว่าประดยชน์ในทางเศณาฐกิจ คือ การขยายตลาดเดียวแก่งยุรป ดังนั้นเมื่อสงครามเย็นสิ้นสุดลงสหภาพยุโรปจึงพบว่าตนเองจำเป็นต้องมบทบาท สำคัญในการเผยแพร่โครงสร้างทางสังคมอันมีรากฐานอยู่บนความมั่นคงความเจริญรุ่งเรื่อง ความเสมอภาคทางสังคม และความเป็นประชาธิปไตย ให้ขยายไปทัวทวีปยุโรป การขยายตัวของหสหภาพยุโรปไปทางตะวันออกจะมีผลกระทบต่อนโยบายการรักษาความมั่นคงเมืองคำนึงถึงรัสเซีย อย่างไรก็ดี การขยายตัวโดยรับยุโรปตะวันออกเข้าเป็นสมาชิกนั้นนอกจากมีผลกระทบต่อความเห็นพ้องต้องกันของประเทสสมาชิกสหภาพยุโรปในเรื่อง ของการบูรณาการยุโรปแล้ว ยังเป็นการทดสอบว่าประเทศเหล่านี้จะมีความสามารถในการปฏิรูปมากน้อยเพียงใด อีกด้วย ควาทท้าทายครั้งสำคัญนี้ไม่สามารถแก้ไขได้โดยการใช้รูปแบบการรับสมชิกใหม่ที่สหภาพยุโรปตะวันออกต้องมระดบการบูรณาการที่พอสมควรเสียก่อนจึงจะสามารถ รับเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปได้ ด้วยเหตุนี้สหภาพยุโรปจึงได้ประกาศที่จะดำเนินการควบคุ่กันไปทั้งในการ บูรณาการทางลึกและการรับสมาชิหใม่ เป้าหมายของสหภาพยุโรปคือการประสานกลยุทธ์เตรียมการเข้าเป็นสมาชิก รวมทั้งการเจรจารับประเทศยุโรปตะวันออกเข้าเป็นสมาชิกรวมทั้งการเจรจารับประเทศยุโรปตะวันออกเข้าเป็นสรชิกให้เข้ากัแนวทางของ "แผนการดำเนินงานปี ค.ศ. 2000" ซึ่ง ประกอบไปด้วยผลสรุปของการประชุมระห่างรัฐบาลประเทศสมาชิกในช่วงปี ค.ศ. 1996-1997 การปฏิรูประบบงบประมาณจากแหล่งเงินทุนของสหภาพยุโรปเอง การปฏิรูปนโยบายโครงสร้าง นดยบายการสร้างเอกภาพและนโยบายร่วมด้สนการเกษตร การดำเนินกาจัดตั้งสหภาพเศรบกิจและการเงินในขั้นตอนที่สาม และอนาคตของ "สหภาพยุโรปตะวันตก" เป็นต้น อย่างไรก้ดี การรับสมชิกใหม่จากยุโรปตะวันออกอาจนำมาสู่ความขัแยเ้งในเรื่องการจัดสรรประเทศที่จะได้รับเงินช่วยเหลือจากกองทุนสร้างเอกภาพ และประเทศผุ้ให้เงินช่วยภายในของสหภาพยุโรป และอาจนำทางให้ทางเลือกในการบรรณาการยุดรปจำกัดวงแคบขึ้น นอกจากนี้อาจนำไปสู่การถแเถียงกันในเรื่องรุปแบบตางๆ ของการบูรณาการยุโรป การมีความยืดหยุ่นเพ่ิมขึ้น หรือการเปลี่ยนศูนย์กลางในทางการเมืองและเศราฐกิจภายในของสหภาพยุโรป เป็นต้น
จุดแข็งและจุดอ่อน เมื่อสหภาพยุโรปขยายขนาด
เนื่องจากสหภาพยุโรปตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ทางเศราฐกิจและการเมืองควบคู่ันดยเฉาพะด้านเสราบกิจซึ่งเป็นประเด็นสำคัญที่ประเทศในกลุ่มสมชิกจะต้องร่วมกันทำให้เกิดประโยชน์เต็ม่เพราะเกี่ยวข้องโดยตรงกบประชาชนทุกคนในประเทศสมาชิก และมักมีปัญหาเกิดขึ้นบ่อยๆ นอกจากความร่วมมือตามข้อตกลงในสนธิสญญาของสหภาพ เช่น การใช้เงินสกุลเดียวกัน การเปิดพรมแดนเดินทางไปมาค้าขายกันได้สะดวก การใช้ระบบภาษีศุลการกรเดียวกันแล้ว ก็ยังมีประเด็นปลีกย่อยที่ต้องพิจารณาอีกด้วย เช่น การเคลือนย้ายแรงงาน และการเคลื่อนย้ายเงินลงทุน เป็นต้น ซึ่งแตละประเทศมีสภาพแรงงานและฐานะเงินลงุทนไม่เท่ากัน ความเลหื่อล้ำด้านผลประโยชน์ทางเศราฐกิจจึงย่อมเกิดขึ้น ซึ่งอาจจะบานปลายกลายเป็นจุดอ่อนของการขยายตัวของกลุ่มสหภาพยุโรปไปในที่สุด ซึ่งจะแยกพิจารณาจุดแข้งและจุดอ่อนของสหภาพยุโรปจากการขยายขนาดของกลุมในประเด็นต่อไปนี้
จุดแข็ง การขยายขนาดกลุ่มหใขึ้น แน่นอนว่าทำให้สหภายุดรปมีความแข็งแกร่งมากขึ้น มีลู่ทางที่จะเกิดความร่วมมือทางเศราฐกิจภายในกลุ่มได้มากขึ้น และพลังอำรสจในการต่อรองทางการต้าของสหภาพยุโรปทั้งกลุ่มกับประเทศนอกกลุ่มจะแข็งแกร่งมากขึ้นตามไปด้วยอกจากนี้ การที่สหภาพยุฏรปทั้งกลุ่มกับประเทศนอกกลุ่มจะแข็งแกร่งมากขึ้นตามไป้วยนอกจากนี้ การที่สหภาพยุโรปเป็นการรวมกลุ่มที่มีวัตถุประสงค์ทางการเมืองด้วย จึงวย่ิงทำให้ความมั่นคงทางการเมืองและดุลอไนาจกับประเทศอื่นๆ ในโลกมีมากขึ้นเมือขนาดขงอสหภาพยุโรปขยายใหย่ขึ้น กล่าวคือ ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างประเทศนอกกลุ่มกับสมาชิกในกลุ่มจะมีน้อยลงเพราะสหภาพยุโรปมีดุลอำนาจการเมืองระหว่างประเทศสูง
จุดอ่อน มองอีกด้านหนึ่ ก็มีคำถามว่า ขนาดของสหภาพยุดรปที่ขยายใหญ่ขึ้นี้ จะช่วยเพ่ิมจุดแข้.ให้กับสหภาพยุดรปจริงๆ หรือว่าจะเป้นการขยายจุดอ่อนวึ่งมีอยู่แต่เพิมให้กลายเป้นปัญหารุนแรงมากข้นตามจำนวนสมาชิกที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ ประเด็นที่ว่า การรวมกลุ่มเพื่อเป็นการสมานแันท์ทางกาเรมืองระหว่างประเทศใหญ่ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอมนีที่เคยมีประวัติศาสตร์ความขัดแยง และเคยทำสงครามกันมาในอีดตหลายตอ่หลายครั้งนั้นการรวมกลุ่มกันจะทำให้เกิดการจับกลุ่ม่ย่อยในกลุ่มใหญ่เพื่อการเผชิญหน้ากันเองได้หรอืไม่เพระาแน่นอนว่าความสัพมันะ์ระหว่างประเทศ "หัวโจกใหญ่" หรือบรรดามหาอำนาจทางการรบในกลุ่ม เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศษ เยอมนี สเปน และอิตาลี นั้นย่อมจะเคยมีความสัมพันธ์กับประเทศสมาชิกในกลุ่มใระดับที่ดีมากน้อยแตกต่างกัน ดังนั้น การจับขั้นกันกับประเทศเล็กๆ ในกลุ่มย่อยมีทางเป็นไปได้ แะนั้นอาจจะเป็นสัญญาณอันตรายของสหภาพยุโรปในอนาคต เพราะมหาอำนาจทางการรบของยุโรปในอดีต เชน 5 ประเทศดังกล่าวอาจจะตั้งเป็นก๊กและเผชิญหน้ากัน ความขัดแย้งอาจเกิดขึ้นได้ไม่ยาก ในอดคร ประเทศเหล่านี้ ก็เคยแบ่งกลุ่มกันทำสงครามมาหลายครั้ง เช่น สงครามเก้าปี และสงครามสเปน
จากการดำนเนิงานของกลุ่มสหภาพยุโรปที่ผ่านมา อาจกล่าวได้ว่า สไภาพยุโรปยังมีปัญหาบาวประการที่เป้นจุดอ่อนทำให้ความสามารถในการแข่งขันของสหภาพยุโรปยังต่ำก่าของสหรัฐมาก ทั้งที่ขนาดจีดีพีของสหภาพยุโรปที่มีเกือบ 80% ของสหรัฐ ทำให้การต่อรองแม้กับสหรัฐประเทศเดียวก็จับว่าค่อนข้างยากแล้ว อย่างไรดี ในภาพรวมจะเห็ว่า จุดอ่อนของสหภาพยุโรปมาจาสาเหตุอย่างน้อย 4 ประการด้วยกัน ประการแรกความแตกต่างในนโยบายต่างปรเทศของสมาชิก ประการที่สอง ข้อจำกัดในการปกิบัติและการฝ่าฝืนหลักาเกณฑ์ของสหภาพยุโรป ประการที่สาม ปัญหาในการปฏิบัติตามนโยบายร่วมด้สนการเษตร และประการที่สี่ ความลักลั่นคะหว่างสมาชิกของสหภาพยุโรปที่ใช้เงินยูโรกับไม่ได้ใช้เงินยูฌร แต่ก่อนที่จะกล่วถึงสาเหตุที่ทำให้สหภาพยุโรปมีจุดอ่น ก็ควรที่จะได้นำความเป้นมและหลักเกณฑ์ข้อตกลงของสมาชิกในกลุ่มสหภาพยุโรปมาอธิบายเพื่อประกอบความเข้าใจที่ชัดเจนขึ้น
- http://dcms.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=46607&query=%CA%CB%C0%D2%BE%C2%D8%E2%C3%BB&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2561-01-09&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=19&maxid=119
- https://sites.google.com/site/tanashit3011/shphaph-yurop-european-union-eu
ในปี ค.ศ. 1978 สมาชิกประชาคมยุโรปมีการตกลงร่วมกันที่จะใช้ระบบการเงินยุโรป จนถึงปี ค.ศ. 1990 ก็ได้จัดตั้งเป็น "สหภาพการเงินยุโรป" ทั้งนี้เพื่อให้เกิดเสถียรภาพของตาดการเงินและการลงทุนในกลุ่มประชาคมยุโรป ซึ่งต่อมาได้จัดตั้งเป้นเขตเงินยูโรหรือ "ยูโรโซน" และในวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1993 กลุ่มประชาคมเศณาฐกิจยุโรป ได้มีการลงนามในสนธิสัญญามาสทิรชต์ ที่ประเทศสเปน ซึ่งเป้นสัญญาที่นำไปสู่การจัดตั้งสหภาพยุโรป อันเป็นกลุ่มที่ีมีรากฐานมาจากกลุ่มประชาคมเศราฐกิจยุโรป หรือ อีอีซี ซึ่งการรวมหลุ่มของประเทศในยุโรปเป็นสหภาพยุโรปนี้มีวัตถุประส่งค์เพื่อส่งเสริมด้านเศราฐกิจและความสัมพันะ์ทางการเมืองที่ดีในกลุ่มประเทศสมาชิก
ต่อมาในปี ค.ศ. 1995 ออสเตรีย สวีเดน และฟินแลนด์ ได้เข้าร่วมเป้นสมาชิกใหม่ของสหภาพยุโรป และในปี ค.ศ. 2002 สมาชิก 12 ประเทศ จาก 15 ประเทศ คืองรั่งเศส เยอมนี อตาลี กรีก ฟินแลนด์ ไอร์แลนด์ สเปน เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก ออสเตรย และโปรตุเกส ได้ตกลงที่จะใช้เงินยู่โรปทนที่เงินสกุลแห่งชาติของตน ส่วนอีก 3 ประเทศ คือ สหราชอาณาจักร สวีเดน และเินมาร์ก ยังไม่ได้เข้าร่วม เนื่องจากยังไม่มีความพ้อมบางประการ โดยเฉพาะ สหราชอาณาจักรซึ่งถือว่าเป้นประเทศใหญ่อันดับสองในยุโรปรองลงมาจากเยอมนีนั้น ยังไม่สามารถผ่านประชามติควาเมห็นชอบจากประชาชนในประเทศของตนได้ ต่อมาในปี ค.ศ. 2004 สหภาพยุโรปได้ขยายจำนวนจาก 15 ประเทศ เป็น 25 ประเทศต่อมาในปี 2007 มีสามชิกใหม่ เพ่ิมอี 2 ประเทศ รวมเป็น 27 ประเทศ
ในระยะเริ่มต้นที่ใช้เงินยูโรนั้น สหภาพยุโรปได้ตกลงร่วมกันว่าในวันที่ 1 มกราคม 1999 สหภาพยุโรป 12 ประเทศ จะเริ่มใช้เงินยูโรเป็นครั้งแรกในระบบการหักบัญชีของธนาคารซึ่งเป้นการเตรียมการเบื้องต้นก่อนทีจะเร่ิมีการใช้เงินตราร่วมกันในตลาดแลกเปลี่ยนซื้อขายในอี 3 ปีต่อมา และเมือถึงวันที่ 1 มกราคม 2002 สมาชิกสหภาพยุโรปที่เข้าร่วมยูดรโซนทั้ง 12 ประเทศ จึงได้เิ่มเงนยูโรในตลาดแลกเปลี่ยนของสมาชิกอย่างเป้นทางกา ต่อมาในวันที 1 มกราคม 2009 มีสมาชิกสหภาพยุโรปใหม่เข้าร่วมใช้เงินยูโรอีก 4 ประเทศ คือ สโลวาเนีย มอลตา ไซปรัส และสโลวาเกีย รวมเป้น 16 ประเทศในปัจจุบัน ดยมีสโลวาเกีย เป้นประเทศล่าสุดที่เข้าร่วม
การขยายตัวของสหภาพยุโรป
ที่ประชุมสุดยอดยุโรป ณ กรุงมาตริค ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1995ได้กล่วถึงการรับสมชิกเพิ่มของสหภาพยุโรปไว้ว่า "เป็นท้งความจำเป็นในทางการเมืองและเป็นโอกาศที่สำคัญย่ิงของยุดรป" ในปี ค.ศ. 199ุุ6 คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปได้รับใบสมัคราเขเ้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปจากประเทศ ต่างๆ รวมท้งสิ้น 14 ประเทศซ่งประกอบด้วยประเทศจากยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก 10 ประเทศและประเทศอื่นๆ อีก 4 ประเทศ ในขณที่คณะกรรมาธิการยุโรปไม่เห็นด้วยกับการรับตุรกีเข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 1989 แต่กลับมีความเห็นยอมรับใบสมัครของไซปรัสและมอลตาในวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1993 สำหรับแนวโน้มการรับสวิตเซอร์แลนด์เข้าเป็นสมาชิกนั้นยังคงชะงักงันเนือง จากชาวสวิสได้ลงประชมติไม่เข้ร่วมใน "เขตเศราฐกิจยุโรป" เมื่อเดือนธันวาคม 1992 ในการนี้คณะกรรมธิการยุโรปได้หารือกันถึงการรับประเทศที่ได้ทำ "ข้อตกลงยุโรป" กับสหภาพยุโรปเข้าเป็นสมาชิกก่อน ฉะน้น การพิจารณารับประเทศกลุ่มนี้เข้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปนี้เองจึงได้กลายเป็นหัวใจสำคัญของนโยบายการรับสมาชิกใหม่ของสหภาพยุโรปในเวลานั้น ต่อมาในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1996 ที่ประชุมสุดยอดยุโรปที่เมืองฟลอเรนซ์ได้ระบุว่า การเจรจารับสมาชิกรอบแรกที่จะทำกับกลุ่มประเทศยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกจะมีขึ้นพร้อมๆ กับการเจรจารับไซปรัสเป้นสมาขิก คอในเวลา 6 เอืนหลังจากการประชุมระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิกส้ินสุดลง การประชุมระหว่างรัฐบาลดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ประการหนึ่ง คือเพื่อเตียมสหภาพยุโรปให้สามารถรองรบการมีสมาชิกเพิมขึ้นในระดับ 20-25 ประเทศ ทั้งนี้โดยการปฏิรุปกระบวนการตัดสินใจและโครงสร้างทางด้านสถาบันให้พัฒน ขึ้น ทั้งในเรื่องประสิทธิภาถภ ความแน่นอนและความชอบธรรม
บรรดาประเทศในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกต่างก็มอง่การเข้าเป็นสมาชิกของ สหภาพยุโรปนั้น จะเป็นหนทางไปสู่การสร้างความมันคงและเป้นการส่งเสริมกระบวนการพัมนาประเทศ ของตนให้ทั้นสมัย อันจะเป็นผลให้การปรับเปลี่ยนไปสู่ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยและระบบ เศราฐกิจแบบตลาดเสรีเป้นไปอย่างมีเสถียรภาพ ในขณะเดียวกันสหภาพยุโรปเองก็มองเห็นความสำคญของการรบยุโรปตะวันออกเข้า เป็นสมาชิก เรพาะเชื่อว่าการสถาปนาหลัการทางการเมืองและเศราฐกิจแบบยุโรป
ตะวันตกให้แก่ ประเทศเพื่อบ้านในยุโรปตะวันออกจะเป้นผลดีในระยะยาว สหภาพยุโรปให้ความสำคัญกับประดยชน์ใทางการเมืองดังกล่าวมากกว่าประดยชน์ในทางเศณาฐกิจ คือ การขยายตลาดเดียวแก่งยุรป ดังนั้นเมื่อสงครามเย็นสิ้นสุดลงสหภาพยุโรปจึงพบว่าตนเองจำเป็นต้องมบทบาท สำคัญในการเผยแพร่โครงสร้างทางสังคมอันมีรากฐานอยู่บนความมั่นคงความเจริญรุ่งเรื่อง ความเสมอภาคทางสังคม และความเป็นประชาธิปไตย ให้ขยายไปทัวทวีปยุโรป การขยายตัวของหสหภาพยุโรปไปทางตะวันออกจะมีผลกระทบต่อนโยบายการรักษาความมั่นคงเมืองคำนึงถึงรัสเซีย อย่างไรก็ดี การขยายตัวโดยรับยุโรปตะวันออกเข้าเป็นสมาชิกนั้นนอกจากมีผลกระทบต่อความเห็นพ้องต้องกันของประเทสสมาชิกสหภาพยุโรปในเรื่อง ของการบูรณาการยุโรปแล้ว ยังเป็นการทดสอบว่าประเทศเหล่านี้จะมีความสามารถในการปฏิรูปมากน้อยเพียงใด อีกด้วย ควาทท้าทายครั้งสำคัญนี้ไม่สามารถแก้ไขได้โดยการใช้รูปแบบการรับสมชิกใหม่ที่สหภาพยุโรปตะวันออกต้องมระดบการบูรณาการที่พอสมควรเสียก่อนจึงจะสามารถ รับเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปได้ ด้วยเหตุนี้สหภาพยุโรปจึงได้ประกาศที่จะดำเนินการควบคุ่กันไปทั้งในการ บูรณาการทางลึกและการรับสมาชิหใม่ เป้าหมายของสหภาพยุโรปคือการประสานกลยุทธ์เตรียมการเข้าเป็นสมาชิก รวมทั้งการเจรจารับประเทศยุโรปตะวันออกเข้าเป็นสมาชิกรวมทั้งการเจรจารับประเทศยุโรปตะวันออกเข้าเป็นสรชิกให้เข้ากัแนวทางของ "แผนการดำเนินงานปี ค.ศ. 2000" ซึ่ง ประกอบไปด้วยผลสรุปของการประชุมระห่างรัฐบาลประเทศสมาชิกในช่วงปี ค.ศ. 1996-1997 การปฏิรูประบบงบประมาณจากแหล่งเงินทุนของสหภาพยุโรปเอง การปฏิรูปนโยบายโครงสร้าง นดยบายการสร้างเอกภาพและนโยบายร่วมด้สนการเกษตร การดำเนินกาจัดตั้งสหภาพเศรบกิจและการเงินในขั้นตอนที่สาม และอนาคตของ "สหภาพยุโรปตะวันตก" เป็นต้น อย่างไรก้ดี การรับสมชิกใหม่จากยุโรปตะวันออกอาจนำมาสู่ความขัแยเ้งในเรื่องการจัดสรรประเทศที่จะได้รับเงินช่วยเหลือจากกองทุนสร้างเอกภาพ และประเทศผุ้ให้เงินช่วยภายในของสหภาพยุโรป และอาจนำทางให้ทางเลือกในการบรรณาการยุดรปจำกัดวงแคบขึ้น นอกจากนี้อาจนำไปสู่การถแเถียงกันในเรื่องรุปแบบตางๆ ของการบูรณาการยุโรป การมีความยืดหยุ่นเพ่ิมขึ้น หรือการเปลี่ยนศูนย์กลางในทางการเมืองและเศราฐกิจภายในของสหภาพยุโรป เป็นต้น
จุดแข็งและจุดอ่อน เมื่อสหภาพยุโรปขยายขนาด
เนื่องจากสหภาพยุโรปตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ทางเศราฐกิจและการเมืองควบคู่ันดยเฉาพะด้านเสราบกิจซึ่งเป็นประเด็นสำคัญที่ประเทศในกลุ่มสมชิกจะต้องร่วมกันทำให้เกิดประโยชน์เต็ม่เพราะเกี่ยวข้องโดยตรงกบประชาชนทุกคนในประเทศสมาชิก และมักมีปัญหาเกิดขึ้นบ่อยๆ นอกจากความร่วมมือตามข้อตกลงในสนธิสญญาของสหภาพ เช่น การใช้เงินสกุลเดียวกัน การเปิดพรมแดนเดินทางไปมาค้าขายกันได้สะดวก การใช้ระบบภาษีศุลการกรเดียวกันแล้ว ก็ยังมีประเด็นปลีกย่อยที่ต้องพิจารณาอีกด้วย เช่น การเคลือนย้ายแรงงาน และการเคลื่อนย้ายเงินลงทุน เป็นต้น ซึ่งแตละประเทศมีสภาพแรงงานและฐานะเงินลงุทนไม่เท่ากัน ความเลหื่อล้ำด้านผลประโยชน์ทางเศราฐกิจจึงย่อมเกิดขึ้น ซึ่งอาจจะบานปลายกลายเป็นจุดอ่อนของการขยายตัวของกลุ่มสหภาพยุโรปไปในที่สุด ซึ่งจะแยกพิจารณาจุดแข้งและจุดอ่อนของสหภาพยุโรปจากการขยายขนาดของกลุมในประเด็นต่อไปนี้
จุดแข็ง การขยายขนาดกลุ่มหใขึ้น แน่นอนว่าทำให้สหภายุดรปมีความแข็งแกร่งมากขึ้น มีลู่ทางที่จะเกิดความร่วมมือทางเศราฐกิจภายในกลุ่มได้มากขึ้น และพลังอำรสจในการต่อรองทางการต้าของสหภาพยุโรปทั้งกลุ่มกับประเทศนอกกลุ่มจะแข็งแกร่งมากขึ้นตามไปด้วยอกจากนี้ การที่สหภาพยุฏรปทั้งกลุ่มกับประเทศนอกกลุ่มจะแข็งแกร่งมากขึ้นตามไป้วยนอกจากนี้ การที่สหภาพยุโรปเป็นการรวมกลุ่มที่มีวัตถุประสงค์ทางการเมืองด้วย จึงวย่ิงทำให้ความมั่นคงทางการเมืองและดุลอไนาจกับประเทศอื่นๆ ในโลกมีมากขึ้นเมือขนาดขงอสหภาพยุโรปขยายใหย่ขึ้น กล่าวคือ ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างประเทศนอกกลุ่มกับสมาชิกในกลุ่มจะมีน้อยลงเพราะสหภาพยุโรปมีดุลอำนาจการเมืองระหว่างประเทศสูง
จุดอ่อน มองอีกด้านหนึ่ ก็มีคำถามว่า ขนาดของสหภาพยุดรปที่ขยายใหญ่ขึ้นี้ จะช่วยเพ่ิมจุดแข้.ให้กับสหภาพยุดรปจริงๆ หรือว่าจะเป้นการขยายจุดอ่อนวึ่งมีอยู่แต่เพิมให้กลายเป้นปัญหารุนแรงมากข้นตามจำนวนสมาชิกที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ ประเด็นที่ว่า การรวมกลุ่มเพื่อเป็นการสมานแันท์ทางกาเรมืองระหว่างประเทศใหญ่ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอมนีที่เคยมีประวัติศาสตร์ความขัดแยง และเคยทำสงครามกันมาในอีดตหลายตอ่หลายครั้งนั้นการรวมกลุ่มกันจะทำให้เกิดการจับกลุ่ม่ย่อยในกลุ่มใหญ่เพื่อการเผชิญหน้ากันเองได้หรอืไม่เพระาแน่นอนว่าความสัพมันะ์ระหว่างประเทศ "หัวโจกใหญ่" หรือบรรดามหาอำนาจทางการรบในกลุ่ม เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศษ เยอมนี สเปน และอิตาลี นั้นย่อมจะเคยมีความสัมพันธ์กับประเทศสมาชิกในกลุ่มใระดับที่ดีมากน้อยแตกต่างกัน ดังนั้น การจับขั้นกันกับประเทศเล็กๆ ในกลุ่มย่อยมีทางเป็นไปได้ แะนั้นอาจจะเป็นสัญญาณอันตรายของสหภาพยุโรปในอนาคต เพราะมหาอำนาจทางการรบของยุโรปในอดีต เชน 5 ประเทศดังกล่าวอาจจะตั้งเป็นก๊กและเผชิญหน้ากัน ความขัดแย้งอาจเกิดขึ้นได้ไม่ยาก ในอดคร ประเทศเหล่านี้ ก็เคยแบ่งกลุ่มกันทำสงครามมาหลายครั้ง เช่น สงครามเก้าปี และสงครามสเปน
จากการดำนเนิงานของกลุ่มสหภาพยุโรปที่ผ่านมา อาจกล่าวได้ว่า สไภาพยุโรปยังมีปัญหาบาวประการที่เป้นจุดอ่อนทำให้ความสามารถในการแข่งขันของสหภาพยุโรปยังต่ำก่าของสหรัฐมาก ทั้งที่ขนาดจีดีพีของสหภาพยุโรปที่มีเกือบ 80% ของสหรัฐ ทำให้การต่อรองแม้กับสหรัฐประเทศเดียวก็จับว่าค่อนข้างยากแล้ว อย่างไรดี ในภาพรวมจะเห็ว่า จุดอ่อนของสหภาพยุโรปมาจาสาเหตุอย่างน้อย 4 ประการด้วยกัน ประการแรกความแตกต่างในนโยบายต่างปรเทศของสมาชิก ประการที่สอง ข้อจำกัดในการปกิบัติและการฝ่าฝืนหลักาเกณฑ์ของสหภาพยุโรป ประการที่สาม ปัญหาในการปฏิบัติตามนโยบายร่วมด้สนการเษตร และประการที่สี่ ความลักลั่นคะหว่างสมาชิกของสหภาพยุโรปที่ใช้เงินยูโรกับไม่ได้ใช้เงินยูฌร แต่ก่อนที่จะกล่วถึงสาเหตุที่ทำให้สหภาพยุโรปมีจุดอ่น ก็ควรที่จะได้นำความเป้นมและหลักเกณฑ์ข้อตกลงของสมาชิกในกลุ่มสหภาพยุโรปมาอธิบายเพื่อประกอบความเข้าใจที่ชัดเจนขึ้น
- http://dcms.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=46607&query=%CA%CB%C0%D2%BE%C2%D8%E2%C3%BB&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2561-01-09&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=19&maxid=119
- https://sites.google.com/site/tanashit3011/shphaph-yurop-european-union-eu
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...