วันอาทิตย์ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2561
Euro
ระบบเงินตราสกุลเดียว กรณีเงินยูโรแนวคิดในการใช้เวินรตราสกุลเดียวร่วมกันในกลุ่มประเทศต่งๆ มีมานแล้ว เช่น สหภาพยุโรปกลุ่มประเทศใลาตินอเมริกา เอเชียบางประเทศ และแฟริกา เป็นต้น แต่กลุ่มประเทศที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงในการใช้เงินตราสกุลเดียวร่วมกันก็คือ กลุ่มสหภาพยุโรป โดยเงินสกุลดังกล่าวเรียกว่า "เงินยูโร"
เงินยูโร เป็นเงินตราสกุลหนึ่งที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปนำมาใช่ร่วมกัน โดยเร่ิมนำมาใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2542 กับสมาชิก 11 ประเทศ โดยในช่วง 3 ปีแรกของการนำมาใช้นั้นการทำธุรกรรมต่างๆ จะเลือกใช้ได้ทั้ง เงินยูโร เงินยูโรและเงนสกุลท้องถ่ินของแต่ละประเทศและเงินสกุลท้องถ่ินของแต่ละประเทศและตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2545 การทำธุรกรรมต่างๆ จะถูกเปลี่ยนเป็นเงินยุโรเท่าน้น ต่อมามีการเข้าร่วม เพิ่มเติมอีก และนอกจากนั้นยังมีประเทศนอกกลุ่มสหภาพยุโรปบางประเทศร่วมใช้ด้วยhttp://www.stou.ac.th/Study/Services/Sec/60340(2)/SingleCurr4.html
ทวีปยุโรปนับเป็นกลุ่มแรกที่เข้าสูระบบเงินตราสกุลเดียวได้สำเร็จและทำให้ระบบนี้เป็นที่รู้จักอยร่างแพร่หลาย จากการที่ยุโรปเป็นตลาดการต้าใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกและเจริญรุ่งเรื่องมานาน มีการค้าระหว่างประเทศอย่างกว้างขวาง แต่การใช้สกุลเงินที่แตกต่างกันทำให้การต้าขายในแถบยนี้ยุ่งยากซับซ้อน ต้องมีการแลกเปลี่ยนเงินตราจากสกุลหนึ่งไปเป็นอีกสกุลกนึ่งเพื่อใช้ใการชำระค่าสนิค้าและบริกาต่างๆ ทำให้เกิดต้นทุนทางธุรกรรมและความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ดังนั้นในทศวรรษ ที่ 1930 องค์การสันนิบาตชาต ิไ้พิจารณาถึงแนวทางี่จะให้ประเทศสมาชิกในยุโรปรวมตัวกันทั้งด้านเศรษฐศาสตร์และการเงินเพื่อลดปัญหาดังกล่าว แต่สงคามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ความพยายามนีนีต้องหยุดชะงักลง และภายหลังทีมีการรวมตัวกันของประเทศกลุ่มหนึ่งในยุโรปเป็ประชาคมเศราฐกิจยุโรป แนวคิดเรื่องความร่วมมือทางเศราฐกิจและการเงินได้ถูกนำกลับมาพิจารณาอีกครั้ง โดยมีแนวคิดที่จะให้ประเทศในยุโรปใช้นโยบายทางการเงินร่วมกัน เพราะนักวิชาการต่างมองวารปะชาคมเศรษฐกิจยุโรปมีความพร้อมที่จะพัฒนาไปสูการเป็นสหภาพเศรษบกิจได้ จึงทำให้ความคิดเรื่องสกุลเงินกลางและธานาคารกลางหนึ่งเดียวของประเทศในกลุ่มยุดรปถูกนำมาพิจารณาร่วมกัน
ในทศวรรษที่ 1980 เป็นช่วงที่แนวคิดังกล่าวมีการพัฒนาอย่งเป็นรูปธรรม โดยมารวางแผนเพื่อก่อตั้งองค์กรด้านเศรษฐกิจและการเงินร่วมกัน กฎหมายยุโรปตลาดเดียว ที่ได้รับการบลวนามเมื่อ ค.ศ. 1986 ได้ขยายขอบเขตความร่วมมือทางด้านเสณาฐกิจและการเมืองระห่างปรเทศสมาชิกในกลุ่มประชาคมเสณาฐกิจยุโรป จนกระทั่งใน ค.ศ. 1992 ได้มีการลงนามร่วมกันในสนธิสัญญามาสตชท์ ให้มีการก่อตั้งสหภาพยุโรป ขึ้น หมายถึง การรวมยุดรปเป็นหนึ่งเดียวหรือเรยกว่า เป็นตลาดเดียว โยข้อกีดกันระหว่างประเทศทางเศณาฐกิจถูกยกเลิกไป เรงงาน สินค้า และงเนทุนสมารถเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศอย่างเสรี และกำหนดให้ ค.ศ. 1999 เป็นปีที่เร่ิมใช้สกุลเงินกลาง รวมทั้งวางรากฐานยุทธศาสตร์ทางการเงินร่วมกัน โยสกุลเงินกลางนี้ต่อมาเรียกว่า เงินยูโร เป้นสกุลเงินที่ปรเทศในกลุ่มยูโรโซนใช้ร่วมกัน ประเทศกลุ่มยูโรโซนประกอบได้ด้วยประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป ที่ใช้เงินสกุลยูโรร่วมกันและเป็นสกุลเงินเดียวที่สามารถใช้ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายhttp://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sec/Lom20/05-
03.html
พัฒนาการและแนวคิดการจัดตั้งสกุลเงินแห่งยุโรป
สนธิสัญญามาสทริชต์ เป้นข้อตกลงที่จัดทำขึ้นโดยคณะมตรียุโรปกรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 17 มิถูนายน พ.ศ. 2549 และเป้นจุดเร่ิมจ้รของการเกิดสกุลเงินยุโรป ภายใต้ข้อตกลงมาสทริชต์ การดำเนินนโยบายการคลังของประเศสมาชิกในกลุ่มสหภาพยุโรปจะต้องเป้นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีเป้าหมายหลักในการควบคุมเงินเฟ้อ
การจัดทำโครงการสร้างเสถียรภาพ พ้อมกับการปรับระดับเสถียรภาพเศราฐกิจของกลุ่มประเทศที่มีพื้นฐานเศรษฐกิจแตกต่างจากประเทศเศณาฐฏิจชั้นนำในกลุ่มยุโรป ประเทศสมาชิกต้องดำเนินนธยบายการเงินในการควบคุมภาวะเงินเฟ้อให้อยู่ในระดับต่ำและสร้างเสถียรภาพของราคาอักทั้งมีการปรัปรุงระเบียบกฎเกณฑ์ให้เกิดการโอนย้ายปัจจัยกาผลิต โดยเฉาพะเรื่องแงานอยางเสีเพื่อส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวของการจ้างงาน
แนวคิดริเร่ิมมาจั้งแต่สิ้นสุดระบบอัตราแลกเปลี่ยนอ้างอิงกับทองคำ แต่สภาพแวดล้อมทางการเมืองไมเดือ้อำนวย แต่ก็ตระหนักถึงการที่จะต้องรักษาอัตราแลกเปลี่ยนระหว่งกลุ่มประเทศสมาชิกให้มีความผันผวนน้อยที่สุด เพ่อสร้างความสามารถในการแข่งขันกับประเทศเสณาฐกิจชั้นนำต่างๆ โดยริเริ่มเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนให้อยูในช่วงแคบๆ ไม่ให้ผันผวนมากนัก ซึ่งเป็นแนวคิดของการกำหนดกรอบความเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนทำให้เกิดนโยบายแนวคิดของการจัดตั้งระบบการเงินแห่งยุดป เพ่อให้ต้นทุนการปรับของอัตราและเปลี่ยนระหว่างประเทศสมาชิกลดลงปัจจัยหลักคือ การรักษาอัตราเงินเฟ้อของอลุ่มประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป ให้อยู่ในระดับที่ต่ำ มีอัตราใกล้เคียงกันระหว่างประเทศสมาชิก
การปรับเข้าหากันของโครงสร้างพื้นฐาน
- เป็นช่วงบูรณาการของการเป็นหนึ่งเดียวของตลาดยุโรป ทั้งตลาอกสินคาแท้จิรงและตลาดสินทรัพย์ทางการเงินเปิดเสรีการค้า การบริการ การลงทุนระหว่างประเทศ โดยมีปััจัยความเสี่ยงคือการเก็งกำไร ค่าสกุเงินท้องถ่ินต่างๆ เนื่องจากความแตกต่างของปัจจัยพื้นฐานทางเศษรฐกิจ
- สร้างมาตรฐษนของการปรับตัวเข้าหากันจดตั้งธนาคารกลางแห่งยุโรป
- ใช้เงินสกุลยูโรอย่างสมบูรณ์ และให้ ECB เป็นผุ้กำหนดนโยบายทงการเงินภายในขอบเขตทของประเทศสมาชิกการจัดตั้งเงินยูโร ลดต้นทุน ทางกรเงินอันเนื่องมาจากอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างปะเทศสมาชิกของประเทศยุโรป
การปรับเปลี่ยนเข้าสู่การใช้เงินสกุลยูโร เร่ิมตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 ประเทศมาชิกในกลุ่มยูโรโซนจะทำการแปลงค่าภายใต้อัตราแลกเปลี่ยนตายตัว ดดยแสดงราคสินค้าสองสกุถล ระยะเวลาที่ 2 เงินยูโรถูกนำมาใช้ภายใต้ระบบราคาค๔ู่เป็นเวลา 3 ปี ธนาคารแห่งยุโรป จะเริ่มรับโอนบทบาทการกำหนดนโยบายการเงินจากธนาคารกลางของประเทศสมาชิก, ช่วงระยะเวลาที่ 3 ธนาคารกลางแห่งยุโรปจะเร่ิมนำเงินยูโรเข้าสูระบบการซื้อขายแลกเปลี่ยนประจำวันในขอบเขตประเทศสมาชิกในกลุ่มยูโรโซน
บทบาทของเงินยูโร
- การใช้เป็นหน่วยราคาสินค้าและบริการ เงินสกุลกลางของประเทศสมาชิกใช้เป็นเงินอ้างอิงหลักสำหรับการกำหนดราคา สินค้า ช่วยลดต้นทุนในการดำเนินธุรกรรมระหว่งประเทศสมาชิก
- การดำรงฐานะเป็นเงินทุนสำรองเงินตราระหว่างประเทศ การดำรงเงินทุนสำรองระหว่างประเทศแต่ละประเทศพิจารณาจากธุรกรรมการต้าของประเทศตนเองกับประเทศคู่ค้าเป็นสำคัญ
- การเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ หมายถึงความสามารถในการแลกเปลี่ยนระหว่างสกุลเงิน เช่นเปลี่ยนเงินยูโรเป็นเงินท้องถ่ินที่ยอมรับได้ เสมือนกับเงินยูโรเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยน...http://fin.bus.ku.ac.th/thai/pdf/ch21.pdf
ข้อตกลง แมสทริตช์ ได้เห็นชอบสนธิสัญญาว่าด้วยสหภาพเศรษบกิจและการเงิน กำหนดเป้าหมายที่จะรวมเศรษบกิจและการเงินของยุโรปเป็นหนึ่งเดียว และกำหนดแนวทางการใช้เงินสกุลเดียวภายในปี 1999 ทั้งนี้จะดำเนินการจัดตั้งธนาคารกลางยุโรป เพื่อดุแลนธายการเงินร่วมกัน เช่น ดูแลเรื่องปริมาณและอัตราแลกเปลี่ยนของเงิน ยูโร และกำหนดอัตราดอกเบี้ยของประเทศสมาชิก เป็นต้น และกำหนดเงืินไขให้ประเทศที่จะเข้าร่วมต้องปรับระบบเสราฐกจิของแต่ละประเทศให้อยู่ในระดับเดียวกัน ก่อนที่จะร่วมกันใช้เงินสกุลเดียว ดังนี้
- การขาดดุลงบประมาณประจำปีต้องไมเ่กินร้อยละ 3 ของ จีดีพี
- ยอดคงค้างหนี้รัฐบาลต้องไม่เกินร้อยละ 60 ของ จีดีพี
- อัตราเงินเฟ้อจะสูงกว่าอัตราเฉลี่ยของ 3 ประเทศสมาชิกที่มีอัตราเงินเฟ้อต่ำสุดได้ไม่เกิน ร้อยละ 1.5
- อัตราดอกเบียระยะยาว (พันธบัตรรัฐบาล) จะสูงกว่าอัตราเฉลี่ยของ 3 ประเทศสมาชิกที่มี อัตราเงินเฟ้อต่ำสุดได้ไม่เกินร้อยละ 2 ต่อปี
- อัตราแลกเปลี่ยนจะต้องมีเสถียรภาพ โดยเคลื่อนไหวในกรอบของกลไก อีอาร์เอ็ม ไม่ต่ำหว่า 2 ปี ประเทศสมาชิกต้องไม่ลดค่าเงินภายใน 2 ปี ก่อนการตัดสินใจเข้าร่วม
- อย่างไรก็ตามเงื่อนไขหรือเกณฑ์ดังกล่วยือหยุ่นได้บ้าง โดยพิจารณาแนวโน้มในอนคต ว่าโอกาสที่แต่ละประเทศจะมีโอกาสปรับตัวเข้าสู่เกณฑ์ในที่สุด
ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปได้เริ่มนำเงินยูโรมาใช้เมื่อวันที่ 1 มกราคม 1999 โดยเป็นการใช้เงินทางระบบบัญชี ตราสาร และการโอนเงินเท่าน้ัน ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ของเงินยูโรได้เร่ิมนำมาใช้เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2002 ปัจจุบันมีประเทศมาชิกสหภาพยุโรปที่เป็นสมาชิก อีเอ็มยู และร่วใช้เงินยูโร 12 ประเทศ ...https://sites.google.com/site/thnkvt32435/rabb-ngein-shphaph-yurop
กลไกอัตราแลกเปลี่ยนยุโรป
กลไกอัตราแลกเปลี่ยนยุโรป เป็ฯระบบซึ่งริเร่ิมโดยประชาคมยุโรป ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2522 โดยเป็นส่วนหนึงของระบบการเงินยุโรป เพื่อลดความแปรปรวนของอัตราแลกเปลี่ยนและบรรลุเสถียรภาพการเงินในยุโรป เพื่อลดความแปรปรวนของอัตราแลกเปลี่ยนและบรรลุเสถียรภาพการเงินในยุโรป เพื่อเป้ฯการเตรียมการสำหรับสหภาพยเศรษฐกิจและการเงิน และการริ่เร่ิมเงินยูโรสกุลเดียว ซึงมีขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 หลังเร่ิมใช้เงินยูโรนโยบายได้เปลียนเป็นการเชื่อมโยงสกุลเงินของประเทศนอกยูโรโซนเข้ากับเงินสกุลยูโรโดยมีสกุลเงินกลางเป็นจุดกลาง เป้าหมายคือ เพื่อปรับปรุงเสถียรภาพของค่าเงินเหล่านี้เช่นเีดยวกับการเพ่ิมกลไกการประเมินสำหรับสมาชิกยูโรโซนที่มีศักยภาพ กลไกนี้รู้จักกันในชื่อ อีอาร์เอ็ม 2
อีอาร์เอ็ม ตั้งอยุบนแวคิดของอัตราการแลกปลี่ยนเงินตราควที่ แต่โดยอัตราแลกเปลี่ยผันแปรได้ภายในขอบเขต ซึ่งแนวคิดดังกล่วยังได้ชือว่า ระบบกค่งอิงเงินสกุลอื่น ก่อนเริ่มใช้เงินสกุลยูโร อัตราแลกเปลี่ยนขึ้นอยู่กับหน่วยเงินตรายุโรป ซึ่งมูลค่าพิจารณาจาอค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของเศรษฐกิจประเทศผู้เข้าร่วม
กริด ของอัตราทวิภาคี คำนวณได้จากพื้นฐานของอัตรากลางเหล่านี้ที่แสดงใน อีซียู และความผันผวนสกุลเงินต้องถุกจำกัดภายในขอบ 2.25% ทั้งสองฝ่ายของอัตาทวิภาคี (ยกเว้นสกุลบีร่าอิตาลี ซึงอนุญาตให้ขอบเป็น 6%) การแทรกแซงที่กำหนดและข้อตกลงกู้ยืมคุ้มครองสกุลเงินที่เข้าร่วมมิให้มีอัตรแลกเปลี่ยนผันผวนมากขึ้น ในพ.ศ. 2538 ขอบเขตดังกล่าวขยายเป็น 15% เพื่อจัดให้เหมาะสมกับเงินฟรังก์ฝรั่งเศสและสกุลอื่น
การถูกบีบออาจาก อีอาร์เอ็ม ของปอนด์สเตอร์ลิง สหราชอาณาจักรเข้า อีอาร์เอ็มในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2533 แต่ถูกบีบให้ออกจากโครงการภายในสองปีหลังปอนด์สเตอร์ลิงได้รับแรงกดดันอย่างหนักจากผุ้สังเกตุการเงินตรา รวมทั้งจอร์จ โซรอส เหตุการณ์ตลาดหลักทรัพย์ตกเมือวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2535 ที่เกิกขึนตามมา ถูกขนานนามภายหลังว่า "วัพุธทมิ)" มีการทบทวนทัศนะต่อเหตุกาณณ์นี้โดยแสดงสมารรถนะทางเศรษฐกิจอันเเข็งแกร่งของสหราชอาณาจักรหลัง พ.ศ. 2535 โดยมีผุ้วิจารณืเรียกว่า "วันพุธขาว" นักวิจารณืบางคน หลังนอร์แมน มเท็บบิต เรียก อีอาร์เอ็มว่าเป็น "กลไกถดถอยตลอดกาล" หลังสหราชอาณษจักรเข้าสู่ห้วยเศรษฐกิจตกต่ำในช่วงต้นคริสต์สตวณรษ 1990 สหราชอาราจักรใช้เงินกว่า หกพันล้านปอนด์พยายามรักษาค่าเงินให้อยู่ในชีดจำกัดแคบๆ โดยมีรายงานกว้างขวางว่ารายได้ส่วนตัวของโซราอสมีถึง 1 พันล้านปอนด์ เที่ยบกับ 12 ปอนด์ของประชากรอังกฤษแต่ละคน และขนานนามโซรอสว่าเป็น "ชายผู้ทุบธนาคารอังกฤษ"...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%84%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%9B
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น