แหล่งที่มาของกฎหมายสหภาพยุโรปนั้นมี 2 แหล่ง คื อกฎหมายหลัก หรือสนธิสัญญา ซึ่งนับแต่การก่อกตั้งประชาครเศรฐกิจยุโรป โดยสนธิสัญญากลุ่ดรม ซึ่งได้ลงนาในปี ค.ศ. 1951 และสธิสัญญาสหภาพยุโรปฉบับปัจจบุันคือสนธิสัญญาลิสบอน ซึ่งไดลงนามในปี ค.ศ. 2003 ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าสธิสัญญายุโรปเปรียบเสมือนว่าเป็นรัฐธรรมนูญของสหภาพยุโรปนั้นเอง ส่วนแหล่งที่สอง คือ กฎหมายรองของสหภาพยุโรปซึ่งออกโดยสถาบันที่ของยุรปนั้นตามนัยแห่งมาตรา 288 ของสนธิสัญญาว่าด้วยการบริหารงานของสหภาพยุโรป มีอยู่ 3 ประเภทคือ
- ข้อบังคับสหภาพยุโรป เป็นกฎหมายอันดับรองจากสนะิสัญญายุโรปที่มีผลผูกพันตามกฎหมาย ตอรัฐสมาชิก ที่จะต้องนำไปปฏิบัติโดยตรงทั้งหมดทุกบทมาตราหลังจากที่ข้องบังคับได้รับความเห็นชอบร่วมกันโดยคณะมนตรียุโรป และรัฐสภายุโรป หรือผ่านความเห็นชอบโดยลำพังของคณะกรรมาธิการยุโรป ซึ่งผลโดยตรงทางกฎหมาย ต่อรัฐสมาชิกนั้นหมายความว่ารัฐบาลของรัฐสมาชิกนั้นๆ ไม่ต้องออกกฎหมายภายในบังคัยใช้อีกและไม่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงบทมาตราในข้อบังคับได้
ดังนั้นเมื่อข้อบังคับหรือกฎระเบียบสหภาพยุโรปได้พิมพ์ประกาศลงในจุสารทางการ ก้มีผลยังคัยใช้แล้วนั้นผลทางกฎหมายก็คือว่าจะมีฐานะทางกฎหมายทีู่กว่ากฎหมายภายใน หล่าวอีกนั้นหนึ่งก็คือว่าข้องบังคับจะมีสภาพบังคับยที่เหนือกว่ากฎหมายภายในเรื่องเีดยวกน หากฎมหมายภายในรัฐสมาชิกขัดหรือแย้งกับข้อบังคับสหภาพยุโรปแล้วจะไม่มีผลบังคับแต่อย่างใด ดังนั้นรัฐมสมาชิกต้องออกฎหมายให้สอดคล้องกับกฎระเบียบยุโรป
จะเห็นว่ากฎหมายของรัฐสมาชิกใช้บังคับภายในรัฐอยู่นั้นส่วนใหญ๋มาจากข้อบังคับยุโรปและเป็นส่วนน้องเท่าน้นที่รัฐสมาชิกออกกฎหมายภายในเอง ผลทางกฎหมายเมือเกิดกรณ๊ที่รัฐสมาชิกไม่ปฏิบัติตามข้อบังคัยยุโรป คือคณะกรรมาธิการยุโรป ซึ่งมีหน้าที่ในการดูแลการบังคับใช้กฎมหยยุโรปของรัฐสมาชิกและสามารถที่จะฟ้องต่อศาลยุติธรรมยุโรปเพื่อให้มีการพิจารณพิพากษา หากพบว่ารัฐสมาชิกละเมิดไม่ปฏิบัติตามกฎหมายยุโรปแล้วผลก็คือจะมีการปรับเป็นตัวเงินแก่รัฐสมาชิกที่ละเมิด
- ข้อกำหนดยุโรป เป้ฯการกำหนแนวทาแก่รฐสมาชิกที่จะนำไปดำเนินการจัดทำเป็นกฎหมายหรือแก้ไขกฎหมายภายในของตนเอง ซึ่งไม่ปฏิบัติตามคณะกรรมธิการยุโรปมีอำนาจที่จะตักเตือนรัฐนั้นให้ดำเนินการตามข้อกำหนดหรืออาจจะฟ้องรัฐดังกล่าวต่อศาลยุติธรมยุโรปเพื่อให้ปฏิบัติตามข้อกำหนด ข้อกำหนดมีจุดประสง์ให้รัฐสมาชิกได้มีกฎหมายหรือหลักปฏิบัติที่สอดคล้องกันและข้อกำหนดนั้นมีผลผุกพันเป็นกฎหมายแก่รัฐที่ข้อกำหนดได้ระบุไว้ ดังนั้นข้อกำหนดนั้นจะทำให้รัฐสมาชิกปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้แล้วออก ซึ่งรัฐสมาชิกสามารถปรับใช้เป็นกฎระเบียบภายในโดยคำนึงถึงข้อจำกัดและความเป็นไปได้ภายในรัฐของตนดังนั้น การนำเอาข้อกำหนดสหภาพยุโรปของรัฐสมาชิกนั้จะมีการปฏิบติที่แตกต่างกันไป
สำหรับข้อกำหนดยุโรปต่างจากข้อบังคับยุโรปในแง่ที่่ว่า ข้อกำหนดยุดรปจะมีการออกข้อกำหนดไปยังผุ้มีอำนาจในรัฐสมาชิกที่จะทำให้ข้อกำหนดยุโรปให้ถูกบังคับใช้เป็นส่นหนึ่งของกฎหมายยภายใน โดยข้อกำหนดนั้นอาจจะมีไปยังรัฐสมาชิกรัฐใดัฐหนึ่งหรือหลายๆ รัฐก็ได้และกำหนดระยะเวลาให้รัฐเหล่าน้ั้นพิจารณาว่าจะใช้วิธีการออกกฎหมายด้วยวิธีใด ซึ่งข้อกำหนดมักจะเป้นการทำให้กฎหมายภายในของรัฐสมาชิกมีความใหล้เคียงกัน อย่างเช่น ข้อกำหนเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยของผลิตภัฒฑ์ ข้อกำหนเรื่องการยอมรับระหว่างกันซึ่คุณสมบัติเกี่ยวกับทันตกรรม
- คำสั่ง เป็นระเบียบข้อบังคัยที่ใช้บังคับแก่รัฐบาลของรัฐสมาชิก บริษัท หรือองค์กรเอกชนจ่างๆ ถือว่าเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่มีผลผุกพันเฉพาะปัจเจกชนที่ระบุไว้ในคำสัง ว฿่งคำสั่งนั้นอาจจะถูกออกโดยการพิจาณร่่วมกันของคณะมนตรียุดรปและรัฐสภายุโรปหรือจากคณะกรรมาธิการยุดรป ซึ่คำสั่งนั้นมีจุดประสงค์เพื่อที่จะให้เจ้าหน้าที่ผุ้มีอนำาจหรือพลเมืองในรัฐกระทำการหรือหยุดกรทะำการอย่างหนึ่งอย่างใด ึ่งคำสั่งจะออกคำตัดสินไปยังคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งและมีผลผุกพันทางกฎมหายอย่่างสมบูรณ์
นอกจานี้ แล้วยังมีคำแนะนำ และความเห็นไม่มีผลผุกพันสถาบันหรือปัเจกชนใด หล่าวคือไม่มีสภาพบังคับ ดดยต่างไปจากระเบียบข้อบังคับ ข้อกำหนซึ่งออกโดยสหภาพยุโรปที่มีสภาพบังคับ แลมีผลผูกพันทางกฎมหายต่อประเทศสมาชิกแต่อย่างใดแตกก็ให้ผลในเชิงโน้มน้าวการตัดสินใจของรัฐสมาชิกเท่านั้นนอกจานี้ แล้วคำพิพากษาซึ่งเป็นควาเห้นของศาลยุติธรรมยุโรปก็ถือว่าเป็นแหล่งที่มาของกฎมหายแห่งสหภาพยุโรปอีกด้วย
สำหรับกระบวนการออกข้อบังคับ ของสหภาพยุโรป สถาบันที่มีอำนาจนการเสนอกฎระเบียบได้คือคณะกรรมาธิการยุโรป ดดยจะมีกระบวนการเป็น 2 ขั้นตอน คือ
- การร่างข้อบังคับ สนธิสัญญาก่อตั้งสหภาพยุโรป ได้กำหนดให้คณะกรรมาธิการยุโรป เท่านั้นที่มีอำนาจในการเสนอร่างข้อบังคับแก่คณะรัฐมนตรียุโรปและสภายุโรปเป็นผุ้ร่วมพิจารณาให้การรับรองเพื่อที่จะออกเป็นข้อบังคัยแก่คณะรัฐมนตรียุโรปและสภายุโรปเป้นผู้ร่วมพิจารณาให้การรับรองเพื่อที่จะออกเป็นข้อบังคับให้ประเทศสมาชิกนำไปปฏิบัติ สำหรับขั้นตรอการร่างข้อยังคัยนั้นจะมีอยู่สองระดับคือระดับเทคนิคและระดับการเมือง สำหรับในระดับเทคนิคนั้นเจ้าหน้าที่หรือข้ราชการในคณะกรรมาธิการยุโรปผู้ที่ได้รับมอบหายจะเป็นผุ้ร่างกฎมหายข้อบังคับขึ้นแล้วส่งให้แก่ เพื่อขอคำปรึกษาซึ่งถือว่าเป้นความลับของทางราชการมาก และต่อมาร่างดังกล่าวก็จะถูกส่งต่อมายังระดับการเมืองคือให้คณะกรรมธิการยุโรปในการพิจษณาเพื่อที่จะนำเสนอต่อคณะรัฐมนตรียุโรปและสภายุโรปในการพิจารณาต่อไป
- ขั้นตอนรับรองข้อบังคับ หลังจากที่ร่างข้อบังคับได้ถูกส่งมายังคณรัฐมนจรียุโรปหรือสภายุโรปในการให้การรับรองร่างข้อบังคับ ซึ่งคณะรัฐมนตรียุโรปมีอำนาจที่จะให้การรับรองแบบ ซึ่งเป็ฯการับรองแบบเสียงเอกฉันท์หรือเสียงข้างมากก็ได้โดยจะเป็นการให้การรับรองแบบกระบวนการพิศษ ส่วนการให้การรับรองตามกระบวนการปกติหรือแบบ โค-ดิไซชั่น นั้นคณะรัฐสภายุโรปจะไใก้การรับรองร่างข้อบังคัยแบบลงเสียงข้ามากโดยะต้องผ่าน 2 ขั้นตอน และการไม่สามาหาข้อสรุปได้จะเข้ากระบวนการ คอนไซเลชั่น
การบังคับยใช้กำหมายยุโรปกำหนดไว้ตามมาตรา 258 แห่งสนธิสัญญาว่าด้วยการกำหนหน้าที่สหภาพยุโรป ให้คณะกรรมาธิการยุโรป มีหน้าที่ที่จะกำกดับดูแล และหากว่ามีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม แล้วก็จะมีการเจรจาให้รัฐสมาชิก สถาบันหรือเอกชนเหล่านั้น ปฏิบติตามด้วยความเต็มใจ หรืออาจจะทำการแซงชั้น ต่อผู้ฝ่าฝืนเหล่านั้นหรืออาจจะนำกรณีดงหล่าขึ้นสู่าลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรปในการพิจารณวินิจฉัยต่อไป...
บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ "สภานะเหนือกว่าของพันธกรณีตามกฎบัตรสหประชาชาติต่อพันธกรณีตามข้อตกลงตามกฎหมายระหว่างประเทศอื่น : กรณีศึกษาข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงว่าด้วยการต่อต้านการก่อการร้ายและคำวินิจฉัยของศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป" โดย ร้อยตำรวจเอกเมือง พรมเกษา.
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น